You are on page 1of 13

การรักษาโรคตาด้วยแสงเลเซอร์ (น่าร้้)

ผศ.นพ.ธวัช ตันติสารศาสน์

ปั จจุ บั น ได้ มี ก ารนำา แสงเลเซอร์ เ พื่ อ รั ก ษาโรคทางตาอย่ า งแพร่


หลาย จึงสมควรทีเ่ ราจะมาให้ความสนใจ สักนิดว่า เลเซอร์ คืออะไร
และนำามาใช้ในโรคทางตาอะไรได้บ้าง
LASER ย่ อ ม า จ า ก Light Amplification by Stimulated
Emission of Radiation

กระจกสะท้ อ นแสงกลั บ หมด กระจก


สะท้อนแสงกลับบางส่วน

~~~~~~~~~~~~~>
หลอดบรรจุ
สารให้แสงเลเซอร์ ลำาแสงเลเซอร์ออกมา

~~~~~~~~~~~~~>
2

เครื่ อ งปั ๊ มให้


พลังงานจากภายนอก

รู ปที ่ 1 แสดงส่ วนประกอบของระบบ


เลเซอร์

เครื่อ งฉายแสงเลเซอร์ ป ระกอบด้ ว ยส่ ว นประกอบที ส


่ ำา คั ญ 3
ส่วน คือ
1. Laser material เป็ นสารทีจ
่ ะให้กำาเนิดแสงเลเซอร์ อาจจะเป็ น
ของแข็ ง เช่ น Ruby crystal neodymiun YAG rod, ก๊ า ซเช่ น Argon,
Krypton หรือของเหลวเช่น organic dye เป็ นต้น
2. Pumping system เป็ นระบบทีจ
่ ะจ่ายพลังงานจากภายนอกให้
สารเลเซอร์ ซึ่งอาจจะเป็ นระบบแสงให้กั บสารเลเซอร์ ทีเ่ ป็ นของแข็ง
หรื อ ระบบการชนกั น ของอิ เ ลคตรอน ซึ่ ง ได้ พ ลั ง งานจากการปล่ อ ย
กระแสไฟฟ้าผ่านไปยังสารเลเซอร์ทีเ่ ป็ นก๊าซ
3. Laser tube จะมี ก ระจกเงาสองด้ า นตรงข้ า มกั น กระจกเงา
บานหนึ่งจะสะท้อนแสงกลับได้บางส่วน กระจกเงาอีกบานจะสะท้อน
แสงกลับได้หมด ลำาแสงเลเซอร์จะถูกปล่อยออกทางด้านกระจกเงาที ่
สะท้อนกลับได้บางส่วน

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


3

ส่วนประกอบทัง้ 3 ส่วนนีจ
้ ะประกอบกันเข้าเป็ นเครื่องฉายแสง
เลเซอร์ หลั ง จากที ป
่ ล่ อ ยพลั ง งานให้ กั บ สารเลเซอร์ แ ล้ ว ก็ จ ะมี แ สง
เลเซอร์ ถู ก ปล่ อ ยออกมา และผ่ า นไปยั ง slit lamp หรื อ endolaser
probe เพือ
่ ใช้รักษาโรคต่อไป
แสงเลเซอร์นีจ
้ ะมีคุณสมบัติแตกต่างจากแสงอืน
่ คือ
1. มีค วา มย า วค ลื่ น หรื อ ค วา มถี ่ เ ท่ า กั น ถ้า แ สง เ ล เ ซ อ ร์ นี ้มี
ความยาวคลื่นแสงอยู่ใน spectrum ทีส
่ ายตาสามารถเห็นได้ ก็จะเห็น
ลำาแสงเป็ นสี เช่น สีเขียว สีเหลือง สีแดง
2. สามารถเคลื่อ นที ข
่ นานไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น อย่ า งมี ร ะเบี ย บ
และกระจายออกน้อยมาก จึงเป็ นการง่ายทีร
่ วมพลังงานและโฟกัสให้
เป็ นจุดเล็ก ๆ ได้
การนำาแสงเลเซอร์มาใช้ทางจักษุวิทยาอาศัยคุณสมบัติทีว
่ ่า แสง
เลเซอร์สามารถผ่านเข้าไปในตาได้ ถ้ามีความยาวคลื่นระหว่าง 400 -
1,300 นาโนเมตร ถ้ามีความยาวคลื่นแตกต่างจากนี ้ จะถูกดูดซึมโดย
เนือ
้ เยือ
่ เช่น กระจกตา หรือเลนส์ และส่วนทีเ่ ป็ นนำา
้ ในลูกตา
แสงเลเซอร์ ที ่ผ่ า นไปในตาสามารถถู ก ดู ด ซึ ม โดยส่ ว นที ่เ ป็ น
pigment ในตา และเปลีย
่ นแปลงเป็ นพลังงานความร้อน มี pigment ที ่
สำาคัญในลูกตา 3 ชนิด คือ
1. Melanin พ บ ที ่ ม่ า น ต า , pigment epithelium, choroid แ ล ะ
trabecular meshwork ดูด ซึม แสงความยาวคลื่น 400-700 นาโนเมตร
โดยแสงที ค
่ วามยาวคลื่น มากจะดู ด ซึ ม ได้ น้ อ ยลง ดั ง นั น
้ chorioretinal
scar จะลึ ก มากขึ้น ถ้ า ความยาวคลื่ น มากและผู้ ป่ วยจะปวดมากกว่ า

