You are on page 1of 15

General eye examination

พ.ญ. อรสา ห่อรัตนาเรือง

ในการตรวจความผิดปกติของตานัน
้ จำา เป็ นจะต้องอาศัยการ
ตรวจเป็ นระบบตามขั ้น ตอน เพื่ อ เราจะได้ ส ามารถตรวจได้ อ ย่ า ง
ละเอียดในทุกส่วน ของตาโดยไม่พลาด จากประวัติของผ้้ป่วยและ
การตรวจร่ างกายในระบบอื่น อาจจะช่ว ยเป็ นแนวทางบอกให้ ร้ ว่ า
ควรจะมุ่งเน้นตรวจทีส
่ ่วนใดของตา
นอกจากนี ใ้ นการตรวจผ้้ ป่ วยที ส
่ งสั ย ว่ า จะมี ก ารติ ด เชื้อ ที ต
่ า
เช่น conjunctivitis หรือ corneal ulcer
ก็ ค วรระวั ง การแพร่ ก ระจายของเชื้อ โรค โดยการล้ า งมื อ หลั ง จาก
ตรวจผ้้ ป่ วยทุ ก ครั ้ง และไม่ ใ ช้ เ ครื่ อ งมื อ ที ต
่ ้ อ งสั ม ผั ส กั บ ตาผ้้ ป่ วย
โดยตรง เช่น Schiotz Tonometer
โดยปกติการตรวจตาควรเริม
่ จากการตรวจระดับการมองเห็น
(VA) แล้ ว ตามด้ ว ยการตรวจส่ ว นต่ า ง ๆ ของตา จาก external
เข้าไปหา internal part เรียงตามลำาดับดังนี ้
1. ระดับการมองเห็น (Visual acuity, VA)
ปกติจะวัดทีร่ ะยะ 20 ฟุต หรือ 6 เมตร โดยมีความสว่าง
ที ่ chart ประมาณ 100 แรงเทียน มี 2 ระบบ คือ
American system : จะรายงานเป็ น 20/20, 20/30,
20/40, …… ฯลฯ
2

English system : จะรายงานเป็ น 6/6, 6/9, 6/12,


…ฯลฯ
ความหมายของ VA 20/200 มี 2 ความหมายคือ
- เมื่อ ผ้้ ป่ วยยื น ที ่ 20 ฟุ ต จะมองเห็ น แค่ แ ถวที ม
่ ี เ ลข
20/200 กำากับ
- คนสายตาปกติสามารถอ่านตัวเลขแถวนีไ้ ด้เมือ
่ ยืนที ่
200 ฟุ ต แต่ ผ้ ป่ วยรายนี อ
้ ่ า นเห็ น ที ่ 20 ฟุ ต (ถ้ า ไกล
กว่านีจ
้ ะมองไม่เห็น)
ในขัน
้ ตอนของการวัดสายตา จะเริม
่ จากให้ผ้ป่วยยืนห่างจาก
chart 20 ฟุต ไม่ใส่แว่นแล้วอ่านตัวเลขทีเ่ ห็นให้ได้มากทีส
่ ุด ก็จะได้
VA ตามตัวเลขทีก
่ ำากับอย่ใ้ นแถวทีเ่ ล็กทีส
่ ุดทีอ
่ ่านได้
ในกรณีทีผ
่ ้ป่วยอ่านตัวเลขแถวบนสุดไม่ได้เลย ก็ให้ขยับผ้้ป่วย
เข้ า ใกล้ chart ที ล ะ 5 ฟุ ต จนกว่ า จะมองเห็ น แล้ ว บั น ทึ ก เป็ น
15/200, 10/200, 5/200
แต่ ถ้ า ผ้้ ป่ วยด้ 5/200 ไม่ เ ห็ น ก็ จ ะตรวจการนั บ นิ ว
้ (Finger
count , FC) ทีร
่ ะยะ 3’, 2’, 1 ฟุต ถ้านับนิว
้ ไม่ได้จะตรวจโดยใช้มือ
โบกไปมา (Hand movement, HM), PJ (projection of light),
PL (perception of light), no PL (no perception of light)
ถ้ า ผ้้ ป่ วยมี แ ว่ น ตาให้ วั ด VA ซำ้ า หลั ง ใส่ แ ว่ น แล้ ว ใส่ pinhole
ทั บ อี ก ครั ้ง ในกรณี ไ ม่ มี แ ว่ น ตา หลั ง วั ด VA ตาเปล่ า แล้ ว ให้ ใ ส่
pinhole ทั บ อี ก ครั ง้ โดยบั น ทึ ก ข้ อ ม้ ล ตาขวาก่ อ น แล้ ว ตามด้ ว ยตา
ซ้าย เช่น

