You are on page 1of 243

เครื่องจักรกลการเกษตรเขตรอน

Tropical Agricultural Machinery

รองศาสตราจารย ดร. บัญญัติ เศรษฐฐิติ

Docteur Ingenieur (Science Agronomique), Institut National Agronomique, France


D.A.A. (Machinisme Agricole), Institut National Agronomique, France
M.S. (Mechanized Agriculture), North Dakota State University, U.S.A.
วท.บ.(เกษตรศาสตร) (เกษตรกลวิธาน) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
Certificat de Specialisation en Machinism Agricole et Sciences Economics Connexes, France.
Cert. in Farm Mechanization in Rice Production for Small Farms, Republic of China.

ภาควิชาเกษตรกลวิธาน
คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
คํานํา

ปจจุบัน การพัฒนาการเกษตรในประเทศจําเปนตองอาศัยเทคโนโลยีใหมๆ เพื่อเพิ่ม


ผลผลิต และยกระดับฐานะความเปนอยูของเกษตรกร รถแทรกเตอรและเครื่องจักรกล
การเกษตรตางๆ จึงเขามามีบทบาทที่สําคัญในการชวยใหการทํางานเสร็จสิ้นทันฤดูกาล ทําให
มีเวลาเหลือพอที่จะทํางานดานอื่นที่สามารถเพิ่มพูนรายได นอกจากนี้ยังเปนการชวยแบงเบา
ภาระในการขาดแคลนแรงงานซึ่งกําลังวิกฤติอีกดวย
รถแทรกเตอรและเครื่องจักรกลการเกษตรมีความสัมพันธกันอยางมาก ดังจะเห็นไดวา
เครื่องจักรกลการเกษตรตางๆ เชน ไถหัวหมู ไถจาน เครื่องปลูก ฯลฯ ลวนแลวแตไดรับกําลัง
มาจากรถแทรกเตอรทั้งสิ้น จึงจะทํางานใหสําเร็จลุลว งไปได
เครื่องจักรกลการเกษตรเริม่ มีการใชในประเทศเนื่องจากมีการนําเขามาจากตางประเทศ
เครื่องจักรกลการเกษตรบางชนิดไมสามารถใชงานได และไมเปนทีน่ ิยมของเกษตรกร เนื่องจาก
ถูกพัฒนาขึ้นใชอยางเหมาะสมสําหรับประเทศของผูผลิตเอง อยางไรก็ตามก็มีเครื่องจักรกล
การเกษตรที่ไดรับความนิยมและถูกใชงานตอๆกันมา หนังสือเลมนี้จึงไดเนนเนื้อหาและองค
ความรูดานเครื่องจักรกลการเกษตรที่เหมาะสมสําหรับการใชงานในเขตรอนโดยเฉพาะประเทศ
ไทยในปจจุบนั รวมทั้งที่เคยใชงานในอดีต เพือ่ ใหเกิดความเขาใจถึงกลไกการทํางานของ
เครื่องจักรกลการเกษตรแตละแบบแตละชนิด ซึ่งจะทําใหผูอานไดแนวความคิด และเกิดแรง
บันดาลใจใหมกี ารพัฒนาเครื่องจักรกลการเกษตรใหมๆ และเหมาะสมสําหรับการใชงานใน
ประเทศไทยเพิ่มมากขึ้น
หนังสือเลมนี้เขียนขึ้นมาจากความรูและประสบการณที่ผานมา เพื่อใชประกอบการ
เรียนการสอน และการศึกษาคนควาดวยตัวเองของนิสิตสาขาเกษตร โดยไดอธิบายเกี่ยวกับ
ความรูพื้นฐานทั่วๆ ไป ซึ่งครอบคลุมถึงหลักการทํางาน สวนประกอบที่สําคัญ ตลอดจนการ
เลือกใช การใชงานและการบํารุงรักษาเครื่องจักรกลการเกษตรชนิดตางๆ ที่มีใชอยูใน
ประเทศ นอกจากนั้นหนังสือเลมนี้ยังเหมาะสําหรับผูที่สนใจ รวมทั้งผูที่เกี่ยวของกับการใชรถ
แทรกเตอรและเครื่องจักรกลการเกษตร อาทิเชน เกษตรกร ผูท ี่ใชเครื่องมือทุนแรงรับจาง
เปนอาชีพ ครูฝก โรงงานผลิตเครื่องจักรกลการเกษตร ตลอดจนนักเรียน และนักศึกษาใน
สถาบันตางๆ อีกดวย

รศ.ดร.บัญญัติ เศรษฐฐิติ
ภาควิชาเกษตรกลวิธาน
คณะเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
สารบัญ

บทที่ หนา
1 รถแทรกเตอร 1
บทนํา 2
ลักษณะทั่วไป 2
ประเภทของรถแทรกเตอร 3
สวนประกอบและการทํางาน 5
เครื่องยนตตน กําลัง 6
เครื่องยนตดีเซล 7
การใชน้ํามันไบโอดีเซลทดแทนน้ํามันดีเซล 9
เครื่องยนตดีเซล 4 จังหวะ 11
เครื่องยนตดีเซล 2 จังหวะ 13
ระบบถายทอดกําลัง 21
ลอ 26
ระบบบังคับเลีย้ ว 28
ระบบเบรก 28
ระบบไฮดรอลิค 30
ระบบพวงอุปกรณ 32
การบํารุงรักษา 34
การขับรถแทรกเตอรและการติดเครื่องจักรกลการเกษตร 37
2 เครื่องมือเตรียมดิน 40
บทนํา 41
ไถ 42
ไถหัวหมู 45
ไถบุกเบิก 52
วิธีการไถ 59
จอบหมุน 68
พรวนจาน 74
เครื่องมือประเภทซี่ 78
ไถดินดาน 79
ไถสิ่ว 80
คราดซี่ 82
พรวนซี่ 82
สารบัญ(ตอ)

พรวนสปริง 83
เครื่องมือยกรอง 84
3 เครื่องปลูก 87
บทนํา 88
เครื่องปลูกที่ใชเมล็ด 89
เครื่องหยอดเมล็ดและเครื่องโรยเมล็ด 89
เครื่องพนหวานเมล็ด 99
เครื่องปลูกที่ใชตนกลา 102
เครื่องดํานา 102
เครื่องดํานาใชแรงคน 102
เครื่องดํานาใชเครื่องยนตแบบเดินตาม 103
รถดํานา หรือเครื่องดํานาใชเครื่องยนตแบบนั่งขับ 105
การเตรียมกลาแผนเพื่อใชกบั เครื่องดํานา 109
เครื่องปลูกที่ใชทอนพันธุ 114
เครื่องปลูกออย 114
4 เครื่องพนสารเคมีปองกันกําจัดศัตรูพืช 119
บทนํา 120
เครื่องพนสารเคมีที่เปนของเหลว 122
เครื่องพนสารเคมีแบบแรงดันน้ํา 123
เครื่องพนสารเคมีแบบสูบชัก 123
เครื่องพนสารเคมีแบบสะพาย 124
เครื่องพนสารเคมีชนิดสูบโยก 126
เครื่องพนสารเคมีชนิดติดรถแทรกเตอร 127
เครื่องพนสารเคมีแบบลมพา 138
เครื่องพนสารเคมีแบบแรงดันลม 144
เครื่องพนสารเคมีแบบแรงเหวี่ยงหนีศูนย 145
เครื่องพนสารเคมีแบบหมอก 147
เครื่องพนสารเคมีที่เปนผง 149
เครื่องพนสารเคมีที่เปนเม็ด 150
5 เครื่องมือเก็บเกี่ยวพืชอาหารสัตว 151
บทนํา 152
เครื่องตัดหญา 155
สารบัญ(ตอ)

เครื่องตัดหญาแบบใบมีดเคลื่อนที่ไปมา 155
เครื่องตัดหญาแบบดรัม 158
เครื่องตัดหญาแบบมัลติดิส 159
เครื่องตัดหญาแบบหมุนเหวี่ยงแนวนอน 160
เครื่องตัดหญาแบบหมุนเหวี่ยงแนวตั้ง 162
เครื่องบีบขอและลําตนหญา 163
เครื่องบีบขอและลําตน 164
เครื่องตัด บีบขอและลําตน 165
เครื่องคราดหญา 166
เครื่องคราดแบบหมุนเหวี่ยง 167
เครื่องคราดแบบหมุนเหวี่ยงชนิดแกนหมุน 1 แกน 167
เครื่องคราดแบบหมุนเหวี่ยงชนิดแกนหมุน 4 แกน 168
เครื่องคราดแบบวงลอ 168
เครื่องอัดฟอนหญา 169
เครื่องอัดฟอนหญาแบบสี่เหลี่ยม 169
เครื่องอัดฟอนหญาแบบกลม 172
6 เครื่องใสปุย 175
บทนํา 176
เครื่องหวานปุย คอก 178
เครื่องใสปุยเม็ด 178
เครื่องหวานปุย เม็ด 179
เครื่องโรยปุย 181
เครื่องโรยปุยเปนแถว 181
เครื่องโรยปุยหนาดิน 182
7 เครื่องเกี่ยวนวดขาว 184
บทนํา 185
การเกี่ยวขาว 185
การเกี่ยวขาวโดยใชแรงคน 186
การเกี่ยวขาวโดยใชเครื่องเกี่ยว 186
เครื่องเกี่ยววางราย 187
เครื่องเกี่ยวมัดฟอน 189
การนวดขาว 190
สารบัญ(ตอ)

การนวดขาวโดยใชแรงคน 191
การนวดขาวโดยใชแรงงานสัตว 191
การนวดขาวโดยใชรถไถเดินตาม หรือรถแทรกเตอร 191
การนวดขาวโดยใชเครื่องนวดขาวแบบเทาถีบ 192
การนวดขาวโดยใชเครื่องนวดขาวแบบนวดตามแกนลูกนวด 192
การนวดขาวโดยใชเครื่องปลิดเมล็ดขาว 194
การทําความสะอาด 195
เครื่องเกี่ยวนวดขาว 196
เครื่องเกี่ยวนวดขาวของประเทศตะวันตก 198
เครื่องเกี่ยวนวดขาวของญี่ปุน 199
เครื่องเกี่ยวนวดที่พัฒนาในประเทศไทย 203
8 การจัดการเครื่องจักรกลการเกษตร 212
ความสามารถของเครื่องจักรกลการเกษตร 213
ความสามารถในการทํางานเชิงทฤษฎี 213
ความสามารถในการทํางานเชิงพื้นที่ 214
ประสิทธิภาพการทํางานในพื้นที่ของเครือ่ งจักรกลการเกษตร 215
ขนาดของเครือ่ งจักรกลการเกษตร 216
กําลังของเครือ่ งจักรกลการเกษตร 217
ตนทุนของการใชเครื่องจักรกลการเกษตร 218
ตนทุนคงที่ 218
ตนทุนผันแปร 219
9 ความปลอดภัยในไรนา 223
ความปลอดภัยเมื่อใชรถแทรกเตอรและเครื่องจักรกลการเกษตร 224
ความปลอดภัยเมื่อใชสารเคมี 226
สารบัญรูป

รูปที่ หนา

1.1 การสงกําลังของรถแทรกเตอรที่ใชในการเกษตร. 2
1.2 การแบงประเภทของรถแทรกเตอร 3
1.3 รถแทรกเตอรตีนตะขาบ 4
1.4 รถแทรกเตอรลอยาง 4
1.5 รถไถเดินตาม 5
1.6 สวนประกอบของรถแทรกเตอร 5
1.7 สวนประกอบของเครื่องยนต 6
1.8 การทํางานของเครื่องยนตดีเซล 4 จังหวะ 12
1.9 การทํางานของเครื่องยนตดีเซล 2 จังหวะ 14
1.10 การระบายความรอนดวยอากาศ 16
1.11 การระบายความรอนดวยของเหลว (น้ํา) 16
1.12 ระบบวิดสาด 18
1.13 ระบบใชแรงฉีด 18
1.14 ระบบวงจรปมหัวฉีด 19
1.15 หมอกรองอากาศ 21
1.16 ระบบถายทอดกําลังของแทรกเตอร 22
1.17 คลัชแบบตางๆ 23
1.18 ระบบเกียรแบบเลื่อนขบ 24
1.19 ระบบเกียรขบอยูกับที่ 24
1.20 ลักษณะและสวนประกอบของเฟองทายและเฟองขับลอ 25
1.21 กลไกการทํางานของเพลาอํานวยกําลัง 26
1.22 ลักษณะและสวนประกอบของยาง 27
1.23 กลไกการทํางานของระบบบังคับเลี้ยว 28
1.24 เบรกชนิดขยายออก 29
1.25 เบรกชนิดรัดเขา 29
1.26 เบรกชนิดแผน 30
1.27 ระบบควบคุมตําแหนง 31
1.28 ระบบควบคุมแรงลาก 32
1.29 คานลากแบบตางๆ 33
1.30 ระบบพวงอุปกรณแบบติดกับรถแทรกเตอร 33
สารบัญรูป(ตอ)