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


4

โ ด ย ส รุ ป คื อ แ ส ง เ ล เ ซ อ ร์ Argon green จ ะ ถู ก ดู ด ซึ ม ม า ก ที ่ ร ะ ดั บ
pigment epithelium แ ละ choriocapillaries ของ retina Krypton red
จะถู ก ดู ด ซึ ม ที ช
่ ั ้น ลึ ก กว่ า และ Nd-YAG จะถู ก ดู ด ซึ ม มากที ่ choroid
หรือแม้กระทัง่ sclera
2. Hemoglobin ซึง่ เป็ น pigment ของเลือดทัง้ oxygenated
และ deoxygenated จะดูดซึมแสงสีนำา
้ เงิน, สีเขียว, สีเหลือง ยกเว้น
สีแดงจะดูดซึมไม่ได้ ดังนัน
้ Krypton laser จะมีประโยชน์ใช้ได้ ใน
กรณีมี vitreous hemorrhage หรือต้อกระจกทีไ่ ม่มากนัก
3. Xanthophyll เป็ น pigment ทีอ
่ ยู่ในชัน
้ ของ nerve fiber layer
บริเวณ macula จะดูดซึมแสงสีนำา
้ เงินได้ดี ส่วนแสงสีเขียว สีแดงจะดูด
ซึมได้ไม่ค่อยดี ดังนัน
้ เราจึงไม่นิยมใช้ Argon blue ในการฉายแสง
บริเวณ macula ซึ่งจะทำา ให้เกิดการทำา ลาย inner retina โดยเฉพาะ
nerve fiber layer tissue

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


5

ผลของเลเซอร์ต่อเนื้อเยือ

Photoradiation
Photosensitized
Photochemical (dye laser)
cytotoxicity

effects Photoablation
Reprofiling and
(excimer laser)
incision

Photocoagulation
Coagulation and
(argon, krypton,dye
cautery
and Nd:YAG laser)
Light Thermal effects Photovaporization
Incision and cautery
(CO2)

Photoablation
(HF and CO2

laser) Reprofiling and

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


6

incision
Ionizing effects Photodisruption
Incision
(Nd:YAG
laser)

รูปที ่ 2 แสดงผลของเลเซอร์ตอ
่ เนือ
้ เยือ

แสงเลเซอร์ มี ผ ลต่ อ เนื้ อ เยื่ อ โดยทำา ให้ เ กิ ด ปฏิ ก ริ ย าต่ า ง ๆ ได้ 3


แบบ คือ
1. Photochemical effect ซึง่ แบ่งย่อยเป็ น
1.1 Photoradiation ใช้ ใ นการรั ก ษาก้ อ นเนื้ อ งอกซึ่ ง ยั ง มี
metabolic active อ ยู่ เ ช่ น choroidal melanoma ที ่ ใ ห ญ่ โ ด ย ฉี ด
hematoporphyrin derivative เข้าหลอดเลือดดำาหลังจากนัน
้ 72 ชัว
่ โมง
ฉายแสงสีแดงทีม
่ ีความยาวคลืน
่ 630 nm. จาก Rhodomine dye laser
ทีจ
่ ะทำา ให้เกิด excited state ของสาร porphyrin ทีถ
่ ูกจับโดยก้อนเนือ