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


3

20/100 c glasses 20/40 c PH 20/20


กรณีมแ
ี ว่นตา VA
20/200 c glasses 20/40 c PH 20/20

20/100 c PH 20/20
กรณีทีไ่ ม่มีแว่นตา VA
20/200 c PH 20/20

ทุกครัง้ ทีใ่ ส่ pinhole ต้องให้ผ้ป่วยยืนที ่ 20 ฟุต หรือ 6 เมตร


เสมอ
Emmetropia หมายถึง ตาทีเ่ มื่อมีแสงขนานผ่านเข้า มาในตา
ตรง ๆ โดยไม่ มี accommodation แล้ ว แสงนั ้น สามารถโฟกั ส บน
retina ได้พอดี
Ametropia (refractive error) หมายถึ ง ตาที เ่ มื่ อ มี แ สงขนาน
ผ่า นเข้า มาในตาตรง ๆ โดยไม่มี accommodation แล้ว แสงนัน
้ ไม่
ได้โฟกัสบน retina แบ่งเป็ น
- myopia สายตาสัน
้ แสงโฟกัสก่อนถึง retina
- hyperopia สายตายาว แสงโฟกั ส เลย retina ไปด้ า น
หลัง
- astigmatism สายตาเอียง แสงจากคนละระนาบไม่
ได้โฟกัสเป็ นจุดเดียวกัน อาจตกก่อน, พอดี
หรือหลัง retina ก็ได้
Anisometropia หมายถึง ภาวะทีต
่ า 2 ข้างมี refractive error
ไม่เท่ากัน

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


4

Amblyopia (สายตาขี เ้ กี ย จ) หมายถึ ง ภาวะที ร


่ ะดั บ การมอง
เห็ น ลดลงโดยไม่ มี พ ยาธิ ส ภาพที ต
่ รวจพบ (จะต้ อ งแก้ ไ ข
refractive error แล้ว)
หลังจากวัดระดับการมองเห็นแล้ว ควรตรวจส่วนต่าง ๆ ของ
ตาจากภายนอกเข้าไปภายในล้กตา

2. orbit, globe
orbit หมายถึ ง bony cavity ซึ่ ง ภายในบรรจุ globe และ
tissue ต่าง ๆ เช่น muscles, nerves,
vessels, fat, soft tissue
globe, eyeball หมายถึง ล้กตา
exophthalmos, proptosis หมายถึง ภาวะที ่ globe ยืน
่ ออก
มาด้านหน้า สามารถตรวจได้จาก
การใช้เครือ
่ งมือ Hertel exophthalmometer หรือใช้ไม้บรรทัดวัด ซึง่
จะวั ด จาก lateral orbital rim ไปจนถึ ง anterior corneal surface
โดยปกติจะมีค่า  21 mm และในตา 2 ข้างจะต่างกันไม่เกิน
2 mm โดยส่วนใหญ่ exophthalmos จะหมายถึงตาโปนจากสาเหตุ
ของโรค thyroid
enophthalmos หมายถึง ภาวะที ่ globe มีการยุบเข้าไปใน
orbit ซึง่ พบบ่อยในรายทีม
่ ี fracture
floor ของ orbit

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


5

phthisis bulbi ห ม า ย ถึ ง ภ า ว ะ ที ่ globe มี ก า ร ฝ่ อ ล ง


(atrophy) ร่วมกับมีการเปลีย
่ นแปลงของ structure ภายใน ตาจะมี
ลักษณะ เล็กลงทัง้ ล้กตา

