You are on page 1of 2

A-to-Z Q

รองศาสตราจารย ดร.เอกชัย แสงอินทร

หลายๆ คนคงเคยไดยินคําวา “ไอคิว” (IQ: Intelligence Quotient) กันมาบางแลว และก็คงรูจักกับคําๆ นี้ มา


บางไมมากก็นอ ย เทาที่เคยลองสอบถามหลายๆ คนดู ก็พบวา สวนใหญเขาใจคําวา “ไอคิว” หมายถึง ระดับ
ความฉลาดของคนแตละคน ซึ่งก็ตรงตามความเขาใจของผูเขียน แตอาจเปนความเขาใจที่ผิดก็ได เพราะ
ผูเขียนเองก็ไมใชนักภาษาศาสตร หรือนักจิตวิทยา

ในระยะหลังนี้ ไดมีการพูดถึงคําวา “อีคิว” (EQ: Emotional Quotient) กันมากขึ้น ทั้งนี้ ก็เนื่องมาจากในอดีต


นั้น คนเรามักนิยมชมชอบคนที่มี “ไอคิว” สูง วา เปนคนฉลาด เปนอัจฉริยะ เปนผูไ รเทียมทาน หรือเปนผูที่
ประเสริฐเลิศเลอจนหาที่เปรียบไมได และก็ยกยองกันไป จนในที่สุดก็พบวา คนที่มี “ไอคิว” สูงนัน้ อาจไม
สามารถครองความเปนคนดีได เพราะความฉลาดที่มีอยูในตัวเองนั้น ถาหากนําไปใชในทางที่ไมถกู ตอง ก็
สามารถเอารัดเอาเปรียบคนอื่นๆ ไดเปนอันมาก และก็ทาํ ใหคนที่มี “ไอคิว” สูง เปนคนที่เห็นแกตวั จนเปนที่
นารังเกียจ จึงตองหันมาพัฒนาคนในดานของ “อีคิว” กันมากขึ้น

อยางไรก็ดี กอนที่จะกลาวถึงเรื่องที่ตั้งใจจะเขียนตอไป ขอแสดงความคิดเห็นในเรือ่ งที่เกี่ยวของกับการแปล


ความหมาย หรือการบัญญัติศัพทภาษาไทยตอคําวา “Quotient” เสียกอน ซึ่งคําวา “Quotient” ในภาษาอังกฤษ
หมายถึง ผลลัพธทีเกิดขึ้นจากการนําเอาตัวเลขสองตัวมาหารกัน หรืออาจเรียกเปนภาษาไทยอยางสั้นๆ วา
“ผลหาร” นัน่ เอง สําหรับเศษที่เหลือจากการหารไมลงตัว ก็เรียกวา “เศษ” ซึ่งในภาษาอังกฤษเรียกวา
“Remainder” ดังนั้น เมื่อนําเอาคําวา “Quotient” ที่แปลวา “ผลหาร” มารวมกับคําวา “Intelligence” ที่แปลวา
“ความฉลาด” เกิดเปนคําวา “Intelligence Quotient” หรือเขียนยอๆ เปน “IQ” แลว ถาจะแปลกันอยางตรงๆ ก็
นาจะหมายถึง “ผลหารความฉลาด” เมื่อฟงดูแลวก็คงจะไมเขาใจกัน จึงไดมีการเรียกทับศัพทกันเปน “ไอคิว”
ตามความหมายแลวก็คือ ระดับความฉลาดของคนเรานั่นเอง ทั้งนี้ วิธีการคิดคํานวณหาคาผลหารที่ใชเปนตัว
บงบอกระดับความฉลาดนี้ มีความเปนมาอยางไรก็ไมทราบรายละเอียดเชนกัน แตที่แนๆ คําวา “Quotient”
ไมนาจะแปลวา “ความฉลาด” ดังที่มีคนแปลคําวา “Emotional Quotient” เปน “ความฉลาดทางอารมณ”

ดังนั้น เพื่อความกระชับในเรื่องของภาษา เพื่อความเขาใจ การแปลความหมาย และรวมไปถึงการใชงาน โดย


ไมคลาดเคลื่อนไปจากความหมายเดิมของตนตํารับในภาษาอังกฤษ คําวา “Quotient” ในที่นี้ ก็นาจะแปลวา
“คา” หรือ “ระดับ” (แทนคําวา “ผลหาร” หรือการแปลวา “ความฉลาด”) ในดานตางๆ เชน ความรู
ความสามารถ ทักษะ หรือประสบการณ เปนตน ดังทีจ่ ะขอนําเสนอ “คา” หรือ “ระดับ” ในดานตางๆ ที่จะ
ชวยเสริมสรางคนเราใหเปนมนุษยที่สมบูรณแบบ ก็ควรที่จะตองประกอบไปดวย “A-to-Z Q” ดังตอไปนี้