1.31 แขนพวง 3 จุด 34


1.32 ไมวัดระดับน้ํามันเครื่อง 35
2.1 การแบงประเภทของเครื่องมือเตรียมดิน 41
2.2 ระยะหางของลอที่มีผลตอความกวางของรองไถ 43
2.3 การปรับแขนกลาง (ก) สั้น (สวนหลังยก) (ข) ยาว (สวนหลังกินดินลึก) 43
2.4 การปรับคันระดับ ( ก ) ดานขวากินตื้น ( ข ) ดานขวากินลึก ( ค ) ไถกินดิน
เทากัน 44
2.5 การตัดและพลิกดินของไถหัวหมู 45
2.6 สวนประกอบของชุดไถหัวหมู 46
2.7 รายละเอียดของไถหัวหมู 46
2.8 รูปรางของปกไถแบบตางๆ 47
2.9 ใบตัดดินแบบตางๆ 48
2.10 การตรวจสอบระยะของชุดไถหัวหมู 50
2.11 ตรวจสอบระยะจิกดิน 51
2.12 ตรวจสอบ Suction 51
2.13 สวนประกอบของไถบุกเบิก 53
2.14 จานไถที่ติดบนลูกปน 54
2.15 ลักษณะของขอบจานไถ 54
2.16 ลักษณะของขี้ไถ 55
2.17 การปรับเพลาขวาง 56
2.18 การปรับลอคัดทาย 56
2.19 การปรับจานไถ 57
2.20 การซอนของจานไถ 57
2.21 การไถเปดรองเดี่ยว 61
2.22 การไถเปดรองคู 62
2.23 การไถใหขี้ไถแยกออกจากกัน 63
2.24 วิธีเลี้ยวกลับหัวงาน 64
2.25 การไถใหขี้ไถสาดเขาแปลง 65
2.26 การไถใหขี้ไถออกจากแปลง 66
2.27 ขั้นตอนการไถ 67
2.28 จอบหมุนและการทํางาน 68
2.29 ลักษณะการขับหมุนของเพลาใบมีด 70
สารบัญรูป(ตอ)

2.30 ลักษณะของใบมีด 70
2.31 แนวระดับของจอบหมุน 71
2.32 แนวระดับของจอบหมุนเมื่อมองจากดานขาง 72
2.33 การจัดเรียงใบมีดตามลักษณะงาน 72
2.34 วิธีการเตรียมดินดวยจอบหมุนในลักษณะตางๆ 73
2.35 พรวนจาน 74
2.36 พรวนจานแบบทํางานครั้งเดียว 75
2.37 พรวนจานแบบทํางานสองครั้ง 76
2.38 พรวนจานชุดที่ 2 ผลักดินกลับไปแนวเดิม 76
2.39 จานพรวนแบบเยื้องขาง 77
2.40 จานพรวนแบบขอบหยัก 78
2.41 เครื่องมือประเภทซี่ 78
2.42 ผลที่ไดจากการไถดินดาน 79
2.43 ลักษณะของไถดินดาน 80
2.44 ลักษณะของไถสิ่ว 80
2.45 ลักษณะการแตกตัวของดินเมื่อใชไถสิว่ 81
2.46 แสดงการแยกตัวของดินเมื่อใชหัวเจาะ 2 แบบ 81
2.47 คราดซี่แบบตางๆ 82
2.48 หัวเจาะของคราดซี่แบบตางๆ 82
2.49 พรวนซี่แบบตางๆ 83
2.50 พรวนสปริง 83
2.51 เครื่องมือยกรอง ก) แบบปกนูน ข) แบบปกเวา ค) แบบจาน 85
3.1 ลักษณะการปลูกพืช 88
3.2 แผนผังแสดงประเภทและชนิดของเครื่องปลูก 89
3.3 เครื่องปลูก 90
3.4 จานจับเมล็ด 90
3.5 จานจับเมล็ดแบบตางๆ 92
3.6 หลักการทํางานของเครื่องปลูกที่มีจานจับเมล็ดแบบลูกกลิ้งเฟอง 93
3.7 หลักการทํางานของเครื่องปลูกที่มีจานจับเมล็ดแบบลูกกลิ้งเปนปุม 93
3.8 ชนิดของทอสงเมล็ด 94
3.9 อุปกรณเบิกรองชนิดตางๆ 94
3.10 ลอกลบดิน 95
สารบัญรูป(ตอ)

3.11 การขับจานจับเมล็ด 97
3.12 การใชอุปกรณขีดแนว 99
3.13 เครื่องพนหวานเมล็ดขาวงอก 100
3.14 เครื่องดํานาใชแรงคนชนิดใชกับตนกลาเปนแผน 103
3.15 ภาพตัดขวางของเครื่องดํานาใชแรงคนชนิดใชกับตนกลาเปนแผน 103
3.16 เครื่องดํานาใชเครื่องยนตชนิดใชกับกลาแผน 104
3.17 แสดงการทํางานของชุดสอมปกดํา 105
3.18 เครื่องดํานาใชเครื่องยนตแบบนั่งขับชนิดใชกับตนกลาลางราก 106
3.19 เครื่องดํานาใชเครื่องยนตแบบนั่งขับชนิดใชกับตนกลาแผน 106
3.20 ดานหลังของเครื่องดํานา 107
3.21 การทํางานของชุดสอมปกดํา 107
3.22 แผนกลาที่ใชกับเครื่องดํานา 110
3.23 เครื่องเพาะแผนกลา 111
3.24 กระบะเพาะกลา 111
3.25 แสดงลักษณะและขนาดของแปลงกลา 113
3.26 ภาพขยายแปลงเตรียมกลาแผน 113
3.27 ลักษณะของแปลงกลาทีเ่ พาะในแปลงนา 114
3.28 เครื่องปลูกออย 116
3.29 ระบบตัดตนออย 117
4.1 แผนผังการแบงประเภทของเครื่องพนสารเคมี 121
4.2 เครื่องพนสารเคมีแบบสูบชัก 124
4.3 สวนประกอบและการทํางานของเครื่องพนสารเคมีชนิดอัดลม 126
4.4 สวนประกอบและการทํางานของเครื่องพนสารเคมีชนิดสูบโยก 126
4.5 เครื่องพนสารเคมีชนิดติดรถแทรกเตอร 127
4.6 กลไกกวนน้ํายาเคมี 128
4.7 ปมลูกสูบ 128
4.8 ปมหอยโขง 129
4.9 ปมเกียร 129
4.10 ปมลูกกลิ้ง 129
4.11 กราฟเปรียบเทียบอัตราการไหลและความดันระหวางปม 3 แบบ 130
4.12 ปมไดอะแฟรม 130
4.13 ลิ้นปรับความดัน 131
สารบัญรูป(ตอ)

4.14 หัวฉีดแบบกรวยกลวงและกรวยตัน 131


4.15 หัวฉีดรูปพัด 132
4.16 หัวฉีดแบบกระทบ 132
4.17 การจัดระยะหัวฉีดและความสูงของแขนพน 133
4.18 วงจรทางเดินน้ํายาเคมีของปมลูกสูบ ปมลูกกลิ้ง และปม หอยโขง 135
4.19 วิธีเดินพนสารเคมี 137
4.20 วิธขี ับรถแทรกเตอรในการพนสารเคมี 138
4.21 หลักการทํางานของเครื่องพนสารเคมีแบบลมพา 138
4.22 สวนประกอบของเครื่องพนสารเคมีแบบลมพา 139
4.23 หัวฉีดแบบกรวยกลวง 141
4.24 เครื่องพนสารเคมีแบบอาศัยลมพา (แบบวงกลม) 142
4.25 การปรับปริมาณน้ํายาเคมีที่พนสารเคมีไปยังตนพืช 143
4.26 เครื่องพนสารเคมีแบบอาศัยลมพา (แบบเปนลํา) 143
4.27 การทํางานของเครื่องพนสารเคมีชนิดแรงดันลม 144
4.28 เครื่องพนสารเคมีชนิดแรงดันลม 145
4.29 เครื่องพนสารเคมีแบบแรงเหวี่ยงหนีศูนย 146
4.30 เครื่องพนหมอกควัน 147
4.31 อุปกรณพนผง 150
4.32 การติดตั้งอุปกรณพนผงภายในถังสารเคมี 150
5.1 เครื่องตัดหญาแบบใบมีดเคลื่อนที่ไปมาชนิดติดทายรถแทรกเตอร 155
5.2 ชุดใบมีด 156
5.3 การติดตั้งชุดใบมีดตัด 158
5.4 เครื่องตัดหญาแบบดรัม 158
5.5 เครื่องตัดหญาแบบมัลติดิส 159
5.6 จานตัดและใบมีดมองจากดานลาง 159
5.7 เครื่องตัดหญาแบบหมุนเหวี่ยงแนวนอนติดหลังรถแทรกเตอร 160
5.8 เครื่องตัดหญาแบบหมุนเหวี่ยงแนวนอน 161
5.9 รูปดานลางที่แสดงใหเห็นใบมีดที่เหวี่ยงตัวกลับเมื่อกระแทกเศษหิน 161
5.10 เครื่องตัดหญาแบบหมุนเหวี่ยงแนวตั้ง 162
5.11 ใบมีดแบบหมุนเหวี่ยงแนวตั้ง 163
5.12 ลูกกลิ้งแบบตางๆและการทํางาน 164
5.13 เครื่องบีบขอและลําตน 164
สารบัญรูป(ตอ)

5.14 หลักการทํางานของเครื่องตัด บีบขอและลําตน 165


5.15 เครื่องคราดแบบหมุนเหวี่ยงชนิดแกนหมุน 1 แกน 167
5.16 เครื่องคราดแบบหมุนเหวี่ยงชนิดแกนหมุน 4 แกน 168
5.17 เครื่องคราดแบบวงลอ 168
5.18 เครื่องอัดฟอนหญาแบบสี่เหลี่ยม 170
5.19 สวนประกอบของเครื่องอัดฟอนหญาแบบสี่เหลี่ยม 170
5.20 การขมวดปมมัดเชือก 171
5.21 การบิดปมมัดลวด 172
5.22 เครื่องอัดฟอนหญาแบบกลม 173
5.23 เครื่องอัดฟอนหญาแบบกลมขณะทํางาน 174
6.1 เครื่องหวานปุย คอก 178
6.2 เครื่องหวานปุย เม็ด 179
6.3 การปรับตั้งเครื่องหวานปุยใหอยูในแนวระดับ 180
6.4 เครื่องโรยปุยหนาดิน 182
6.5 อุปกรณกําหนดจํานวนปุยแบบใบจักร 182
6.6 อุปกรณกําหนดจํานวนปุยแบบเกลียวลําเลียง 183
7.1 เครื่องมือเกี่ยวขาว 186
7.2 เครื่องเกี่ยววางรายจากประเทศญี่ปุน (คูโบตา) 187
7.3 เครื่องเกี่ยวมัดฟอน 2 แถว 189
7.4 เครื่องนวดขาวแบบเทาถีบ 192
7.5 เครื่องนวดขาวแบบนวดตามแกนลูกนวด 193
7.6 เครื่องปลิดเมล็ดขาว 195
7.7 หัวปลิดเมล็ดขาวขณะทํางาน 195
7.8 เครื่องสีฝด 196
7.9 เครื่องเกี่ยวนวด ก) ลอตีนตะขาบ ข) ลอยาง ค) ลอกึ่งตีนตะขาบ 197
7.10 เครื่องเกี่ยวนวดขาวของประเทศตะวันตก 198
7.11 เครื่องเกี่ยวนวดขาวของญี่ปุน 200
7.12 ลอตีนตะขาบ 200
7.13 สวนที่ทําหนาที่ตัด 201
7.14 ใบมีดแบบเคลื่อนที่ไปมา 201
7.15 สวนที่ทําหนาที่นวด 202
7.16 ชุดชวงลาง 205
สารบัญรูป(ตอ)

7.17 ระบบขับไฮโดรสแตติก 206


7.18 หลักการและขั้นตอนการทํางานของเครื่องเกี่ยวนวดขาว (แบบมีถังเก็บ) 207
สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา

1.1 คุณสมบัตขิ องไบโอดีเซลเปรียบเทียบกับน้ํามันดีเซล 11


1.2 น้ําหนักที่ยางสามารถรับได 27
2.1 ขนาดของจานไถ 52
2.2 มุมของจานไถที่เหมาะสมกับดิน 58
8.1 ความเร็วในการทํางานของเครื่องจักรกลการเกษตร 215
8.2 ประสิทธิภาพการทํางานในพื้นที่ของเครือ่ งจักรกลการเกษตร 216
8.3 แรงฉุดลากที่เครื่องจักรกลการเกษตรตองการ 218
8.4 แสดงคาน้ํามันหลอลื่นที่คิดจากราคาซื้อ 221
8.5 คาซอมแซมสะสมของเครื่องจักรกลการเกษตร (เปอรเซ็นตของราคาซื้อ) 221
1

บทที่ 1 รถแทรกเตอร
(Tractor)
2

บทนํา
รถแทรกเตอร (รูปที่ 1.1) คือ ยานพาหนะชนิดพิเศษทีส่ ามารถสงกําลังออกไปยัง
อุปกรณหรือเครื่องจักรกลที่ใชในการเกษตร เชน ไถหัวหมู ไถกระทะ ไถดินดาน เครื่องพน
สารเคมีเพื่อทําใหการปฏิบตั ิงานในการเกษตรบรรลุผลสําเร็จ
การสงผานกําลังของรถแทรกเตอรออกไปใชประโยชน สวนใหญมี 2 ทาง ดังตอไปนี้
1. ทางลอ ทําใหลอยึดแนนอยูกับดิน ขณะที่รถแทรกเตอรกําลังปฏิบตั ิงาน ทํา
ให รถแทรกเตอรดัน หรือฉุดเครื่องจักรกลการเกษตรได
2. ทางเพลาอํานวยกําลัง ทําใหรถแทรกเตอรสงกําลังออกไปขับเครื่องจักรกล
ในการเกษตรชนิดอื่นได เชน เครื่องสูบน้ํา เปนตน