3. eyelid & lash


เ ป ลื อ ก ต า จ ะ มี ทั ้ ง upper แ ล ะ lower eyelid โ ด ย ป ก ติ
เปลือกตาบนจะคลุม cornea ด้านบนประมาณ 2 mm. ส่วนเปลือก
ตาล่างจะอย่้ทร
ี ่ ะดับ Limbus พอดี
ptosis หมายถึ ง หนั ง ตาด้ า นบนตกลงมาคลุ ม cornea
มากกว่า 2 mm.
lagophthalmos หมา ย ถึง ภา วะ หลั บต า ไ ม่ส นิท อ า จ
expose cornea ทำาให้เกิดแผลได้
lid retraction หมายถึ ง ภาวะที เ่ ปลื อ กตาด้ า นบนไม่ ค ลุ ม
cornea ทำาให้มองเห็น sclera ด้านบน
หรืออาจเป็ นที ่ lower lid ทำาให้มองเห็น sclera ด้านล่างก็ได้
lid lag หมายถึง ภาวะที ่ เวลาให้ผ้ป่วยมองตามวัตถุจาก
บนลงล่างแล้วเปลือกตาด้านบนไม่เลือ
่ นลงมาคลุม cornea ด้านบน
ตลอดเวลา ทำาให้เห็น sclera ด้านบน
dermatochalasis หมายถึ ง การที ่เ ปลื อ กตาบนมี skin
หย่อนลงมา มักพบในคนส้งอายุ
blepharitis หมายถึง ภาวะเปลือกตาอักเสบ จะตรวจพบมี
lid margin inflammed อาจพบมี scale ติดตามขนตา

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


6

hordeolum (ตากุ้ ง ยิ ง ) หมายถึ ง ภาวะที ม


่ ี อ าการอั ก เสบ
ของ meibomian gland, gland of Zeis หรื อ gland of Moll จะมี
ลักษณะเป็ นฝี
chalazion (meibomian cyst) เป็ น nodule ที ่บ ริ เ วณ eye
lid เกิดจาก obstruction ของ meibomian gland
entropion หมายถึง ภาวะทีม
่ ีการหมุนเข้าของ lid margin
ectropion ห ม า ย ถึ ง ภ า ว ะ ที ่ มี ก า ร ห มุ น อ อ ก ข อ ง lid
margin
trichiasis หมายถึง misdirection ของขนตา ทำาให้มีขนตา
แทงตาได้
distichiasis ห ม า ย ถึ ง ภ า ว ะ ที ่ มี extrarow of lash ที ่
บริเวณ meibomian gland orifice

4. lacrimal system
punctum หมายถึ ง ช่ อ งทาง drain ของนำ้า ตา ออกจาก
ตา ลักษณะเป็ นร้เล็ก ๆ บริเวณ upper
และ lower lid ด้ า น medial สุ ด ถ้ า มี ก ารตี บ หรื อ มี membrane
ขวางจะทำาให้มีนำา
้ ตาไหลได้
daryocystitis หมายถึง inflammation หรือ infection ของ
lacrimal sac ซึง่ จะอย่้ทางด้านหัวตา
dacryoadenitis ห ม า ย ถึ ง inflammation ห รื อ infection
ของ lacrimal gland ซึง่ จะอย่้ทางด้าน
superotemporal ของ orbit

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


7

epiphora หมายถึง ภาวะนำา


้ ตาไหล

5. conjunctiva (เยือ
่ บุตา)
conjunctiva แ บ่ ง เ ป็ น ส่ ว น ๆ คื อ palpebral, bulbar,
semilunar fold, caruncle ซึง่ เราควรต้อง
ตรวจด้ทุกส่วน การตรวจด้ superior palpebral conjunctiva เราจะ
ต้องพลิกเปลือกตาผ้้ป่วย
conjunctival blood supply ม า จ า ก anterior ciliary artery
ซึง่ จะมีส่วนของ superficial และ
deep circulation ส่ ว นที อ
่ ย่้ deep จะปั กลง sclera บริ เ วณ limbus
เพือ
่ ไป anastomose กับ long posterior ciliary artery ซึง่ จะ supply
uveal tissue