งอก และทำาลายก้อนเนือ
้ งอกไปในทีส
่ ุด
1.2 Photoablation ใช้ ใ นการผ่ า ตั ด แก้ ส ายตาผิ ด ปกติ โดยใช้
หลักการทีว
่ ่าแสง ultraviolet ทีค
่ วามยาวคลื่นสัน
้ กว่า 300 mm. ถ้าใช้
พลังงานทีส
่ ูงและช่วงเวลาสัน
้ ๆ จะสามารถตัดชิน
้ เนื้อของกระจกตา

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


7

ได้ โ ดยสามารถกะความลึ ก ได้ แ ม่ น ยำา เลเซอร์ ใ นปั จจุ บั น ที ใ่ ช้ คื อ


Argon fluoride excimer laser (193 mm.)

2. Thermal effect
2.1 Photocoagulation เม็ ด สี (pigment) จากเนื้ อ เยื่ อ ต่ า ง ๆ
จะดูดซึมแสงและเปลีย
่ นแปลงเป็ นพลังงานความร้อนและไหม้ได้ เรา
นำาผลนีม
้ าใช้ในการฉายแสงไปยังจอตาเพือ
่ ทำาให้เกิดการติดแน่นรอบรู
รั่วจอตา (retinal hole) หรือทำา ลายหลอดเลื อดงอกใหม่ โ ดยตรงหรื อ
ท า ง อ้ อ ม (panretinal photocoagulation) เ พื่ อ ข จั ด ก า ร ส ร้ า ง
vasoformative substance ใ น ต า ที ่ เ กิ ด proliferative diabetic
retinopathy หรื อ ฉายแสงไปยั ง บริ เ วณ trabecular meshwork ที ม
่ ี
melamin pigment เพื่อทำา ให้เ กิด การระบายนำ้า aqueous ออกไปได้ ดี
ขึน
้ ทำาให้ความดันในลูกตาลดลงในผู้ป่วยโรคต้อหิน
2.2 Photovaporization เกิดจากการใช้เลเซอร์ทีม
่ ีพลังงาน
ทีม
่ ากกว่าปกติทีท
่ ำาให้เกิด photocoagulation อุณหภูมิในเนือ
้ เยือ
่ จะสูง
จนกระทัง่ ถึงจุดเดือดของนำา
้ และเกิดไอนำา
้ อย่างรวดเร็วจนเนือ
้ เยือ
่ มี
การฉีกขาด (photovaporization) ส่วนใหญ่แล้ว photovaporization
(cutting) จะมี photocoagulation (cautery) ตามมา ดังจะเห็นได้จาก
การผ่าตัดโดยใช้ CO2 เลเซอร์ ระหว่างการผ่าตัด (incision) จะไม่มี

เลือดออก อย่างไรก็ตาม การนำา CO2 เลเซอร์มาใช้ในการผ่าตัดตา

ยังมีปัญหาทีว
่ า
่ กระจกตาจะไม่ยอมให้ CO2 เลเซอร์ ผ่านไปได้ และ

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


8

อยู่ระหว่างการพัฒนา intraocular probe และ fiberoptic delivery


system ทีเ่ หมาะสมอยู่
3. Ionizing effect เลเซอร์ชนิด YAG (Nd-YAG) (ความยาวคลื่น
1064 นาโนเมตร) สามารถระเบิดเนือ
้ เยื่อทีเ่ ป็ นแผ่นได้โดยใช้พลังงาน

แสงเลเซอร์จุดเล็ก ๆ และช่วงสัน
้ ๆ 30 ns. - 20 ps.(1 ps = 10-
12 sec.) ซึ่ ง จะให้ พ ลั ง งานมหาศาลโดยทำา ให้ เ นื้อ เยื่ อ เกิ ด เป็ น ion
และ electron รวมเรียก plasma ซึ่งจะขยายตัวอย่างรวดเร็ว เกิด
คลืน
่ shock และ acoustic ทำาให้เนือ
้ เยือ
่ ฉีกขาดขึน
้ จึงนำามาใช้ในการ
รักษาทำา ให้ม่านตาเป็ นรูทะลุ (laser iridotomy) และถุงหุ้มเลนส์ห ลัง
ผ่าตัดต้อกระจกทีเ่ กิดขุ่นขึน
้ ฉีกขาด (laser capsulotomy) เป็ นต้น