รูปที่ 1.1 การสงกําลังของรถแทรกเตอรที่ใชในการเกษตร

กําลังของรถแทรกเตอรไดมาจากเครื่องยนต ซึง่ มักจะเรียกเปนแรงมาหรือกิโลวัตต (1


แรงมา = 746 วัตต และ 1 กิโลวัตต = 1000 วัตต) รถแทรกเตอรมีกําลังใหเลือกใชไดตั้งแต
ขนาด 3 แรงมา (2.238 กิโลวัตต) จนถึงขนาดใหญ 300 แรงมา (223.8 กิโลวัตต)

ลักษณะทั่วไป
รถแทรกเตอรที่ใชในการเกษตรมีรูปรางหลายแบบ แตสวนใหญจะประกอบดวย
เครื่องยนตตน กําลัง อุปกรณพวงลากและขับหมุนเครือ่ งจักรกลการเกษตร
โดยทั่วไป รถแทรกเตอรมีลักษณะดังตอไปนี้
1. เครื่องยนตมีรอบต่ําแตมแี รงบิดสูง ทั้งนี้เพราะตองการใหเกิดแรงฉุดลากที่มี
ประสิทธิภาพในการทํางาน
2. ลอหลังใหญและหนากวาง เพื่อรับน้ําหนักที่เกิดขึ้นในขณะทํางาน นอกจากนั้นยัง
ทําให แรงเสียดทานเพิ่มขึ้น ซึ่งเปนผลใหแรงฉุดลากเพิ่มขึ้นดวย
3

3. ตัวถังรถสูง เพื่อใหวิ่งเขาไปทํางานระหวางแถวพืชและคันดิน หรือรองคูไดสะดวก


4. มีอุปกรณที่ใหความปลอดภัย เชน กระจกกวางมองเห็นไดรอบดาน เบาะนั่งสบาย
ลุกออกสะดวกและรวดเร็วในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุ โครงหลังคาแข็งแรง

ประเภทของรถแทรกเตอร
การแบงประเภทของรถแทรกเตอร (รูปที่ 1.2) ขึ้นอยูกับกําลังของเครื่องยนต ถากําลัง
ของเครื่องยนตต่ํากวา 25 แรงมา (18.65 กิโลวัตต) เรียกวารถแทรกเตอรขนาดเล็ก ถากําลัง
ของเครื่องอยูระหวาง 25 แรงมาถึง 50 แรงมา (18.65 กิโลวัตต ถึง 37.3 กิโลวัตต) เรียกวารถ
แทรกเตอรขนาดกลาง สวนรถแทรกเตอรขนาดใหญ คือรถที่มีกําลังเครื่องยนตมากกวา 50
แรงมา (37.3 กิโลวัตต) ขึ้นไป

ประเภทรถแทรกเตอร

ตีนตะขาบ ลอยาง

ขนาดใหญมาก ขนาดใหญ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก


(50 แรงมาขึ้นไป) (50 แรงมาขึ้นไป) (25-50 แรงมา) (ต่ํากวา 25 แรงมา)

รูปที่ 1.2 การแบงประเภทของรถแทรกเตอร

รถแทรกเตอรตีนตะขาบ (รูปที่ 1.3) เปนรถขนาดใหญมาก ใชสําหรับทํางานหนัก เชน


ทําถนน สรางเขื่อน และเปดปา กําลังที่ใชฉุดและดันเครื่องจักรกลการเกษตรไดมาจาก
เครื่องยนต และการตะกุยดินของลอตีนตะขาบ ซึ่งมีหนาสัมผัสที่ยึดพื้นที่ไวไดมากกวาลอยาง
แตโดยปกติเกษตรกรจะไมซื้อรถประเภทนี้ เพราะมีราคาแพงถาจําเปนที่จะใชงานก็อาจจะเชา
หรือวาจางจากบริษัทผูร ับเหมาได อีกทั้งยังเสียคาใชจายต่ําอีกดวย อยางไรก็ตามรถ
แทรกเตอรประเภทนี้เหมาะสําหรับงานปรับพื้นที่ การจัดรูปที่ดิน และงานปาไม
4

รูปที่ 1.3 รถแทรกเตอรตีนตะขาบ

รถแทรกเตอรขนาดกลางและขนาดใหญ เปนทีน่ ิยมใชกันมากในงานเกษตร โดยไดมี


การปรับปรุงใหเหมาะสมกับการทํางานประเภทตางๆ

รูปที่ 1.4 รถแทรกเตอรลอยาง

รถแทรกเตอรเหลานี้สวนใหญใชลอยางซึ่งปรับระยะหางได โดยอาจจะปรับใหกวาง
หรือแคบไดตามระยะหางของแถวพืชที่ปลูก
รถแทรกเตอรลอยาง (รูปที่ 1.4) แบงออกเปนแบบขับเคลื่อน 2 ลอ และแบบขับเคลื่อน
4 ลอ โดยที่แบบขับเคลื่อน 2 ลอ จะมีขนาดลอหนาเล็กกวาแบบขับเคลื่อน 4 ลอ และเปนแบบ
ที่นิยมใชกันมาก อยางไรก็ตามรถแทรกเตอรขับเคลื่อน 4 ลอจะมีแรงฉุดลาก ประสิทธิภาพ
ของการขับเคลื่อน และการเลี้ยวดีกวา เมือ่ เปรียบเทียบรถแทรกเตอร 2 คันที่มีน้ําหนักเทากัน
นอกจากนั้นยังสามารถติดตั้งเครื่องจักรกลในการเกษตรเขากับรถแทรกเตอรประเภท
นี้ได โดยติดกับแขนพวง 3 จุด (three points linkage) สวนการบังคับใหอุปกรณสูงขึ้นจาก
พื้นดิน หรือลดลงนั้น อาศัยคันบังคับของระบบไฮดรอลิค
การใชระบบไฮดรอลิคกับอุปกรณที่ติดตัง้ ไวไดประโยชนหลายประการ แตประการที่
สําคัญคือ ใหความสะดวกในการนําอุปกรณจากไรหนึ่งไปยังอีกไรหนึ่ง อีกทั้งยังทําใหการกลับ
รถบริเวณทายไรรวดเร็วขึน้ และประหยัดเนื้อที่อีกดวย
5

รถแทรกเตอรขนาดเล็กเปนรถแทรกเตอรที่มีราคาถูกและนิยมใชกันมากในฟารม
ขนาดเล็ก
รถไถเดินตาม เปนรถแทรกเตอรที่มีขนาดเล็กที่สุด แรงมาไมสูง และราคาต่ํา แต
เนื่องจากวาผูปฏิบัติงานตองเดินตามหลังเพื่อบังคับรถชนิดนี้ จึงทําใหการปฏิบตั ิงานในไรนา
ตองใชกําลังมาก

รูปที่ 1.5 รถไถเดินตาม

สวนประกอบและการทํางาน
รถแทรกเตอร (รูปที่ 1.6) ประกอบดวยสวนตางๆทีส่ ําคัญคือ เครื่องยนต คลัตช
กระปุกเกียร ดอกจอกและเฟองบายศรี อุปกรณบังคับเลี้ยว คานลาก แขนพวง 3 จุด ชุดเฟอง
ทดลอ ลอสายพาน เฟองทาย ลอบังคับเลีย้ ว (ลอหนา) และลอขับ

1 เครื่องยนต 2 คลัตช 3 กระปุกเกียร 4 ดอกจอกและเฟองบายศรี


5 อุปกรณบังคับเลี้ยว 6 คานลาก 7 แขนกลาง 8 ชุดเฟองทดลอ
9 ลอสายพาน 10 เฟองทาย 11 ลอบังคับเลี้ยว 12 ลอขับ

รูปที่ 1.6 สวนประกอบของรถแทรกเตอร


6

เครื่องยนตตนกําลัง

เครื่องยนตตนกําลังของเครื่องจักรกลในการเกษตร ตลอดจนรถแทรกเตอร โดยทั่วไป


คือเครื่องยนตจุดระเบิดภายใน หรือเครือ่ งยนตดีเซล กําลังที่ไดจากเครื่องยนตชนิดนี้จะถูก
ถายทอดไปยังชิ้นสวนและระบบตางๆ เชน ลอขับเคลือ่ นหลัง เพลาอํานวยกําลัง เพื่อนําไปใช
ประโยชนตอไป
สวนประกอบที่สําคัญของเครื่องยนตไดแก
1. ฝาสูบ (cylinder head) คือสวนที่อยูตอนบนสุดของเครื่องทําหนาที่ปดสวนบนของ
เครื่องและเปนทีต่ ั้งของหัวฉีด ลิ้นไอดี ลิ้นไอเสีย เปนตน
2. เสื้อสูบ (cylinder block) คือสวนทีอ่ ยูตอนกลางของเครื่อง ทําหนาที่หอหุม
กระบอก สูบเพลาขอเหวี่ยง และสวนประกอบอื่นๆ
3. อางน้ํามันเครื่อง (crank case) คือสวนที่อยูตอนลางของเครื่อง ปกติตอนบนของ
อางน้ํามันเครื่องจะหลอติดกับเสื้อสูบ สวนตอนลางเรียกวาอางเก็บน้ํามันเครื่อง (oil
pan) ทําหนาที่เก็บน้ํามันเครื่องเพื่อสงไปยังสวนตางๆ ของเครื่องยนตทตี่ องการการ
หลอลื่น
4. กระบอกสูบ (cylinder) คือสวนที่ไดรบั น้ํามันเชื้อเพลิงและอากาศเพื่อการจุดระเบิด
และใหกําลังงานออกมา

รูปที่ 1.7 สวนประกอบของเครื่องยนต


7

5. ลูกสูบ (piston) คือชิน้ สวนที่เคลื่อนที่ขึ้นลงภายในกระบอกสูบ เพื่ออัดน้ํามัน


เชื้อเพลิงและอากาศใหมีความดันและอุณหภูมิเหมาะกับการเผาไหมและใหกําลัง
ออกมา
6. กานสูบ (connecting rod) คือสวนที่ทาํ หนาที่ถายทอดกําลังที่เกิดขึ้นเนื่องจากการ
จุดระเบิดเผาไหมเชื้อเพลิงภายในกระบอกสูบไปยังชิ้นสวนตางๆ กานสูบจะติดกับ
ลูกสูบ
7. เพลาขอเหวีย่ ง (crankshaft) คือสวนที่ทําหนาที่ถา ยทอดกําลังจากานสูบและ
เปลี่ยนการเคลื่อนที่จากการเคลื่อนขั้นลงเปนการหมุนเปนวงกลม
8. เพลาลูกเบี้ยว (camshaft) คือเพลาทําหนาที่ปดเปดลิ้นไอเสีย เพลาลูกเบี้ยว
เคลื่อนที่ดวยเฟองที่ขบกับเฟองของเพลาขอเหวี่ยง
9. ลิ้นไอดี (intake valve) ทําหนาที่ปดและเปดใหไอดีหรือสวนผสมของน้ํามัน
เชื้อเพลิงและอากาศเขาไปในกระบอกสูบ
10. ลิ้นไอเสีย (exhaust valve ) ทําหนาทีป่ ดและเปดใหแกสที่เกิดจากากรเผาไหมออก
จากระบอกสูบ
11. สปริง (valve spring) เปนสปริงที่เกิดใหลิ้นปด
12. หัวฉีด (injector) คืออุปกรณที่ทําใหนา้ํ มันเชื้อเพลิงของเครื่องยนตดีเซลเปนฝอย
ละเอียด พนเขาไปยังสวนบนของกระบอกสูบ
13. ลอชวยแรง (fly wheel) จะติดอยูตรงปลายเพลาขอเหวี่ยง มีหนาที่ชวยสะสม
พลังงาน ทําใหเครื่องยนตเดินเรียบ

เครื่องยนตจุดระเบิดภายในมีจังหวะการทํางาน 4 จังหวะ และ 2 จังหวะ ซึ่งพบใน


เครื่องยนตเบนซิน และเครื่องยนตดีเซล แตเนื่องจากรถแทรกเตอรสวนใหญใชน้ํามันดีเซล
หนังสือเลมนี้จึงกลาวเฉพาะเครื่องยนตดเี ซล

เครื่องยนตดเี ซล
เครื่องยนตดีเซล (diesel engine) เปนเครื่องยนตที่มีการเผาไหมภายในอีกประเภทหนึ่ง
ที่น้ํามันดีเซล หรือมันโซลาจะถูกผสมกับอากาศที่กําลังถูกอัดตัวอยางรุนแรง และมีความรอน
สูงภายในหองเผาไหม กลายเปนเชื้อระเบิดที่มีความรอนสูงโดยการฉีดน้ํามันที่มีความดันสูงให
เปนฝอยอยางละเอียด และรุนแรงภายกระบอกสูบ เพื่อทําใหน้ํามันกับอากาศทีม่ ีความรอนสูง
นั้นไดผสมกันอยางหมดจด จนกลายเปนเชื้อระเบิดเกิดการระเบิดขึ้นอยางรุนแรงและใหกําลัง
งานสูงในที่สุด ซึ่งจะทําใหเครื่องยนตเกิดการทํางานขึ้นตามจังหวะของการทํางานนั้นๆ ของ
เครื่องยนต เชน จังหวะดูด จังหวะอัด
โดยปกติน้ํามันดีเซลความดันต่ําจากถังจะถูกบังคับใหเคลื่อนที่ไปโดยผานกรรมวิธี
ตางๆ ของระบบสงน้ํามันเชื้อเพลิงกลายเปนน้ํามันที่สะอาดและความดันสูง เพื่อที่จะสงไปยัง
8