diffuse, conjunctival, peripheral injection ห ม า ย ถึ ง


hyperemia ของ superficial conjunctival vessel ลั กษณะจะแดงทั่ว
ๆ ไปเป็ น low risk injection มั กพบในโรคที ม
่ ี conjunctivitis ทั่ว ๆ
ไป
ciliary injection หมายถึง hyperemia ของ deep vessel
จะแดงมากบริเวณรอบ limbus เป็ น
high risk injection มั ก พบในโรคที ม
่ ี ก ารอั ก เสบของ anterior uveal
tissue หรือ cornea
chemosis หมายถึ ง ภาวะที ่ conjunctiva บวมนำ้ า จะมี
ลักษณะบวมใส ๆ

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


8

papilla หมายถึ ง vascular reaction ที ่ conjunctiva จะ


เป็ นลักษณะจุดสีแดง ตรงกลางเป็ น blood vessel
follicle หมายถึ ง lymphoid reaction ลั ก ษณะเป็ น ตุ่ ม สี
ขาวใส ๆ ของ lymphoid follicle ล้อมรอบด้วย blood vessel
concretion ห ม า ย ถึ ง deposit สี ข า ว เ ห ลื อ ง บ ริ เ ว ณ
palpebral conjunctiva เ ป็ นลั ก ษ ณ ะ ข อ ง epithelial inclusion cyst
ประกอบด้ ว ย epithelium, keratin อาจพบมี 2° calcification ได้
เรียกว่า lithiasis
pinguecula (ต้ อ ล ม ) ห ม า ย ถึ ง degeneration ข อ ง
conjunctiva ลักษณะเป็ นตุ่มน้นขาว ๆ ข้าง ๆ limbus บริเวณ 3
และ 9 O’clock
pterygium (ต้ อ เ นื้ อ ) ห ม า ย ถึ ง degeneration ข อ ง
conjunctiva ลั ก ษณะเป็ น fibrovascular tissue อาจลามเข้ า มาที ่
cornea ได้ มักพบเป็ นลักษณะสามเหลีย
่ มโดยมีฐานอย่้ที ่ Limbus

6. Cornea
ปกติ cornea จะมีลักษณะใส ไม่มี blood supply
corneal light reflex เป็ นการตรวจ cornea โดยใช้ ไ ฟฉาย
ส่ อ งตา จะทำา ให้ เ กิ ด แสงสะท้ อ นจากผิ ว หน้ า ของ cornea เรี ย กว่ า
corneal light reflex ปกติแสงสะท้อนจะต้องสมำ่าเสมอ แสดงว่า ผิว
หน้าของ cornea เรียบ แต่ถ้าผิวไม่เรียบจะทำา ให้เกิดแสงสะท้อนที ่
ไม่สมำ่าเสมอ เรียกว่ามี irregular corneal light reflex ซึ่งอาจพบใน
ภาวะ corneal abrasion, ulcer, edema ฯลฯ

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


9

corneal haze (opacity) เป็ นภาวะทีเ่ ราตรวจพบว่า cornea


ไม่ใส อาจเกิดจาก corneal scar, ulcer, edema ฯลฯ
arcus senilis ห ม า ย ถึ ง ภ า ว ะ ที ่ พ บ มี ว ง สี ข า ว บ ริ เ ว ณ
peripheral cornea มั ก พบในคนส้ ง อายุ เกิ ด จาก lipid deposit ถ้ า
พบในคนอายุน้อย เรียกว่า arcus juvenilis อาจพบร่วมกับการมี
ระดับ cholesterol ในเลือดส้งได้
pannus หมายถึ ง เส้ น เลื อ ดผิ ด ปกติ ที ่เ ข้ า มาใน cornea
ปกติ ร อบ cornea จะมี เ ส้ น เลื อ ดเข้ า มาจาก limbus ได้ ไ ม่ เ กิ น 1
mm.
การย้อมสี fluorescein cornea ทีม
่ ี epithelium ปกติจะไม่
ติดสี fluorescein แต่ถ้ามี epithelial defect เกิดขึน
้ จะพบว่าบริเวณ
นัน
้ จะติดสี fluorescein ซึ่งจะมองเห็นได้ชัดขึน
้ ถ้าด้ด้วยแสงสีนำ้าเงิน
(cobalt blue light) มันจะ emit แสงสีเขียวออกมา
นอกจากนี ้ยั ง สามารถใช้ สี fluorescein ชนิ ด ฉี ด ในการ
ต ร ว จ ด้ retinal circulation ไ ด้ โ ด ย ก า ร ทำา fundus fluorescein
angiogram (FFA)
keratic precipitate (KP) ห ม า ย ถึ ง cell deposit บ น
endothelium พบได้ในรายทีม
่ ี uveitis