ข้อบ่งชีก
้ ารใช้เลเซอร์รักษาโรคตา (น่าร้้)
จะขอกล่าวเฉพาะกรณีทีพ
่ บน้อยเท่านัน

ผ่าตัดบริเวณส่วนหน้าของตา ใช้ในกรณีดังต่อไปนี ้
1. ถุงหุ้มเลนส์ขุ่น (posterior lens capsule opacity ) ผู้ป่วย
หลั ง ผ่ า ตั ด ต้ อ กระจก บางรายอาจเกิ ด ถุ ง หุ้ ม เลนขุ่ น เนื่ อ งจาก lens
epithelium แบ่งตัวมาทางด้านหลังของถุงหุ้มเลนส์ แสงผ่านเข้าตาได้
น้ อ ย ทำา ให้ ต ามั ว ลง สามารถใช้ YAG laser ฉายบริ เ วณที ข
่ ุ่ น ออก
ทำาให้แสงผ่านเข้าตาได้ตามปกติ ผู้ป่วยเห็นภาพชัดตามเดิม
2. angle closure glaucoma ซึ่ง สาเหตุ เ กิ ด จาก relative pupillary
block สามารถใช้ อาร์กอน (laser iridotomy) หรือ YAG เลเซอร์ ฉายไป
บนม่านตาทำา ให้เกิดรูทะลุ (laser iridotomy) เป็ นการแก้ปัญหา pupillary

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


9

block นอกจากนีใ้ นผู้ป่วยทีม


่ ี occludable angle ก็สามารถทำาการป้ องกัน
การเกิดต้อหินเฉียบพลัน โดยทำา prophylactic laser iridotomy ได้เช่นกัน
3. Uncontrolled glaucoma สามารถใช้เลเซอร์ เช่น อาร์กอนฉาย
ไปยังบริเวณ trabcular meshwork เป็ นจุดเว้นจุด (laser trabeculeplasty)
ในผู้ป่วยต้อหินชนิดมุมเปิ ด เป็ นผลให้นำ้าในห้องหน้า (anterior chamber)
ไหลออกจากตาได้ ม ากขึ้น ทำา ให้ ค วามดั น ในลู ก ตาลดลง แต่ผ ลที ไ่ ด้ ไ ม่
ยัง่ ยืน มักได้ผลลดลงตามเวลาทีผ
่ ่านไป
4. Plateau iris syndrome ผู้ ป่ วยที ม
่ ี peripheral iris ผิ ด ปกติ เกิ ด
จาก anterior rotation ของ ciliary body ทำา ให้ ม่า นตาชิด มุม ตา หากได้
รับการรักษาด้วยเลเซอร์ (laser iridotomy) แล้วยังไม่ดีขึน
้ ม่านตาบริเวณ
periphery ยังติดกับบริเวณ periphery ของม่านตาโดยใช้กำา ลังไม่สูง มาก
ใช้ spot size ใหญ่ และ duration นาน จะทำา ให้ม่านตาหดตัว ดึงออก
จากบริเวณม่านตาได้
5. Deformed pupil ผู้ป่วยทีม
่ ีรูม่านตาไม่อยู่ตรงกลาง ทำา ให้แสงไม่
สามารถผ่ า นเข้ า ไปในตา เห็ น ไม่ ชั ด สามารถใช้ อ าร์ ก อนเลเซอร์ ยิ ง
บริเวณขอบรูม่านตาทีโ่ ย้ ทำาให้รูม่านตาหดตัวลงมาตรงกลาง ทำาให้ผู้ป่วย
มองเห็นชัดขึน
้ ได้
6. ผู้ป่วยสายตาผิดปกติ เช่น สายตาสัน
้ สายตายาย หรือสายตา
พร่ า ต่ า งแนว (astigmatism) สามารถผ่ า ตั ด แก้ ไ ขด้ ว ย excimer เลเซอร์
ได้โดยวิธีทีท
่ ำาบ่อยในปั จจุบัน มี 2 วิธีคือ
1. Laser (Lasik Instu Keratomileusis)
ทำา โดยหยอดยาชา และใช้ suction sing ครอบตาไว้ แ ละ
เพิ ม
่ uaccum ทำา ให้ ต าแข็ ง ขึ้ น จากนั ้น ใช้ microkeratome