หัวฉีดใหฉีดออกผสมกับอากาศที่มีความรอนสูง กลายเปนเชื้อระเบิดที่รอนจนเกิดการระเบิดขึ้น
ตรงตามกําหนดเวลาอยางถูกตอง สําหรับอากาศทีถ่ ูกอัดจนมีความรอนสูงภายในกระบอกสูบ
นั้นมาจากอากาศในบรรยากาศซึ่งถูกดูดใหเคลื่อนผานเขามาทางทอทางเดินของอากาศผาน
หมอกรองอากาศ เพื่อทําใหอากาศสะอาดขึ้นและเขาสูกระบอกสูบ ถูกผสมกับน้ํามันดีเซล
ภายในหองเผาไหมในที่สุด ของเสียที่เกิดขึ้นจากการระเบิดภายในกระบอกสูบจะถูกผลักดันให
ออกจากกระบอกสูบอยางรวดเร็วตามจังหวะการทํางานของเครื่องยนตทางทอไอเสียผาน
กรรมวิธตี า งๆ และออกสูบรรยากาศภายนอก เครื่องยนตดีเซลจําแนกออกเปนเครื่องยนตหมุน
เร็ว เครื่องยนตหมุนปานกลาง และเครื่องยนตหมุนชา
เครื่องยนตดีเซลหมุนชา คือเครื่องยนตทเี่ พลาขอเหวีย่ งหมุนไมเกิน 500 รอบตอนาที
เครื่องยนตดีเซลหมุนปานกลาง เปนเครื่องยนตที่เพลาขอเหวี่ยงหมุนอยูระหวาง 500-
1000 รอบตอนาที
เครื่องยนตหมุนเร็ว หมายถึงเครื่องยนตที่เพลาขอเหวี่ยงหมุนเร็วกวา 1000 รอบตอ
นาที

คุณสมบัติของเครื่องยนตดีเซล
1. เปนเครื่องยนตที่ใชน้ํามันดีเซล หรือน้ํามันโซลาเปนเชือ้ เพลิง
2. อากาศบริสุทธิ์เทานั้นทีเ่ ขาไปภายในกระบอกสูบในจังหวะดูดของการทํางานของ
เครื่องยนต
3. ปมน้ํามันความดันสูง เปนความดันสูง เปนตัวทําใหน้ํามันเชื้อเพลิงความดันต่ํา
เปนน้ํามันความดันสูง
4. หัวฉีด เปนตัวฉีดใหน้ํามันพุงเขาไปภายในหองเผาไหมของกระบอกสูบเปนฝอย
ที่ละเอียดและรุนแรง
5. เปนเครื่องยนตที่ทําใหเกิดอัตราการอัดตัวของอากาศในกระบอกสูบ

ขอดีของเครื่องยนตดีเซล
1. เปนเครื่องยนตที่สามารถใชไดกับน้ํามันขนที่มีราคาถูกได
2. เครื่องยนตขนาดเทากัน เครื่องยนตดีเซลจะเปนเครือ่ งยนตที่ใหกาํ ลังมาที่
สูงกวา เนื่องจากเปนเครื่องที่ใหอัตราการอัดตัวของอากาศสูงกวา
3. ไมมีระบบจุดระเบิดของเครื่องยนตที่ประกอบดวยกระแสไฟฟา และมี
อุปกรณนอยชิ้น
4. การจุดระเบิดกอนเวลาหรือการชิงจุดของเชื้อระเบิดมีนอ ย และสามารถ
หลีกเลี่ยงได
5. เปนเครื่องยนตที่ใชน้ํามันเชื้อเพลิงไดอยางประหยัด และสามารถควบคุม
การใชน้ํามันไดอยางแนนอน
9

ขอเสียของเครื่องยนตดีเซล
1. เปนเครื่องยนตที่มีน้ําหนักตอกําลังมาสูง
2. เครื่องยนตมีราคาแพง เพราะตองออกแบบและสรางใหมีความแข็งแรงสูง
เนื่องจากเครื่องยนตใหกําลังมาสูง
3. การสั่นสะเทือนของเครื่องยนตสูง และมีเสียงดังมาก
4. อุปกรณในระบบน้ํามันเชื้อเพลิงของเครื่องยนตมีราคาสูง
5. เครื่องยนตติดยาก เมื่อเครื่องยนตสึกหรอหรือเครื่องยนตเสีย กําลังอัดลดลง
บาง หรือในฤดูที่อากาศหนาวเย็น

การใชน้ํามันไบโอดีเซลทดแทนน้ํามันดีเซล
ไบโอดีเซล เปนเชื้อเพลิงเหลวทีผ่ ลิตจากการนําน้ํามันพืช เชน ปาลม สบูดํา มะพราว
ทานตะวัน ถั่วเหลือง และไขมันสัตว เพื่อนํามาใชทดแทนน้ํามันดีเซล
น้ํามันไบโอดีเซลถูกนํามาทดลองใชในเครื่องยนตเปนผลสําเร็จครั้งแรกของโลก เมื่อ
วันที่ 10 สิงหาคม ค.ศ.1893 โดย "รูดอลฟ ดีเซล" (Rudolf C. Diesel : 1858 - 1913) วิศวกร
ชาวเยอรมัน ผูประดิษฐเครือ่ งยนตที่มีชื่อวา " ดีเซล " และไดจดสิทธิบตั รในปถัดมา
น้ํามันไบโอดีเซลที่มีการผลิตมีอยู 3 ประเภทดังนี้
1. ไบโอดีเซล ที่ใชน้ํามันของพืช หรือไขมันจากสัตวโดยตรง (straight vegetable oil)
เชน ใชน้ํามันมะพราว น้ํามันปาลม หรือ น้ํามันจากไขสัตว เชน น้ํามันหมู เปนตน ปอนลงไปใน
เครื่องยนตดีเซล โดยไมตองผสมหรือเติมสารเคมีอื่นใด อยางไรก็ตามสิ่งสําคัญของการใชนํา้ มัน
พืชโดยตรง คือ ตองมีการอุนน้ํามันในทุกจุดที่มีน้ํามันผานไดแก ถังน้ํามัน ทอทางเดินน้ํามัน ชุด
กรองน้ํามัน อุณหภูมิของน้ํามันที่อุนอยางนอย 70oC แนวทางในการนําน้ํามันพืชมาใชโดยตรง
เปนวิธีการที่ไดน้ํามันในราคาที่ถูกโดยเฉพาะอยางยิ่งการนําน้ํามันพืชซึ่งยังไมผานกระบวนการ
กลั่นมาใช แตการที่จะนํามาใชไดอยางเหมาะสมจําเปนตองอาศัยความรอนในการหลอมเหลว
ไขแข็ง และลดความหนืดของน้ํามัน เนื่องจากน้ํามันพืชมีความหนืดสูงกวาน้ํามันดีเซลประมาณ
11-17 เทา ทีอ่ ุณหภูมิต่ําน้ํามันพืชยิ่งมีความหนืดสูงขึ้นเปนลําดับจนเกิดเปนไข การที่น้ํามันพืช
มีความหนืดสูงกวาน้ํามันดีเซล ทําใหหัวฉีดน้ํามันฉีดน้ํามันใหเปนฝอยไดยาก เกิดเปนอุปสรรค
ตอการปอนน้ํามันเชื้อเพลิงเขาสูหองเผาไหม และเกิดการสันดาปไมสมบูรณ นอกจากนี้แลว
น้ํามันพืชมีคุณสมบัติที่ระเหยตัวกลายเปนไอไดชาและนอยมาก (slow/low volatility) ยิ่งทําให
เกิดการจุดระเบิดไดยาก เครื่องยนตติดยาก และหลงเหลือคราบเขมาเกาะที่หัวฉีด ผนังลูกสูบ
แหวนและวาลว จากคุณสมบัติที่น้ํามันพืชมีความหนืดสูงและระเหยตัวไดต่ํากวาน้ํามันดีเซลนี้
ทําใหเกิดความยุงยาก เมื่อใชน้ํามันพืชโดยตรงในเครือ่ งยนต
10

2. ไบโอดีเซลแบบผสม (veggie / kero mix) เปนการผสมน้ํามันพืช หรือน้ํามันจากสัตว


กับ “น้ํามันกาด” หรือ“น้ํามันดีเซล” เพื่อลดความหนืดของน้ํามันพืชลง เพื่อใหไดไบโอดีเซลที่มี
คุณสมบัติใกลเคียงกับ “น้ํามันดีเซล” ใหมากที่สุด เชน ไบโอดีเซลทีผ่ สมกับน้ํามันมะพราว
เรียกวา โคโคดีเซล (cocodiesel) ซึ่งอําเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธซึ่งเปนจุดกําเนิดไบ
โอดีเซล ในประเทศไทย อัตราสวนผสมระหวางน้ํามันกาดและน้ํามันพืชขึ้นอยูกบั อุณหภูมิของ
พื้นที่ใชงาน อัตราสวนผสมมีตั้งแต 10 % น้ํามันกาด 90 % น้ํามันพืช จนถึง 40 % น้ํามันกาด
60 % น้ํามันพืช อัตราสวนผสมที่เหมาะสมอยูที่ 20 % น้ํามันกาด 80 % น้ํามันพืช อยางไรก็
ตามหากตองการเพิ่มประสิทธิภาพในการใชน้ํามันพืชผสมน้ํามันกาด สามารถติดตั้งถังน้ํามัน
ดีเซลหรือน้ํามันไบโอดีเซลเพื่อใชในการสตารทเครื่องยนตและตอนกอนเลิกใชงานเครื่องยนต
ปจจุบันมีการนําวิธีดังกลาวไปใชงาน แตเนื่องจากราคาของน้ํามันกาดคอนขางสูงทําใหใช
ปริมาณของน้ํามันกาดนอยเกินไป ทําใหน้ํามันผสมที่ไดเมื่อนําไปใชจึงเกิดผลกระทบตอ
เครื่องยนตจากปญหาการเผาไหมไมสมบูรณของน้ํามันผสม นอกจากนี้เพื่อใชในเครื่องยนต
ดีเซลที่ไมมีการดัดแปลงเครื่องยนต จึงตองเลือกชนิดน้ํามันพืช ชนิดของตัวทําละลาย และ
สัดสวนผสมทีเ่ หมาะสมกับพื้นที่ และฤดูกาลที่ใช เพื่อใหเกิดความสะดวกในการใช และไมเกิด
ความยุงยากตางๆตามมา เชน การเกิดไขในทอสงน้ํามัน ทําใหเกิดการอุดตัน เปนตน
3. ไบโอดีเซลแบบเอสเทอร เปนความหมายของ ไบโอดีเซลที่แทจริงและเปนทีย่ อมรับ
ในสากล และมีการใชอยางทั่วไป เชน สหพันธรัฐเยอรมัน สหรัฐอเมริกา ไบโอดีเซลชนิดนี้ผลิต
ขึ้นจากการนําน้ํามันพืชหรือน้ํามันจากสัตวมาผานกระบวนการทางเคมีที่เรียกวากระบวนการ
ทรานเอสสเทอริฟเคชัน (transesterification process) โดยทําปฏิกิริยากับแอลกอฮอล เชน
เมทานอล หรือเอทานอล และมีดางเปนตัวเรงปฏิกิริยา จนเกิดเปนสารเอสเตอรทมี่ ีคุณสมบัติ
ใกลเคียงกับน้าํ มันดีเซลมากที่สุดทําใหไมมีปญหากับเครื่องยนต ไดน้ํามันที่มีความคงตัวมากขึน้
สามารถนําไปเติมในเครื่องยนตดีเซลไดทุกชนิด ทั้งเติมโดยตรงและผสมลงในน้ํามันดีเซลใน
อัตราสวนตางๆ เชน B5 หมายถึงการผสมไบโอดีเซลตอน้ํามันดีเซลในอัตราสวน 5:95 หรือ
B100 ซึ่งเปนน้ํามันไบโอดีเซล 100 % เปนตน แตปญหาคือ ตนทุนการผลิตมีราคาแพงกวาเมื่อ
เทียบกับไบโอดีเซลแบบอืน่ ๆ ปจจุบันราคาของน้ํามันไบโอดีเซลยังสูงกวาน้ํามันดีเซล 1-2
เทาตัว อยางไรก็ตามการนํามาใชกับเครื่องยนตมักจะนําน้ํามันดีเซลมาผสมดวย ซึ่งในปจจุบัน
ไดรับความนิยมเปนอยางมากเนื่องจากเปนน้ํามันที่มีราคาไมตางจากน้ํามันดีเซลมากนัก
นอกจากนี้เผาไหมไดอยางหมดจด ไมมีเขมาควันหลงเหลือใหเปนมลพิษตอสิ่งแวดลอม
เชื้อเพลิงชนิดนี้ มีความหนืดใกลเคียงกับน้ํามันดีเซล และมีความคงตัว ความหนืดเปลี่ยนแปลง
ไดนอยมากเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยน จุดวาบไฟของไบโอดีเซล มีคาสูงกวาน้ํามันดีเซล ทําใหมีความ
ปลอดภัยในการใชและการขนสง นอกจากนั้นแลว คาซีเทน ที่เปนดัชนีบอกถึงคุณภาพการติด
ไฟของไบโอดีเซล ยังมีคาสูงกวาน้ํามันดีเซล ดังแสดงในตารางที่ 1.1
11