7. anterior chamber และ angle


ปกติ ใ น anterior chamber จะมี aqueous อย่้ ซึ่ ง เป็ น
ของเหลวไม่มีสี ไม่มี cell

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


10

hypopyon หมายถึ ง หนองในช่ อ งหน้ า ล้ ก ตา ซึ่งเป็ นการ


ตกตะกอนของ wbc
hyphema หมายถึง เลือดในช่องหน้าล้กตาซึ่งเป็ นการตก
ตะกอนของ rbc
cell/flare in A/C หมายถึ ง การมี wbc หรื อ rbc ใน A/C
ส่ ว น flare เป็ น protein ที ่ leak ออกมาจาก vessel แสดงถึ ง มี
inflammation ใน A/C ซึง่ ไม่สามารถตรวจได้ด้วยไฟฉาย
A/C depth ตรวจได้โดยใช้ไฟฉายส่องจากด้านข้างของล้ก
ตา แล้ ว ด้ ว่ า มี เ งาดำา ที ่ iris ฝั ่ ง ตรงข้ า มกั บ ไฟในตาข้ า งนั ้น หรื อ ไม่
ถ้ า มี เงาดำา กว้า งแสดงว่ า A/C shallow แต่ถ้ าไม่มี เ งาดำา หรื อ มี น้ อ ย
แสดงว่า A/C deep
การตรวจพบ A/C shallow พบเป็ น normal variation ในคน
ปกติได้แต่จะเป็ นผ้้ป่วยทีม
่ ีโอกาสเสีย
่ งส้งทีจ
่ ะเกิด acute attack ของ
glaucoma ได้นอกจากนีใ้ นผ้้ทีเ่ กิด attack แล้วเราก็จะตรวจพบ A/C
ตืน
้ เช่นกัน
peripheral anterior synechiae (PAS) หมายถึง peripheral
iris บริเวณ angle มาติดกับ structure ด้านหน้าบริเวณ trabecular
mesh work หรื อ cornea ซึ่ ง จะปิ ดกั น ทาง drain ของ aqueous
จากตา ถ้ามี PAS ≥ 180° อาจเกิดความดันล้กตาส้งขึน
้ ได้

8.Iris
rubeosis iridis (Neovascularization of iris, NVI) หมายถึ ง
ภาวะที ่มี เ ส้ น เลื อ ดงอกใหม่ บ ริ เ วณ iris ซึ่ ง โดยปกติ จ ะไม่ พ บมี

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


11

เส้ น เลื อ ด สาเหตุ มั ก เกิ ด จากมี โ รคที ท


่ ำา ให้ เ กิ ด มี retinal ischemia,
หรือ severe ocular inflammation

iridodonesis หมายถึง ภาวะที ่ iris มีการสัน


่ พริว
้ ได้ พบใน
รายทีเ่ ป็ น aphakia หรือมี iriodialysis
iridodialysis ห ม า ย ถึ ง มี ก า ร แ ย ก ข อ ง iris อ อ ก จ า ก
insertion อาจเกิดจาก trauma
iris bombe’ หมายถึ ง ภาวะทีม
่ ี การโค้ง มาด้ านหน้ าของ
iris เกิ ด จากการมี pupillary block ทำา ให้ aqueous drain มาทาง
anterior chamber ไม่ได้จึงดันให้ iris โค้งมาด้านหน้า
iridectomy หมายถึง การตัด iris ออกเป็ นร้ (surgical) จะ
พบมีร้บริเวณ peripheral iris
iridotomy หมายถึง การเจาะ iris เป็ นร้ (laser) จะพบมีร้
เล็ก ๆ บริเวณ peripheral iris เช่นกัน