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


10

ฝ า น เ นื้ อ ก ร ะ จ ก ต า ห น า 130-160 ไ ม ค ร อ น เ ส้ น ผ่ า
ศู น ย์ ก ลางประมาณ 8.5-9.5 มิ ล ลิ เ มตร แต่ ไ ม่ ฝ านจนสุ ด
จากนั ้น ยกเป็ น flab ขึ้น และใช้ excimer laser ขั ด ผิ ว เนื้อ
stroma ของกระจกตาเพื่ อ แก้ ส ายตาผิ ด ปกติ ต ามต้ อ งการ
โดยใช้การตัง้ โปรแกรมจากคอมพิวเตอร์ ว่าสายตาสัน
้ เท่านี ้
จะใช้การขัดผิวนานเท่าไร และอย่างไร
สุดท้าย ล้างเศษเนือ
้ เยื่อด้วย balance salt solution และยก
flap ปิ ดเข้าทีเ่ ดิม
2. Photorefractive keratectomy (PRK)
ทำาโดยหยอดยาชา และขูดผิว epithelium ของกระจกตา
ออก จากนัน
้ ใช้ excimer laser ฉายแสง
บน stroma ของกระจกตาเพือ
่ ขัดให้แก้สายตาผิดปกติ
ตามทีต
่ ้องการโดยการตัง้ โปรแกรมจากคอมพิวเตอร์
ผ่าตัดบริเวณส่วนหลังของตา
มีทใี ่ ช้กรณีดังต่อไปนี ้
1. จอตาเหตุเบาหวาน ซึง่ มีข้อบ่งชีต
้ ้องรับการรักษาด้วยเลเซอร์คือ
1.1 จอตาเหตุเบาหวาน (diabetic retinopathy, DR) ในกรณีที ่
เป็ น high risk proliferative diabetic retinopathy (PDR) ทีม
่ ีลักษณะ
1.1.1 มี ห ลอดเลื อ ดงอกใหม่ ที ่ disc (NVD) ขนาด /4 - /3 ของ disc
1 1

area
1.1.2 มี vitreous ห รื อ preretinal hemorrhage ร่ ว ม กั บ NVD ห รื อ มี
ห ล อ ด เ ลื อ ด ง อ ก ใ ห ม่ ที ่ จ อ ต า (retina) เ รี ย ก ว่ า neovascularization

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


11

elsewhere (NVE) ข น า ด > /2 disc area เ ว้ น บ ริ เ ว ณ disc แ ล ะ


1

macular เพือ
่ ทำาให้หลอดเลือดงอกใหม่ฝ่อลง
1.2 จ อ ต า เ ห ตุ เ บ า ห ว า น ก ร ณี ที ่ มี clinically significant
macular edema (CSME) ซึ่ ง เป็ นสาเหตุ ทำา ให้ ผู้ ป่ วยเบาหวานตามั ว ลง
จักษุแพทย์จะฉายแสงอาร์กอนเลเซอร์ บริเวณที ่ macular บวมเพือ
่ ทำาให้
จอตาราบลง หรือทำาให้นำา
้ เหลืองบริเวณนีห
้ ายไป
2. Central serous chorioretinopathy ใ น ผู้ ป่ ว ย ที ่ เ ป็ น central
serous chorioretinopathy จะมี macular edema เนือ
่ งจากมีความผิดปกติ
ของชั ้น retinal pigment epithelium ทำา ให้ นำ้า จาก choroid ซึ ม เข้ า ไปใต้
จอตา ถ้ า หากไม่ ส ามารถหายได้ เ องในเวลา 4 เดื อ น อาจต้ อ งใช้ แ สง
เลเซอร์ ยิ ง ตรงจุ ด จอตารั่ว ทำา ให้ นำ้ า ในชั ้น subretinal fluid ราบลงและ
หายเร็วขึน