ตารางที่ 1.1 คุณสมบัติของไบโอดีเซลเปรียบเทียบกับน้ํามันดีเซล


Fuel Property Diesel Biodiesel
Fuel Standard ASTM D975 ASTM D6751
Lower Heating Value, Btu/gal --129,050 --118,170
Kinematic Viscosity.@ 40°C 1.3-4.1 4.0-6.0
Specific Gravity kg/l @ 60°F 0.85 0.88
Density, lb/gal@ 15°C 7.079 7.328
Water and Sediment. vol% 0.05 max 0.05 max
Carbon. wt% 87 77
Hydrogen, wt% 13 12
Oxygen by dif. wt% 0 11
Sulfur. wt% 0.05 max 0.0 to 0.0024
Boiling Point. °C 180 to 340 315 to 350
Flash Point. °C 60 to 80 100 to 170
Cloud Point °C -15 to 5 -3 to 12
Pour Point, °C -35 to -15 -15 to 10
Cetane Number 40-55 48-65
Lubricity SLBOCLE, grams 2000-5000 >7000
Lubricity HFRR microns 300-600 <300

ขอแตกตางระหวางไบโอดีเซลกับน้ํามันดีเซล
1. จุดวาบไฟของน้ํามันดีเซลต่ํา ประมาณ 50 °C ในขณะที่จุดวาบไฟของน้ํามันไบโอ
ดีเซล ประมาณ 100 °C ขึ้นไป
2. น้ํามันดีเซลมีกํามะถันสูงแตน้ํามันไบโอดีเซลไมมี ผลตอการทํางานของเครื่องยนต
3. ไบโอดีเซลชวยหลอลื่นแทนกํามะถัน และลดฝุนละอองหรือควันดํา ที่เรียกวา
particulate matter ใหต่ําลง โดยไมทําใหเครื่องยนตอุดตันเพราะเผาไหมหมด

เครื่องยนตดีเซล 4 จังหวะ (4 cycle diesel engine)


เครื่องยนตแบบนี้ มีการทํางานแบงออกเปน 4 จังหวะ คือ จังหวะดูด จังหวะอัด
จังหวะระเบิด และจังหวะคาย การทํางานทั้ง 4 จังหวะของลูกสูบเทากับการหมุนของเพลาขอ
เหวี่ยง 2 รอบ
เครื่องยนตดีเซลมีหัวฉีดทีท่ ําหนาที่ฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงใหกระจายเปนฝอยเล็กๆ เขาไป
ในกระบอกสูบ เพื่อผสมกับอากาศที่ถูกอัดภายในกระบอกสูบที่มีความดันและอุณหภูมิสูง
พอเหมาะ และจะเกิดระเบิดเอง
การทํางานของเครื่องยนตดีเซล 4 จังหวะ มีดังนี้
12

1. จังหวะดูด (suction stroke) ลูกสูบจะเคลื่อนที่ลง ลิ้นไอดีจะเปด และลิ้นไอเสีย


จะปด ขณะที่ลูกสูบเคลื่อนที่ลงจะเกิดสุญญากาศภายในกระบอกสูบทําใหเกิดการดูดเอาอากาศ
เพียงอยางเดียวเขามาในกระบอกสูบ เมื่อลูกสูบเคลือ่ นที่ลงจนถึงจุดศูนยตายลาง ลิ้นไอดีจะ
ปดเพื่อปองกันไมใหอากาศหนีออกไป
2. จังหวะอัด (compression stroke) ลูกสูบเคลื่อนที่ขนึ้ ขณะที่ลิ้นไอดีและไอเสีย
ปดทําใหเกิดการอัดอากาศภายในกระบอกสูบจนกระทัง่ ลูกสูบเคลื่อนที่ถึงจุดศูนยตายบน
ปริมาตรของอากาศจะเหลือประมาณ 1/16 ของปริมาตรเดิมและอุณหภูมิจะสูงประมาณ 550
องศาเซลเซียส
3. จังหวะระเบิด (power stroke) เมื่อลูกสูบอยูที่ตําแหนงศูนยตายบน อากาศจะ
ถูกอัดเต็มที่และมีความรอนสูง หัวฉีดก็จะฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงเขาไปในกระบอกสูบทําใหเกิดการ
ระเบิด และผลักลูกสูบใหเคลื่อนที่ลง
4. จังหวะคาย (exhaust stroke) ลูกสูบจะเคลื่อนที่ขึ้น ลิน้ ไอดีจะปด แตลิ้นไอเสีย
จะเปด ทําใหอากาศเสียที่เกิดจากการเผาไหมถูกขับออก เมื่อสิ้นสุดจังหวะคายแลวลูกสูบก็จะ
เคลื่อนทีล่ งทําใหเกิดจังหวะดูดตอไป

รูปที่ 1.8 การทํางานของเครื่องยนตดีเซล 4 จังหวะ


13

เครื่องยนตดเี ซล 2 จังหวะ
เครื่องยนต 2 จังหวะ (cycle diesel engine) เปนเครือ่ งยนตแบบงาย การทํางานและ
ชิ้นสวนตางๆ ของเครื่องยนต 2 จังหวะ มีความยุงยากนอยกวาเครือ่ งยนตแบบ 4 จังหวะ การ
นําเอาอากาศดีเขาไปในกระบอกสูบและปลอยอากาศที่เกิดจากการเผาไหมออกจากกระบอกสูบ
เกิดขึ้นโดยการเปดและปดของลูกสูบเอง เครื่องยนตชนิดนี้จึงไมจําเปนตองมีลิ้นและกลไก
เกี่ยวกับลิ้น
ลักษณะของเครื่องยนต 2 จังหวะ มีดังนี้
1. อางน้ํามันเครื่องปดสนิท แตเครื่องยนตบางแบบมีชองใหอากาศหรือไอดีเขาเพื่อ
ผานขึ้นไปในกระบอกสูบ
2. ไมมีเครื่องกลไกของลิ้น ลูกสูบจะทําหนาที่เปนลิ้นเอง
3. กระบอกสูบอยูในลักษณะตัง้ ตรง
4. มีชองไอดี (inlet port) เปนทางใหอากาศเขาไปภายในกระบอกสูบ โดยอาจจะมี
เครื่องเปาอากาศชวยเปาเขาไป
5. มีชองไอเสีย (exhaust port) เปนทางใหอากาศเสียที่เกิดจากการเผาไหมออกไป
จากกระบอกสูบ

การทํางานของเครื่องยนต 2 จังหวะ มีดังนี้


1. จังหวะคายและดูด ลูกสูบจะเคลื่อนที่จากจุดศูนยตายบนลงมาเรื่อยๆ จนผานชอง
ไอเสีย ไอเสียก็จะผานออกไปทางชองนี้เมื่อลูกสูบเคลื่อนตอไปอีกเล็กนอย ชองไอ
ดีก็จะเปดใหอากาศเขาไปในกระบอกสูบและไลไอเสียออกไปจนหมดสิ้น ลูกสูบจะ
เคลื่อนลงจนถึงจุดศูนยตายลาง
2. จังหวะอัดและระเบิด ลูกสูบจะเคลื่อนจากศูนยตายลางขึ้นไปเรื่อยๆ จนปดชองไอดี
และชองไอเสียตามลําดับ พรอมกับอัดอากาศไปดวยเมื่อลูกสูบเคลื่อนเขาใกลจุด
ศูนยตายบน หัวฉีดก็จะทําการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงใหแตกเปนฝอยเล็กๆ เขาไป
กระทบกับอากาศที่ถูกอัดจนรอน ทําใหเกิดการเผาไหมและระเบิดดันลูกสูบให
ทํางาน ในขณะเดียวกันไอเสียก็จะมีความดันสูงดวย เมื่อลูกสูบเคลื่อนที่ลงมาเปด
ชองไอดี อากาศก็จะเขามาและทําการขับไลไอเสียออกไปทางชองไอเสียเหลือไว
เพียงแตไอดีในหองเผาไหม
14

รูปที่ 1.9 การทํางานของเครื่องยนตดีเซล 2 จังหวะ

จะเห็นไดวา เมื่อเครื่องยนตทํางานครบ 2 จังหวะ เพลาขอเหวี่ยงจะหมุนไปไดหนึ่งรอบ

สัดสวนความอัด
เมื่อลูกสูบอยูท ี่ตําแหนงศูนยตายลางในจังหวะดูด ภายในกระบอกสูบจะมีปริมาตรที่
บรรจุสวนผสมน้ํามัน และอากาศหรืออากาศเพียงอยางเดียว เมื่อลูกสูบเคลื่อนที่ขนึ้ ในจังหวะอัด
ปริมาตรนี้จะถูกอัดใหลดลงตรงสวนของลูกสูบ เมื่อลูกสูบเคลื่อนทีถ่ ึงจุดศูนยตายบนปริมาตรจะ
มีขนาดเล็กทีส่ ุด บริเวณทีม่ ีปริมาตรเล็กนี้ถูกเรียกวาหองเผาไหม
สัดสวนความอัด (compression ratio) คืออัตราสวนระหวางปริมาตรภายในกระบอกสูบ
เมื่อลูกสูบอยูท ี่จุดศูนยตายลางกับปริมาตรภายในกระบอกสูบ เมื่อลูกสูบอยูที่ศูนยตายบน
สัดสวนความอัดของเครื่องยนตมีความสําคัญมากเพราะมีความสัมพันธกับชนิดและ
คุณภาพของน้ํามันเชื้อเพลิงที่จะนําไปใช สําหรับเครือ่ งยนตดีเซลนั้น น้ํามันเชื้อเพลิงจะถูกฉีด
เขาไปในกระบอกสูบหลังจากที่อากาศถูกอัดแลว สัดสวนความอัดอยูระหวาง 18:1 ถึง 22:1

ระบบระบายความรอน
พลังงานความรอนถูกเปลีย่ นเปนพลังบานกลเพื่อนําไปใชงานนั้น เกิดจากการเผาไหม
ภายในเครื่องยนต ความรอนที่เกิดจากาการเผาไหมนี้มีมากแตถูกเปลี่ยนเปนพลังงานกลนอย
ความรอนสวนใหญจะสูญเสียไปโดยการถายเทความรอนไปที่เสื้อสูบ ฝาสูบ ลูกสูบ และลิ้น
ดังนั้น ถาหากชิ้นสวนตางๆ เหลานี้ไมไดรับการระบายความรอนทีด่ ี และเพียงพอแลวจะทําให
เครื่องยนตไดรับความเสียหายและกอใหเกิดอันตรายได การระบายความรอนในเครื่องยนตจึงมี
ความสําคัญเพราะถาหากวามีการระบายความรอนนอยเกินไปเครื่องยนตจะรอนมาก ชิ้นสวน
ตางๆ อาจจะชํารุดแตกเสียหาย ลูกสูบและลิ้นอาจจะไหม เครื่องยนตอาจจะเกิดการนอค และ
ระบบหลอลื่นจะทํางานไดไมดี แตถาหากมีการระบายความรอนมากเกินไป เครื่องยนตจะเย็น
ทําใหส้นิ เปลืองน้ํามันเชื้อเพลิง
15

การระบายความรอนแบงออกไดเปน 2 ระบบ
1. ระบบระบายความรอนดวยอากาศ
2. ระบบระบายความรอนดวยของเหลว
การระบายความรอนดวยอากาศ (air cooling system) สวนใหญจะใชกับเครื่องยนต
ขนาดเล็กสูบเดียว โดยการใชอากาศที่ผานเครื่องยนตเปนตัวรับความรอนทีร่ ะบายจาก
เครื่องยนต เสื้อสูบและฝาสูบจะออกแบบใหมีลักษณะเปนครีบเพื่อเพิ่มพื้นที่สําหรับการระบาย
ความรอนใหกับอากาศ โดยอาจจะมีพัดลมติดอยูตรงลอชวยแรง และมีแผนโลหะทําเปนกระบัง
ลมบังคับทิศทางลม ใหผานบริเวณตัวเครือ่ งเพื่อทําใหการระบายความรอนดีขึ้น
ระบบระบายความรอนดวยของเหลว (liquid cooling system) สวนใหญอาศัยน้ํารับ
ความรอนที่ระบายออกจากเครื่องยนตและใชอากาศรับความรอนจากน้ํา ทําใหน้ําเย็นลงแลวให
น้ําเย็นนั้นไหลกลับไปรับความรอนจากเครื่องใหม ระบบระบายความรอนดวยของเหลวนี้
สามารถควบคุมอุณหภูมิของเครื่องยนตไดดีกวา และชวยใหเครื่องยนตเย็นเร็วกวาระบบระบาย
ความรอนดวยอากาศ
ระบบระบายความรอนดวยน้ําในเครื่องยนตประกอบดวยสวนตาง ๆ ดังนี้
1. หมอน้ําหรือรังผึ้ง (radiator) ทําหนาทีถ่ ายเทความรอนจากน้ําใหอากาศดวย
การรับน้ําที่มคี วามรอนจากเสื้อสูบ และทําใหเย็นลงโดยใหอากาศที่พัดผานรับเอาความรอน
จากน้ําในหมอน้ําไป หมอน้ําประกอบดวยหมอน้ําสวนบนและหมอน้ําสวนลาง ระหวางหมอน้ํา
สวนบนและสวนลาง จะมีทอน้ําเล็กๆ หลายทอเชือ่ มอยู ทําใหน้ําแยกไหลไปตามทอ ตรง
บริเวณทอน้ําเล็กๆ เหลานีจ้ ะมีโลหะเชื่อมติดเปนครีบ มีลักษณะคลายรังผึ้งเพื่อใหเกิดพื้นที่ผวิ
สําหรับระบายความรอนไดมาก โดยความรอนของน้ําจะถายเทความรอนใหกับอากาศทีพ่ ัด
ผาน
2. ปมน้ํา (water pump) ปมน้ําสวนใหญจะเปนปมแบบหอยโขง ติดตั้งอยูบน
บริเวณหนาของเสื้อสูบและรับกําลังหมุนมาจากสายพาน ปมจะดูดน้ําจากหมอน้ําสวนลางผาน
เขาตัวปมของทอน้ําขางลาง และไหลออกจากปมเขาหมุนเวียนอยูในชองวางภายในเสื้อสูบและ
ฝาสูบเพื่อรับความรอนจากสวนตางๆ น้ําที่ไดรับความรอนแลวจะไหลออกจากเสื้อสูบทางทอ
น้ําขางบนผานลิ้นควบคุมอุณหภูมิน้ําเขาไปยังหมอน้ําสวนบน จากนั้นก็ไหลผานบริเวณรังผึ้ง
เพื่อถายเทความรอนใหแกอากาศตอไป
16