AQ: Adversity Quotient ระดับวิระยะอุตสาหะในการฝาฟนอุปสรรคและปญหาตางๆ


BQ: Balancing Quotient ระดับความสามารถในการจัดสมดุลของสรรพสิ่ง (ทางสายกลาง)

1 12 กรกฎาคม 2546
CQ: Creativity Quotient ระดับความคิดริเริ่มสรางสรรค
DQ: Distinguishability Quotient ระดับความชางสังเกต และสามารถในการแยกแยะ
EQ: Emotional Quotient ระดับทางอารมณ (ไมนาจะเปน “ความฉลาดทางอารมณ”)
FQ: Feeling Quotient ระดับความสามารถในการใชสัมผัสตางๆ ไดอยางถูกตองเหมาะสม
GQ: Globalization Quotient ระดับโลกาภิวตั น (ทันตอการเปลี่ยนแปลง รอบรู รูหลายภาษา เปนตน)
HQ: Health Quotient ระดับสุขภาพ (มีการดูแลรักษาสุขภาพ ทั้งรางกายและจิตใจไดดวยดี)
IQ: Intelligence Quotient ระดับความฉลาด (โดยยังไมมีคุณธรรมกํากับ เกงอาจไมดีก็ได)
JQ: Joking Quotient ระดับอารมณขัน (โดยไมหงุดหงิดและอารมณเสียงาย)
KQ: Knowledge Quotient ระดับความรู (ในเรื่องราวตางๆ)
LQ: Leadership Quotient ระดับความสามารถในการเปนผูนํา หรือ สภาวะผูน ํา
MQ: Moral Quotient ระดับคุณธรรม (ซึ่งรวมไปถึง จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ)
NQ: Neatness Quotient ระดับความประณีต หรือความเปนระเบียบเรียบรอย
OQ: Organization Quotient ระดับความสามารถในการจัดองคกรหรือการเชื่อมโยงสรรพสิ่ง
PQ: Perception Quotient ระดับการรับรู (รูผิด ชอบ ชั่ว ดี ในเรื่องราวตางๆ ที่ประสบ)
QQ: Questioning Quotient ระดับความสามารถในการตัง้ คําถาม (ที่คนไทยยังออนอยูม าก)
RQ: Reasoning Quotient ระดับความมีเหตุผล สามารถใชเหตุผลไดอยางถูกตองเมหาะสม
SQ: Spiritual Quotient ระดับทางจิตวิญญาณ หรือความมีน้ําใจ
TQ: Team-working Quotient ระดับความสามารถในการทํางานเปนทีม
UQ: Understanding Quotient ระดับความเขาใจในสรรพสิง่ ไดเปนอยางดี
VQ: Velocity Quotient ระดับความเร็วในการทํางานหรือทํากิจกรรมตางๆ
WQ: Wisdom Quotient ระดับปญญา (เปนความรูขั้นสูงเหนือระดับความรู Knowledge ทั่วไป)
XQ: eXperience Quotient ระดับประสบการณ (ในชีวติ ที่ไดสะสมมา)
YQ: Youth Quotient ระดับความหนุมสาว (ความสามารถในการรักษาความหนุมสาว และ
ความกระชุมกระชวยอยูเสมอ)
ZQ: Zooming Qoutient ระดับความสามารถในการจับหรือเขาประเด็นไดอยางถูกตองแมนยํา

นั่นก็คือ “A-to-Z Q” ที่ใครขอนําเสนอไว ณ ที่นี้ สําหรับรายละเอียดในแตละ “Q” ผูเขียนก็ยังไมมีเวลาขยาย


ความคิดออกมาเปนตัวหนังสือ ซึ่งจะขอฝากใหผูอานไดใชวจิ ารณญาณของตนเองขยายความตามอัธยาศัยก็
แลวกัน แตทนี่ าสังเกตก็คือ “ไอคิว” มาจากคําวา “Intelligence Quotient” ไมไดมาจากคําวา “Intellectual
Quotient” จึงทําใหคนที่มี “ไอคิว” สูง ไมไดหมายความวาเปนคนทีม่ ีปญญาสูง โลกจึงวุนวายอยูทุกวันนี้ ก็
เพราะคนและชนชาติมี “ไอคิว” สูง แต “ปญญา” ต่ํา

สุดทายนี้ ขอขอบคุณทุกทานที่ไดอานบทความสั้นๆ นี้จนจบ




2 12 กรกฎาคม 2546

You might also like