9.pupil
การตรวจ pupil จะต้องด้ขนาด, ร้ปร่าง, reaction to light
Marcus Gunn pupil ห รื อ Relative Afferent Pupillary
Defect (RAPD) วิธีการตรวจ คือ ใช้ ไฟฉายสว่ าง ๆ ส่องทีต
่ าข้า ง
หนึ่ ง ประมาณ 3 วิ น าที แล้ ว ย้ า ยไปส่ อ งตาอี ก ข้ า งโดยเร็ ว นาน 3
วิ น าที ถ้ า หากย้ า ยไปส่ อ งไฟที ต
่ านั ้น แล้ ว แทนที ่ pupil จะยั ง หดอย่้
(จาก consensual light reffex) แต่ ก ลั บ ขยายออกแสดงว่ า CN II
ไม่ดี เมือเทียบกับตาอีกข้างหนึง่ เราถือว่า RAPD + ve

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


12

anisocoria หมายถึง pupil 2 ข้างมีขนาดไม่เท่ากัน


leukocoria (Leuko = white, coria = pupil) หมายถึง ภาวะ
ทีต
่ รวจพบว่าตรงกลาง pupil มีสีขาว ๆ มีสาเหตุได้หลายอย่าง

10. Lens
การตรวจ Lens โดยนักศึกษาแพทย์อาจใช้ไฟฉายหรือด้
red reflex โดยใช้ direct ophthalmoscope ก็ได้
lens subluxation ห ม า ย ถึ ง เ ล น ส์ เ ค ลื่ อ น จ า ก มี partial
broken ของ zonule
lens dislocation ห ม า ย ถึ ง เ ล น ส์ เ ลื่ อ น ห ลุ ด ไ ป จ า ก ที ่
เนือ
่ งจากมี total broken ของ zonule
aphakia หมายถึง ไม่มีเลนส์ในตา
pseudophakia หมายถึ ง ภาวะที ต
่ ามี เ ลนส์ แ ก้ ว ตาเที ย ม
ห รื อ intraocular lens (IOL) ที ่ ใ ส่ ใ น ต า ห ลั ง ทำา ผ่ า ตั ด cataract
extraction

11. fundus examination


ตรวจโดยใช้ direct ophthalmoscope ศึกษารายละเอียดใน
เอกสารประกอบการสอนเรื่อง General eye examination : Fundus
examination

12. intraoular pressure (IOP)

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


13

เราสามารถวั ด IOP ได้ ด้ ว ยเครื่ อ งมื อ หลายชนิ ด สำา หรั บ


นั ก ศึ ก ษาแพทย์ ใ ห้ ต รวจโดยใช้ Schiotz tonometer ควรตรวจเป็ น
routine ในผ้้ ป่ วยที อ
่ ายุ  40 ปี เพื่ อ screen หา glaucoma แต่
ต้องหลีกเลีย
่ งในผ้้ป่วยต่อไปนี ้
- เด็ก
- ผ้้ป่วยทีไ่ ม่ร่วมมือ
- สงสัย infection
- สงสัย ruptured globe
- เพิง่ ผ่าตัด intraocular surgery
ศึกษารายละเอียดเพิม
่ เติมใน VDO เรือ
่ ง Schiotz Tonometry

13. strabismus & ocular movement


การตรวจด้ว่าผ้้ป่วยมีภาวะตาเหล่หรือไม่ สามารถตรวจได้
โดยใช้ ไ ฟฉายเพื่ อ ด้ corneal light reflex ว่ า ตกบริ เ วณใดของตา
(Hirschberg Test) โดยให้ผ้ป่วยมองตรงไปข้ างหน้า จ้อ งมอง target
ทีไ่ กล ถ้า reflex ตกตรงกลาง pupil แสดงว่าตาตรงดี นอกจากนีย
้ งั
มี วิ ธี อื่ น ๆ เ ช่ น cover-uncover Test, alternate cover test ซึ่ ง
นศพ. จะได้ ศึ ก ษาในเอกสารประกอบการสอน เรื่ อ ง Strabismus
and amblyopia ส่ ว น ocular movement จ ะ ต ร ว จ ต า ม cardinal
gaze