รูปที่ 1.10 การระบายความรอนดวยอากาศ

1. ชองน้ําไหล 2. ทางผาน 3. ลิ้นควบคุมอุณหภูมิ


4. ฝาหมอน้ํา 5. ลมเย็น 6. หมอน้ํา
7. ทอน้ํา 8. สายพาน 9. ปมน้ํา

รูปที่ 1.11 การระบายความรอนดวยของเหลว (น้ํา)

3. ทางน้ําไหลในตัวเครื่องยนต (water passage) ชองวางที่อยูภายในเนื้อโลหะที่


ใชทําเปนเสื้อสูบและฝาสูบ ใชเปนทางใหน้ําไหผานเพื่อระบายความรอนออกจากเครื่องยนต
ทางน้ําไหลนี้จะมีรอบกระบอกสูบ และตลอดความยาวชวงชักของลูกสูบเพื่อเปนการปองกันการ
ขยายตัวไมเทากันของกระบอกสูบ
17

4. ลิ้นควบคุมอุณหภูมิของน้ํา (thermostat) จะติดตั้งไวตรงทอน้ําทีไ่ หลเขาหมอ


น้ําสวนบน ลิ้นควบคุมอุณหภูมิของน้ํานี้จะเปดและปดโดยอัตโนมัติดวยความรอนที่มีในน้ําที่
ไหลผาน โดยปกติลิ้นนี้จะปดและไมยอมใหน้ําไหลผานออกไปจากเสื้อสูบไดถาอุณหภูมิของน้ํา
ยังไมรอนถึงจุดที่กําหนดใหเปด น้ําก็จะไหลวนเวียน และรับความรอนเพิ่มจากภายในเสื้อสูบ
และฝาเสื้อสูบจนกระทั่งความรอนของน้ํานั้นสูงถึงอุณหภูมิที่กําหนด ลิ้นควบคุมอุณหภูมินี้ก็จะ
เปดใหน้ําไหลผานเขาสูหมอน้ํา และคายความรอนใหกับอากาศ อุณหภูมิของน้ําที่กําหนดใหลิ้น
ควบคุมอุณหภูมิเปดจะอยูประมาณ 65 องศาเซลเซียส
5. พัดลม (fan) เมื่อน้ําซึ่งรอนไหลผานบริเวณรังผึ้ง พัดลมที่อยูหลังหมอน้ําก็จะ
ทําหนาที่เปาลมใหพัดผานหมอน้ํา และพาเอาความรอนจากน้ําออกไป ตอจากนั้นก็จะไหลลงสู
หมอน้ําสวนลางและไหลเวียนตอไป

ระบบหลอลืน่
การหลอลื่นเปนสิ่งสําคัญสําหรับการทํางานของเครื่องยนตเนื่องจากภายในเครื่องยนตมี
ชิ้นสวนทีเ่ คลือ่ นไหวและเสียดสีกันมาก แมวาผิวหนาของชิ้นสวนทีเ่ กิดการเสียขดสีระเรียบ แต
เมื่อเสียดสีกันจะทําใหเกิดความรอน ชิ้นสวนทั้งสองอาจจะหลอมติดกัน ทําใหเกิดความ
เสียหายตอเครื่องยนตได การหลอลื่นจึงมีหนาที่สําคัญคือลดการเสียดสีของชิ้นสวนตางๆ และ
ลดการสูญเสียกําลังเนื่องจากการเสียดสี นอกจากนั้น ยังชวยระบายความรอน อุดการรั่วซึม ลด
ความดังของเสียง และทําความสะอาดชิ้นสวนตางๆ
การแบงชนิดของน้ํามันหลอลื่นถือเอาคาความหนืดเปนหลัก โดยทางสมาคมวิศวกรรม
ยานยนตเปนผูกําหนด โดยเรียกชนิดของน้ํามันเปนคาของ เอส เอ อี เชน น้ํามันหลอลื่น เอส
เอ อี เบอร 30 ซึ่งแสดงถึงความขนหรือใสของน้ํามันเทานั้น มิไดบอกถึงคุณภาพหรือสภาพของ
งานที่ใชกับน้าํ มันชนิดนี้
น้ํามันหลอลื่นที่ใชกับเครื่องสวนใหญจะเปนน้ํามัน เอส เอ อี เบอร 10 ถึง 40 สวน
น้ํามันหลอลื่นที่ใชกับเกียรและเฟองทายจะเปนน้ํามัน เอส เอ อี เบอร 50 ถึง 140
ระบบหลอลื่นในเครื่องยนต สามารถแบงออกไดเปน 2 ระบบคือ
1. ระบบวิดสาด
2. ระบบใชแรงฉีด
ระบบวิดสาดเปนระบบหลอลื่นที่งายและใชมากในเครื่องยนตสูบเดียวที่มีการระบาย
ความรอนดวยอากาศ น้ํามันหลอลื่นที่อยูในหองน้ํามันเครื่องจะถูกปมดูดสงน้ํามันจากหอง
น้ํามันเครื่องไปยังอางน้ํามันเครื่องซึ่งอยูใตกานสูบที่ปลายกานสูบจะมีเหล็กวิดสาด (Dipper) จุม
ลงในอางน้ํามันเครื่องและวิดเอาน้ํามันเครื่องสาดไปทั่วชิ้นสวนตางๆ ของเครื่องยนต
ระบบใชแรงฉีด ใชกันมากสําหรับเครื่องยนตของรถแทรกเตอรและรถยนต ซึ่งมีความ
ยุงยากและซับซอนกวาแบวิดสาด แตทําการหลอลื่นดีกวา
18

รูปที่ 1.12 ระบบวิดสาด

1 เพลาลูกเบี้ยว
2 ทอทางเดินน้ํา
3 สลักลูกสูบ
4 ทอทางเดินน้ํามันหลัก
5 ปมน้ําและหมอกรอง
6 เพลาขอเหวี่ยง

รูปที่ 1.13 ระบบใชแรงฉีด

ระบบหลอลื่นแบบใชแรงฉีดประกอบดวยสวนตางๆ ดังนี้
1. เครื่องกรองน้ํามันกอนเขาปม
2. ปม
3. ลิ้นควบคุมความดัน
4. หมอกรองน้ํามันเครื่อง
5. เครื่องวัดความดันน้ํามันเครื่อง
เมื่อเครื่องยนตทํางาน เพลาลูกเบี้ยวจะขับใหปมหมุนและดูดน้ํามันหลอลื่นขึ้นมาจาก
อางน้ํามัน ผานเครื่องกรองเพื่อแยกเอาสิ่งสกปรกและเศษโลหะขนาดใหญออก แตเนื่องจาก
ความเร็วของปมขึ้นอยูกับความเร็วของเครื่องยนต ดังนั้น ความดันในน้ํามันเนื่องจากการดูด
ของปมจึงเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เมื่อความดันของน้ํามันมากเกินไปลิ้นควบคุมความดันน้ํามัน
ก็จะเปดและปลอยใหน้ํามันบางสวนไหลกลับเขาหองน้ํามันเพื่อกรองสิ่งสกปรกเล็กๆ หรือเศษ
19

เขมาทําใหน้ํามันสะอาด หลังจากนั้นน้ํามันก็จะถูกสงขึ้นไปหลอลื่นที่ประกับเพลาขอเหวีย่ ง
กานลูกสูบเพลาลูกเบี้ยว เฟองตางๆ สลักลูกสูบและชิน้ สวนอื่นๆ

ระบบน้ํามันเชื้อเพลิงของเครื่องยนตดเี ซล
ระบบน้ํามันเชื้อเพลิง (fuel system) ทําหนาที่สงน้ํามันเชื้อเพลิงเขาไปในกระบอกสูบ
และจุดระเบิด เครื่องยนตดีเซลจะไมดูดน้ํามันเชื้อเพลิงเขาไปในกระบอกสูบ แตจะดูดเฉพาะ
อากาศอยางเดียว สวนน้ํามันเชื่อเพลิงนั้นจะถูกฉีดเขาไปในกระบอกหลังจากที่อากาศภายในถูก
อัดจนกระทั่งมีความดันและความรอนสูง เครื่องยนตดีเซลจึงจําเปนตองมีปมหัวฉีด และหัวฉีด
ทําหนาที่สงน้ํามันเชื่อเพลิงเขาไปในกระบอกสูบ สําหรับสวนประกอบของระบบน้ํามันเชื่อเพลิง
ที่สําคัญมีดังนี้
1. ปมสงน้ํามัน (delivery pump) ทําหนาที่สงน้ํามันเชือ่ เพลิงไปยังหมอกรองน้ํามัน
เชื้อเพลิงและปมหัวฉีดตลอดเวลาดวยความดันที่สม่ําเสมอ ปมสงน้ํามันทํางานโดย
การหมุนของเพลาลูกเบี้ยวของปมหัวฉีด ปมสงน้ํามันจะมีปมมืออยูดวย สําหรับ
ทําการไลลมจากวงจรไหลของน้ํามันเชื้อเพลิงในกรณีมีอากาศปะปนอยู

1 ถังน้ํามัน 2 ปมสงน้ํามัน 3 กรองหยาบ 4 หมอกรอง


5 ทอน้ํามันเขาปมหัวฉีด 6 ปมหัวฉีด 7 ราวกลางน้ํามัน 8 ลิ้นสง
9 ทอหัวฉีด 10 หัวฉีด 11 ทอน้ํามันกลับ 12 โกเวอรเนอร
13 ทอสุญญากาศ 14 คันเรง 15 ปมมือ 16 คันปรับไอเดิ้ล

รูปที่ 1.14 ระบบวงจรปมหัวฉีด


20

2. หมอกรองน้ํามันเชื้อเพลิง (fuel strainer) มีหนาที่กรองฝุนหรือสิ่งสกปรกออกจาก


น้ํามันเชื้อเพลิงเพื่อไมใหเขาไปในปมหัวฉีดและหัวฉีด เพราะจะทําใหหัวฉีดอุดตัน
ได สําหรับไสกรองนั้นก็ควรจะตองเปลีย่ นใสกรองใหมแลวจึงเติมน้าํ มันเชื้อเพลิงให
เต็มหมอกรองกอนที่จะใชปม มือปมน้ํามันเขาไปในหมอกรองไลลมออกใหหมด
3. ปมหัวฉีด (injector pump) เปนปมน้ํามันแรงดันสูงที่มีความสําคัญมากใน
เครื่องยนตดีเซล สวนใหญจะเปนปมแบบลูกหมุนซึ่งทํางานไดโดยการหมุนของ
เพลาลูกเบี้ยว ปมหัวฉีดโดยมากมักจะมีกาวานา (governor) อยูดวย เพื่อควบคุม
ความเร็วรอบของเครื่องยนต กาวานาอาจจะเปนแบบลูกตุม (Weight) หรือแบบใช
ลมดูดก็ได
4. หัวฉีด (injector) คืออุปกรณที่ทําหนาที่ใหน้ํามันที่มีแรงดันสูงแตกกระจายเปน
ละอองเล็กๆ แลวสงเขาไปในกระบอกสูบในจังหวะอัดสูงสุด หรือกอนเล็กนอย เพื่อ
ทําใหเกิดการเผาไหมขึ้นภายในกระบอกสูบ
การเก็บรักษาน้ํามันเชื้อเพลิงเปนสิ่งสําคัญมาก ถาหากน้ํามันเชื้อเพลิงไมสะอาดมีสิ่ง
สกปรกและน้าํ ผสมอยู จะทําใหเกิดสนอมภายในระบบฉีดน้ํามันได และหัวฉีดจะอุดตัน ทําให
สิ้นเปลืองคาใชจายในการบํารุงรักษาและซอมแซม การเก็บรักษาน้ํามันเชื้อเพลิง มีขอที่ควรจะ
คํานึงอยู 4 ประการคือ คุณภาพของน้ํามัน ความปลอดภัย ความสะดวก และลงทุนนอย
ภาชนะที่จะใชสําหรับเก็บรักษาน้ํามันเชื้อเพลิงควรจะมีลกั ษณะดังนี้
1. ไมควรทําดวยสังกะสี เพราะจะทําปฏิกิริยากับน้ํามันเชือ้ เพลิง
2. ควรวางอยูในตําแหนงที่สูงเพื่อความสะดวกในการเติมน้ํามันใหกับรถ
3. ควรวางเอียงไปดานหลังเล็กนอย เพื่อใหตะกอนไหลไปรวมกันตรงรูถาย
ตะกอน
4. ควรมีหมอกรองตรงทางออกของน้ํามัน

หมอกรองอากาศ (air cleaner)