3. โ ร ค จ อ ต า เ สื่ อ ม ใ น ผู้ สู ง อ า ยุ (Age related macular
degeneration) ในผู้ ป่ วยที ส
่ ู ง อายุ แ ละมี ก ารเสื่ อ มของ macula อาจมี
การแตกของชัน
้ bruch membrane และมีหลอดเลือดงอกจาก choroid
ผ่ า นรอยแตกเข้ า ไปใต้ จ อตาได้ อ าจแตกง่ า ย เกิ ด มี เ ลื อ ดออกทำา ให้
สายตามัวไปได้มากการใช้เลเซอร์ยิงหลอดเลือดงอกใหม่นีจ
้ ะเป็ นการ
ป้ องกั น โรคแทรกซ้ อ นจากการแตกของหลอดเลื อ ดงอกใหม่ นี ้ และ
รักษาได้ด้วย Argon green, Krypton red หรือ Dye yellow โดยก่อน
จะรั ก ษาต้ อ งฉี ด สี ถ่ า ยภาพจอประสาทตาด้ ว ยฟลู อ อเรสซี น หรื อ
indocyanine green เพือ
่ ให้หลอดเลือดงอกใหม่ให้ชัดเสียก่อน

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


12

4. จอตาเป็ นรู (retinal hole) ใช้ Argon หรื อ Dye laser ยิ ง


รอบ retinal hole หรือ retinal tear เพือ
่ ทำาให้เกิดเป็ นแผลเป็ นรอบ ๆ
เป็ นการป้ องกันไม่ให้เกิดจอประสาทตาลอกในภายหลัง
5. Branch retinal vein occlusion จักษุแพทย์จะรอประมาณ 3
เดือนเพือ
่ ให้เลือดจาง และรอให้ macular edema และสายตาดีขึน
้ เอง
ได้หรือไม่ ถ้าไม่ดีขึน
้ ข้อบ่งชีใ้ นการฉายแสงเลเซอร์คือ
5.1 มีหลอดเลือดงอกใหม่เกิดขึน
้ (NVE)
5.2 มี macular edema แ ล ะ VA < 20/40 โ ด ย ที ่ capillary
Perfusion ดีบริเวณ macula
Sheathotomy
ปั จจุ บั น จั ก ษุ แ พทย์ บ างราย ได้ ทำา ผ่ า ตั ด นำ้า วุ้ น และใช้ มี ด ผ่ า ตั ด
กรีดบริเวณ sheath ทีค
่ ลุมระหว่างหลอดเลือดแดงและดำาออก และใช้
ปลายกรรไกรทีไ่ ม่แหลมมากแยกชัน
้ เลือดแดงและดำา พบว่าสามารถ
ทำา ให้ห ลอดเลือ ดดำา ทีอ
่ ุ ดตั นจากการกดของหลอดเลื อ ดแดง มี เ ลื อ ด
ไหลกลับมากขึน
้ ผู้ป่วยบางรายสายตาดีขึน

6. central retinal vein occulusion จัก ษุแพ ท ย์มัก จะ ฉา ยแ สง
เลเซอร์ กรณี iris หรือ angle neovascularization เกิดขึน
้ เพื่อป้ องกัน
neovascular glaucoma โดยฉายแสงเลเซอร์ ทั่ว ทั ้ง จอตา (panretinal
photocoaghlation) แต่ ใ นปั จจุ บั น มี จั ก ษุ แ พทย์ บ างคนได้ เ ริ ม
่ ทำา radial
optic neurotomy โดยใช้ มี ด เจาะลงไปตรงบริ เ วณ optic disc ด้ า น
medial เนื่องจากเชื่อว่ามี fibrous tissue ไปรัดบริเวณ lamina cribesa
หลั ง ทำา พบว่ า ผู้ ป่ วยบางรายมี ส ายตาดี ขึ้น ซึ่ ง เป็ นทางเลื อ กในการ
รักษาอย่างหนึง่

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


13

7. Peripheral retinal vascular abnormalities ใ ช้ Argon ห รื อ


Dye laser ยิงทำา ลายหลอดเลือดทีผ
่ ิดปกติ เช่น โป่ งพองหรืองอกใหม่
ผิดปกติให้ฝ่อลง เช่น ในโรค Eale's disease, Coat's disease เป็ นต้น
8. Retinoblastoma ห รื อ Malignant melanoma ใ ช้ Argon

------------------------------------------------------------------------------------------
laser ยิงไปที ่ tumor แทนทีจ ่ ะทำาการควักตาออก โดยเฉพาะถ้าผู้
ป่ วยเป็ นทัง้ 2 ข้าง หรือเหลือตาข้างเดียว และ tumor ขนาดไม่ใหญ่
มา

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46

You might also like