14. visual field ลานสายตา

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


14

สำา หรับนักศึกษาสามารถตรวจ visual field โดยการตรวจ


confrontation VF ผ้ต
้ รวจและคนไข้นัง่ หันหน้าเข้าหากันโดยอย่้ห่าง
กั น พอสมควร ถ้ า จะตรวจตาขวา ให้ ค นไข้ ห ลั บ ตาซ้ า ย ใช้ต าขวา
จ้องตาซ้ายของผ้้ตรวจ ผ้้ตรวจกางแขนออกขยับนิว
้ เรื่อย ๆ พร้อม
กับเคลือ
่ นมือเข้ามาจนกระทัง่ คนไข้เริม
่ มองเห็น เปรียบเทียบกับลาน
สายตาของผ้้ตรวจเอง ถือว่าในคนปกติคนไข้ควรมีลานสายตาพอ ๆ
กั บ ผ้้ ต รวจ สามารถใช้ ต รวจได้ ทั ้ ง peripheral field และ central
field ในการตรวจ central field ควรใช้วัตถุอื่นแทนนิว
้ มือ เช่น หั ว
เข็มหมุด

15. การตรวจอืน
่ ๆ
near point of convergence (NPC) ระยะที ่ใ กล้ ที ่สุ ด ขอ ง
วัต ถุทีเ่ คลื่อนเข้าหาตา แล้วตายังสามารถจ้องและกลอกเข้าหากัน
ได้ สามารถตรวจโดยใช้นิว้ มือ หรือปลายปากกา ให้ผ้ป่วยจ้อง แล้ว
เลื่อนเข้าใกล้ตาไปเรื่อย ๆ จะเห็น ว่า ตาของผ้้ป่ วยจะกลอกเข้าหา
กันมากขึน
้ เรือ
่ ย ๆ จนถึงระยะห่างขนาดหนึง่ ตาจะเริม
่ แยกออกจาก
กัน ระยะนีเ้ รียกว่า NPC ปกติ 7 – 8 cm.
Amsler’s grid เป็ นการตรวจ central field รั ศ มี 10° จาก
macula ซึง่ จะใช้ตรวจด้ความผิดปกติของ macula
Color vision Test เ ป็ น ก า ร ต ร ว จ ต า บ อ ด สี สำา ห รั บ
นักศึกษาควรศึกษาการใช้ Ishihara plate
จากแถบวิดีทัศน์

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


15

Gonioscopy เป็ นการตรวจด้ angle โดยใช้ gonioscopy


เ ลนส์ เพื่ อ ด้ว่า angle เปิ ดหรื อ ปิ ด เพื่ อ ช่วย วินิจฉัย ชนิดขอ ง
glaucoma
Schirmer’s Test เป็ นการตรวจวั ด ปริ ม าณนำ้า ตา โดยใช้
กระดาษกรองตั ด เป็ นแผ่ น ขนาด 5 x 25 mm แล้ ว พั บ ริ ม 5
2

mm. วางใน lower fornix จั บ เวลา 5 นาที แล้ ว วั ด ด้ ว่ า มี นำ้า ตาซึ ม


ออกมาจนเปี ยกกระดาษกรองได้ยาวเท่าไร
Ultrasound เป็ นการใช้ ค ลื่ น ultrasound ตรวจตาเพื่ อ ด้
structure ในตาได้คร่าว ๆ ในกรณีทีไ่ ม่สามารถตรวจจอประสาทตา
ได้ เช่น กรณีมี dense corneal scar บัง, dense cataract, vitreous
opacity ฯ ล ฯ ส่ ว น ใ ห ญ่ มั ก ใ ช้ ต ร ว จ ด้ ว่ า มี retinal detachment,
choroidal mass, retinal mass

---------------------------------------------------------------------------------------
-------------------------------------- The end

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46

You might also like