รถแทรกเตอรที่ใชในการเกษตรมักจะเจอปญหาเกี่ยวกับอากาศที่มีฝนุ มาก จึงจําเปนที่
จะตองใชหมอกรองอากาศที่มีประสิทธิภาพดี สามารถกรองเอาฝุนละอองออกไดหมด เพราะ
มิฉะนั้นจะทําใหเครื่องยนตสกึ หรอเร็ว รถแทรกเตอรสวนใหญจะใชหมอกรองอากาศแบบน้ํามัน
(oil bath type) ดังแสดงในรูป ตรงทางเขาของอากาศจะมีอุปกรณกรองอากาศลวงหนา (pre-
cleaner) ทําหนาที่กรองเอาฝุนหรือละอองขนาดใหญออกจากอากาศ กอนที่จะผานเขาไปในขั้น
ของหมอกรองอีกครั้งหนึ่ง ทําใหกรองอากาศไดสะอาดขึ้น น้ํามันที่ใชกับหมอกรองชนิดนี้สวน
ใหญจะเปนน้าํ มันเบอรเดียวกับน้ํามันเครื่อง
21

รูปที่ 1.15 หมอกรองอากาศ

ระบบถายทอดกําลัง
เครื่องยนตจะถายทอดกําลัง (รูปที่ 1.16) ไปยังลอ เพลาอํานวยกําลัง ปมไฮดรอลิค
และอื่นๆ เพื่อกอใหเกิดประโยชน สําหรับสวนประกอบที่สําคัญของระบบนี้มีดังนี้

คลัช
คลัชในรถแทรกเตอรประกอบดวยคลัชขับเคลื่อนและคลัชเพลาอํานวยกําลัง คลัช
ขับเคลื่อนซึ่งทําหนาที่ตัดและตอการสงกําลังจากเครื่องยนตไปขับลอใหรถแทรกเตอรเคลื่อนที่
คลัชเพลาอํานวยกําลังทําหนาที่ตัดและตอการสงกําลังจากเครื่องยนตไปหมุนเพลาอํานวย
กําลัง เพื่อสงกําลังออกไปใชงานภายนอกรถแทรกเตอร

ระบบเกียร
เกียรคือสวนที่ทําหนาที่แบงขั้นความเร็ว และเพิ่มกําลังฉุดลากของลอรถแทรกเตอร
โดยปกติถาใชเฟองเกียรทมี่ ีอัตราการทดรอบสูง ความเร็วรอบของลอจะต่ําแตมีกําลังฉุดลาก
สูง ในทางตรงกันขาม ถาตองการใหรถแทรกเตอรวิ่งเร็วที่สุด ก็ตองใชเฟองเกียรทใ่ี หอัตราการ
ทดรอบต่ําหรือไมตองมีการทดรอบเลย เครื่องยนตหมุนดวยความเร็วเทาไร ลอก็หมุนดวย
ความเร็วเทานั้น ซึ่งในกรณีเชนนี้ในรถแทรกเตอรไมมีความเร็วสูงถึงขั้นนี้ อยางไรก็ตามเมื่อ
ลอหมุนดวยความเร็วสูงกําลังฉุดลากก็จะต่ํา
22

(ก) เฟองขับเพลาลออยูใกลเฟองทาย

(ข) เฟองขับเพลาลออยูใกลลอ

(ค) รถแทรกเตอรขับเคลื่อน 4 ลอ

รูปที่ 1.16 ระบบถายทอดกําลังของแทรกเตอร


23

ก. ลักษณะและการทํางานของคลัชแบบรวมหนึ่งจังหวะ

ข. ลักษณะและการทํางานของคลัชแบบรวมสองจังหวะ
รูปที่ 1.17 คลัชแบบตางๆ
24

รูปที่ 1.18 ระบบเกียรแบบเลื่อนขบ

รูปที่ 1.19 ระบบเกียรขบอยูกับที่

เฟองทาย
เฟองทาย (รูปที่ 1.20) เปนตัวทําใหการหมุนของลอหลังทั้งสองขางมีความเร็วรอบ
ตางกันเมื่อเลีย้ วรถ โดยที่ลอ ดานนอกจะหมุนมากกวาหรือเร็วกวาลอดานใน
เมื่อรถแทรกเตอรวงิ่ ตรง แรงตานทานของดินที่กระทําตอลอทั้งสองขางเกือบเทากัน
ในขณะเลี้ยว แรงตานทานของดินที่ลอดานในจะมากกวาดานนอก บางครั้งแมรถแทรกเตอรจะ
วิ่งในทางตรง เฟองทายอาจจะถายทอดกําลังใหกับลอขางใดขางหนึ่งมากกวา เชน ในกรณีที่
ลอขางหนึ่งลื่นหรือหมุนฟรี หรือติดหลม ดังนั้นจึงตองอาศัยการล็อคเฟองทาย
ระบบล็อคเฟองทาย จะทําใหลอทั้งสองขางหมุนไปพรอมๆกัน ไมใหลอขางใดขางหนึ่ง
หมุนฟรี
ขอดีของการล็อคเฟองทายคือ ทําใหรถแทรกเตอรสามารถวิ่งไดดีขึ้น ทั้งบนพื้นดิน
ทราย ดินออน และดินโคลน นอกจากนั้นยังทําใหวิ่งตรงและมีสมรรถนะในการขับเคลื่อนดีขนึ้
25

เชน ในการไถซึ่งจําเปนตองใหลอทั้งสองขางหมุนดวยความเร็วเทากัน ในขณะที่ลอขางหนึ่งอยู


ในรองไถเพื่อใหงานไถสม่ําเสมอ

รูปที่ 1.20 ลักษณะและสวนประกอบของเฟองทายและเฟองขับลอ

เฟองขับลอ
รถแทรกเตอรตองการอัตราการทดสูงจากเครื่องยนตไปยังลอหลังสําหรับการใชงานหนัก
อัตราการทดของรถแทรกเตอรนอกจากจะอาศัยการทดรอบของเฟองบายศรี และเฟองเดือยหมูใน
ระบบเฟองทายแลว ยังเพิม่ อัตราทดใหสูงขึ้น โดยเพิ่มเฟองทดอีกอีก 1 ชุด ระหวางเฟองทายกับ
เฟองขับลอ

เพลาอํานวยกําลัง
รถแทรกเตอรสวนใหญจะมีเพลาอํานวยกําลัง (รูปที่ 1.21) สําหรับขับอุปกรณซึ่งจะอยูดาน
ทายของรถแทรกเตอร แตรถแทรกเตอรบางแบบอาจจะมีเพลาอํานวยกําลังเสริมที่ตรงกลาง หรือ
ทางดานหนาตัวรถ
เพลาอํานวยกําลังมี 2 ระบบ ระบบแรกนั้นการหมุนของเพลาอํานวยกําลังจะแยกอิสระจาก
ชุดเกียรหลัก เรียกวาเพลาอํานวยกําลังอิสระ เพลาอํานวยกําลังแบบนี้ใชขับเครื่องตัดหญาเปนสวน
ใหญ และอีกระบบนั้นการหมุนของเพลาอํานวยกําลังจะเปนสัดสวนกับการหมุนของลอขับเคลือ่ น ซึ่ง
ขึ้นอยูกับชุดเกียรหลักเรียกวา เพลาอํานวยกําลังสัมพันธกับความเร็วรถ ซึ่งนิยมใชกับเครื่องหยอด
เมล็ด
26

รูปที่ 1.21 กลไกการทํางานของเพลาอํานวยกําลัง


ก. รถแทรกเตอรที่มีเพลาอํานวยกําลังแบบอิสระ
ข. รถแทรกเตอรที่มีเพลาอํานวยกําลังแบบอิสระและ
มีเพลาอํานวยกําลังแบบขึ้นกับความเร็วขับเคลื่อน

ลอ
ลอของรถแทรกเตอรที่ใชในการเกษตรเปนลอยาง ลอหนา มี ดอกยางเปนวงกลมเพื่อทําให
การเลี้ยวรถสะดวก ไมลื่นไถลออกดานขาง ลอหลัง เปนลอขับเคลือ่ นที่มีดอกยางใหญซึ่งเอียงทํามุม
กับแนวการเคลื่อนที่ของรถ เพื่อทําใหยึดเกาะดินไดมั่นคง เกิดแรงฉุดลากสูง
ดอกยางทําดวยยาง สวนในทําดวยผาวางเปนชั้นๆ เรียงซอนกันเพื่อทําใหยางมีความ
แข็งแรง ทนทานตอการกระแทก สําหรับขอบยางดานติดกับกระทะลอมีเสนลวดสปริงฝงอยูเปน
วงกลมตลอดวงลอ เพื่อเสริมความแข็งแรง
ขนาดของยางจะระบุเปนตัวเลข เชน 7.50 - 16 เปนขนาดยางที่ใชกับลอหนาของรถ
แทรกเตอร รถพวง โดยที่ตัวเลขตัวแรกหมายถึงความกวางของหนายาง ตัวเลขตัวที่สองคือ
เสนผาศูนยกลางของลอหรือกระทะลอ ตัวเลขเหลานี้มหี นวยเปนนิว้ สําหรับลอหลังนั้นสวนใหญมักจะ
เขียนเปนตัวเลขและตัวอักษร เชน 18.4/15-30 4 PR ซึ่งหมายความวาความกวางของหนายาง
เทากับ 18.4 นิ้ว สามารถใชแทนยางขนาดความกวาง 15 นิ้วได โดยที่ขนาดเสนผาศูนยกลางของลอ
ก็คือ 30 นิ้ว และมีชั้นผาใบ 4 ชั้น สําหรับชั้นผาใบนีถ้ ายิ่งมีมากยางยิ่งมีความแข็งแรงและรับน้ําหนัก
ไดมากขึ้น สวนแรงดันมาตรฐานนั้นจะขึน้ อยูกับขนาดและจํานวนผาใบ ดังที่ปรากฏในตารางที่ 1.2
27

ตารางที่ 1.2 น้ําหนักที่ยางสามารถรับได


แรงดันลม (ปอนด/ตารางนิ้ว)
ขนาดยาง ชั้นผาใบ
14 16 18 20 22 24 28
น้ําหนักที่รับได (กิโลกรัม)
12.4/11-36 4 1348 1135 1440
6 1220 1301 1374

18.4/15-30 6 1965 2120


8 2268 2415
10 2554 2685 2815

รถแทรกเตอรสวนมากสามารถปรับชวงลอหรือระยะหางระหวางลอ 2 ขาง ไดหลาย


ระยะ เพื่อความสะดวกในการใชงาน เชน ไถ พรวน เปนตน การปรับชวงลอทําไดโดยการ
คลายนอตล็อค และเลื่อนคานหนาออกตามความตองการ ทั้งนี้จะตองปรับระยะคันสงดวย สวน
ชวงลอหลังนัน้ ปรับไดโดยการกลับดานกระทะลอ และเลื่อนตําแหนงของดุมลอตามแนวเพลา

รูปที่ 1.22 ลักษณะและสวนประกอบของยาง


28

รูปที่ 1.23 กลไกการทํางานของระบบบังคับเลีย้ ว

ระบบบังคับเลี้ยว
ระบบบังคับเลีย้ วทําหนาที่ควบคุมใหรถแทรกเตอรเคลือ่ นที่ไปทางซายหรือทางขวา
ตามความตองการ
รูปที่ 1.23 แสดงการหมุนพวงมาลัยของรถแทรกเตอรไปตามทิศทางของลูกศร ทํา
ชิ้นสวนตางๆ เคลื่อนที่ดังตอไปนี้ เฟองของกระปุกพวงมาลัยจะทําใหแขนตอ คันชักคันสงตัว
บน แขนบังคับเลี้ยว คันชักคันสงตัวลางเคลื่อนที่ตามทิศทางของลูกศรไปดวย
ดังนั้นทิศทางการเลี้ยวจึงขึน้ อยูกับระยะทางการหมุนและทิศทางการหมุนของ
พวงมาลัย

ระบบเบรก
รถแทรกเตอรมีเบรกเฉพาะ 2 ลอหลัง โดยที่กลไกเบรกทั้งสองแยกกันอยางอิสระ ถา
เบรกขางซายลอหลังซายจะหยุด ถาเบรกขางขวาลอหลังขวาจะหยุด ทั้งนี้เพื่ออํานวยความ
สะดวกในการเลี้ยววงแคบในขณะทํางานได อยางไรก็ตามเมื่อขับรถแทรกเตอรบนถนนก็
สามารถล็อคใหเบรกทั้งสองขางทํางานพรอมกันได เพื่อปองกันรถหมุนกลับพลิกคว่ําขณะที่ใช
ความเร็วสูง
นอกจากนั้น รถแทรกเตอรยังมีเบรกมือ หรือเบรกขณะจอดโดยอาจจะเปนแบบล็อค
คันเหยียบเบรกขณะจอด
ถากลไกเบรกของรถแทรกเตอรที่ใชระบบเฟองขับลอเพื่อเพิ่มอัตราทดและแรงบิด
มักจะอยูที่เพลาขับลอที่ตออกจากเฟองทาย เนื่องจากเพลานี้มีแรงบิดคอนขางต่าํ
29

เบรกของรถแทรกเตอรแบงออกเปน 3 ชนิด ดังนี้


1. ชนิดขยายออก ลักษณะของเบรกชนิดนี้ (รูปที่ 1.24) มีสวนประกอบที่
สําคัญคือจานเบรก ผาเบรก สปริงดึงผาเบรก ลูกเบี้ยว (หรือกระบอกไฮดรอลิค) และสกรู
สปริง เมื่อเหยียบเบรกกานตอจะหมุนลูกเบี้ยวทําใหฝกเบรกทั้งสองขางถางออก ผาเบรกจะ
กดลงบนจานเบรกดานในทําใหเพลาลอหยุดหมุน ในทางตรงขามเมื่อปลอยเบรก สปริงจะดึง
ฝกทั้งสองเขาหากันทําใหเกิดชองวางระหวางฝกเบรกและจานเบรก ลอก็หมุนไดตามปกติ
2. ชนิดรัดเขา เบรกชนิดนี้ (รูปที่ 1.25) มีสวนประกอบที่สําคัญคือจานเบรก
กานตอ เข็มขัดเบรกและสปริง เมื่อเหยียบเบรกกานตอจะถูกดึงไปขางหนาทําใหเข็มขัดเบรก
ซึ่งมีผาเบรกติดอยูดานนัดรอบจานเบรก เมื่อปลอยเบรก เมื่อปลอยเบรกสปริงจะดึงเข็มขัด
เบรกออกหางจากจานเบรก

รูปที่ 1.24 เบรกชนิดขยายออก

รูปที่ 1.25 เบรกชนิดรัดเขา


30

3. ชนิดแผน เบรกนี้ (รูปที่ 1.26) ประกอบดวยจานเบรกซึ่งหมุนตามเพลา


และแผนกดจานเบรกเมื่อเหยียบเบรก กานดึงจะดึงเม็ดลูกปนระหวางแผนกดจานเบรกให
เคลื่อนออก และดันใหแผนกดจานเบรกซึ่งมีผาเบรกอัดติดอยูเคลื่อนไปกดจานเบรก

รูปที่ 1.26 เบรกชนิดแผน

ระบบไฮดรอลิค
ระบบไฮดรอลิคของรถแทรกเตอรสามารถใชขบั เคลื่อนอุปกรณ หรือเครื่องจักรกล
การเกษตร โดยมีสวนประกอบที่สําคัญ คือปมไฮดรอลิค หรือกระบอกไฮดรอลิคเพื่อใชในการ
ยกและวางอุปกรณ ระบบไฮดรอลิคที่สามารถควบคุมตําแหนงของอุปกรณโดยอัตโนมัติ
เรียกวาระบบควบคุมตําแหนง เพื่อใหความลึกในการไถสม่ําเสมอ นอกจากนั้นยังมีระบบ
ควบคุมแรงลาก เพื่อใหรถแทรกเตอรมีแรงขับเคลื่อนคงที่ในขณะติดอุปกรณแขนพวง 3 จุด
ระบบควบคุมตําแหนง
ระบบควบคุมตําแหนง (รูปที่ 1.27) ใชกับอุปกรณที่มีความตานทานการฉุดลากนอย
เชน เครื่องพรวนและกําจัดวัชพืช เครื่องหยอดเมล็ดพืชและใสปุย เครื่องปลูกพืช ฯลฯ
นอกจากนั้นยังสามารถใชกบั ไถหัวหมูขณะทํางานในดินออนและพื้นที่ราบเรียบ
คันควบคุมตําแหนงจะควบคุมระบบโดยการยกหรือวางแขนยก ซึ่งทําใหแขนไฮดรอ
ลิคและอุปกรณเคลื่อนที่เปนสัดสวนกันไปดวย
ระบบควบคุมแรงลาก
ระบบควบคุมแรงลาก (รูปที่ 1.28) เหมาะสําหรับการทํางานที่ตองการใหความ
ตานทานในการทํางานของอุปกรณคงที่ หรืออุปกรณที่ใชแรงลากสูง เชน รถพวง
การควบคุมแรงลากจะมีสปริงเปนตัวรับสัญญาณ ที่จุดพวงของแขนกลาง ซึ่งจะทํา
หนาที่ควบคุมกานตอและวาลวควบคุม
แรงที่ถายทอดใหกับตัวรับสัญญาณซึ่งเปนสัดสวนกับแรงตนทานการขับเคลื่อน จะทํา
ใหเกิดปฏิกิรยิ าตอบสนองในกลไกวาลวควบคุมผานทางกานตอ
31

รูปที่ 1.27 ระบบควบคุมตําแหนง

อุปกรณจะถูกควบคุมใหอยูในตําแหนงคงที่เมื่อแรงตานทานการขับเคลื่อนคงที่ แตเมื่อ
แรงตานทานการขับเคลื่อนเปลี่ยนแปลง หรือแรงตานทานดินเปลี่ยนแปลง ตัวรับสัญญาณก็จะ
สงสัญญาณใหมไปยังกลไกวาลวควบคุม ซึ่งจะทําใหลูกสูบในกระบอกไฮดรอลิคเคลื่อนที่ใน
ตําแหนงที่สัมพันธกับขนาดของแรงขับเคลื่อนที่กําหนดไว
ในขณะที่มีการเพิ่ม (หรือลด) แรงตานทานการขับเคลื่อน จะทําใหลูกสูบกระบอกไฮ
ดรอลิคเคลื่อนที่เพื่อยก (หรือวาง) อุปกรณ การยกหรือวางอุปกรณจะเกิดขึ้นตอเนื่องจนกระทั่ง
แรงตานทานการขับเคลื่อนพอดีกับตําแหนงคันควบคุม
การใชระบบไฮดรอลิคกับอุปกรณที่ติดตัง้ ไดประโยชนหลายประการ แตประการที่
สําคัญที่สุดคือ ใหความสะดวกในการนําอุปกรณจากไรหนึ่งไปยังอีกไรหนึ่ง อีกทั้งยังทําใหการ
กลับรถบริเวณทายไรรวดเร็วขึ้น และประหยัดเนื้อที่อีกดวย
32

รูปที่ 1.28 ระบบควบคุมแรงลาก

ระบบพวงอุปกรณ

ระบบพวงอุปกรณการเกษตร หรือเครื่องจักรกลการเกษตรของรถแทรกเตอร สวน


ใหญจะเปนแบบลาก และแบบติดกับรถ สาเหตุที่มีหลายแบบก็เพราะขนาดของอุปกรณ
ตลอดจนการใชงานตางกัน จึงไมสามารถทําใหใชระบบพวงอุปกรณแบบเดียวกันได
ระบบพวงอุปกรณแบบลากมีสวนประกอบที่สําคัญคือ คานลาก (รูปที่ 1.29) ซึ่งติดอยู
ทางดานหลังของรถแทรกเตอร โดยแบงออกเปนสองแบบคือ แบบติดแนน และแบบแกวงได
33

รูปที่ 1.29 คานลากแบบตางๆ

สําหรับระบบพวงอุปกรณแบบติดกับรถ (รูปที่ 1.30) นั้นแบงออกเปน 3 แบบ ขึ้นอยู


กับลักษณะของการติดอุปกรณคือ แบบติดดานหนา เชน ใบมีดดันดินหนา บุงกี๋ตักดิน แบบติด
กลาง เชน เครื่องพรวน เครื่องตัดหญา และแบบติดดานหลัง เชน จอบหมุน ไถหัวหมู
การพวงอุปกรณแบบติดดานหลัง เปนทีน่ ิยมใชมากทีส่ ุด คือระบบพวง 3 จุด (รูปที่
1.31) ซึ่งประกอบดวยแขนลาก 3 ตัว แขนลากตัวบนหรือแขนกลาง และแขนลากตัวลางสอง
ตัว แขนลากทั้งสามนี้ยึดติดกับตัวรถโดยใชบชู ตาไก จึงทําใหเคลื่อนไหวไดอิสระรอบตัว
อุปกรณที่พวงติดกับปลายแขนลากทั้งสามสามารถเคลือ่ นที่ขึ้นหรือลงได โดยอาศัย
กานยกที่หิ้วแขนลากสองตัวลาง กานยกจะยก หรือวางแขนลากสองตัวลางเปนเหตุใหอุปกรณ
เคลื่อนที่ขึ้นหรือลงดวย

รูปที่ 1.30 ระบบพวงอุปกรณแบบติดกับรถ


34

รูปที่ 1.31 แขนพวง 3 จุด

ความยาวของแขนกลางสามารถปรับได ทําใหสามารถปรับมุมกม และเงยของอุปกรณ


ไดตามความตองการ สวนการปรับมุมเอียงของอุปกรณนั้นสามารถทําไดโดยการปรับความ
ยาวของกานยกดานขวาทีค่ ันปรับ
แขนลากสองตัวลาง จะมีลกั ษณะเหมือนกันทุกประการ และมีโซกันแกวงติดอยูแ ตละ
ขาง ถาไมตองการใหอุปกรณแกวงไปมาในขณะใชงานก็ปรับโซทั้งสองเสนใหตึง

การบํารุงรักษา
การบํารุงรักษา สามารถทําใหรถแทรกเตอรมีอายุการใชงานยืนยาวโดยไมจําเปนตอง
ซอมแซมบอยๆ การบํารุงรักษามีทั้งที่ทําประจําวันและทําเปนระยะๆ
การบํารุงรักษารถแทรกเตอรประจําวันเปนสิ่งสําคัญ ถาหากละเวนอาจจะทําให
เสียเวลาไปโดยเปลาประโยชน คือแทนทีจ่ ะนํารถไปปฏิบัติงานได กลับตองนําไปซอมแซม
นอกจากนั้นระยะเวลาที่รถแทรกเตอร หรือเครื่องจักรกลการเกษตรปฏิบัติงานไดเร็ว
หรือชาก็ขึ้นอยูกับการบํารุงรักษาที่ดีและสม่ําเสมอ
การบํารุงรักษาประจําวันทั้ง 9 ประการ ที่จะกลาวตอจึงเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่ง
1. แบตเตอรี่
2. ระดับน้ํามันเชื้อเพลิง
3. ระบบระบายความรอน
4. น้ํามันเกียรและน้ํามันเฟองทาย
5. หมอกรองอากาศ
6. น้ํามันเครื่อง
7. ยาง
35

8. นอตและสลัก
9. จุดอัดจารบี

แบตเตอรี่ ตรวจระดับน้ํากลั่นในแบตเตอรี่ทุกวัน โดยตองจอดรถแทรกเตอรบนพืน้


ราบขณะตรวจ ถาระดับน้ํากลั่นต่ํา ก็ถอดฝาปดออกแลวเติมน้ํากลัน่ ลงไปจนไดระดับ หามเติม
น้ํากรด
ระบบน้ํามันเชื้อเพลิง ควรเติมน้ํามันเชื้อเพลิงใหเต็มถังตอนเย็นหลังจากเสร็จงาน
ประจําวัน เพื่อพรอมที่จะทํางานไดทันทีในเขาวันรุงขึ้น อยาลืมระวังรักษาใหน้ํามันเชื้อเพลิง
สะอาดปราศจากสิ่งสกปรกและน้ํา
ระบบระบายความรอน ถาเครื่องยนตระบายความรอนดวยน้ํา น้ําในหมอน้ําควรจะ
เต็มตลอดเวลา อยาใหมีเศษหญา ใบไมติดอยูหนาชองรังผึ้งหมอน้ํา และควรจะตรวจความตึง
ของสายพานใหถูกตอง เพราะถาสายพานตึงเกินไป จะทําใหลูกปนที่ปมน้ําและไดนาโมหลวม
และเปนเหตุใหสายพานเสียเร็วอีกดวย ถาสายพานหยอนเกินไปจะทําใหเครื่องรอนมาก
น้ํามันเกียรและน้ํามันเฟองทาย ตรวจสอบระดับน้าํ มันเกียรและน้ํามันเฟองทายใน
หองเกียร และหองเฟองทายใหอยูถึงขีดสูงของไมวัดระดับอยูเสมอ

รูปที่ 1.32 ไมวัดระดับน้ํามันเครื่อง

หมอกรองอากาศ ถาหมอกรองอากาศเปนชนิดแชนา้ํ มัน น้ํามันควรจะอยูในระดับที่


ถูกตองเสมอ หมอกรองชนิดนี้จะกรองฝุนละอองออกจากอากาศ โดยใหอากาศถูกดูดผาน
น้ํามัน น้ํามันจะจับฝุนละอองออกจากอากาศ ฉะนั้นควรจะเปลีย่ นน้ํามันใหมทันที (ใช
น้ํามันเครื่อง) ถาน้ํามันเปลี่ยนสีเมื่อมีฝนุ ละอองมาก การเปลี่ยนน้ํามันกระทําไดมากกวา 1
ครั้งตอวัน ถาปฏิบัติงานในสถานที่มีฝุนละอองมาก
น้ํามันเครื่อง การตรวจสอบน้ํามันเครื่องทุกวันมี 2 ประการคือ ตรวจสอบดูวาระดับ
น้ํามันเครื่องถูกตองหรือไมจากไมวัดระดับน้ํามัน และตรวจดูสภาพของน้ํามันเครื่อง ถา
น้ํามันเครื่องดํามากควรจะเปลี่ยนเสียใหม ถายน้ํามันเครื่องออกขณะที่เครื่องยังรอนและรถ
แทรกเตอรจอดอยูบนพื้นที่ราบ
36

ยาง ลมในยางลอหลังควรจะมีความดัน 12 ปอนด/ตารางนิ้ว ถึง 15 ปอนด/ตารางนิ้ว


(0.85 กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร ถึง 1.05 กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร) คือขณะทํางานใชความ
ดัน 12 ปอนด/ตารางนิ้ว และขณะขนสงใช 15 ปอนด/ตารางนิ้ว สวนลอหนาปกติจะใชความ
ดัน 25 ปอนด/ตารางนิ้ว (1.75 กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร)
นอตและสลัก เนื่องจากรถแทรกเตอรมีการสั่นสะเทือนมากขณะปฏิบัติงาน ซึ่งอาจจะ
เปนสาเหตุใหนอตและสลักหลวม ควรจะตรวจสอบทุกวันและขันใหแนนเสมอ
จุดอัดจารบี อัดจารบีทุกจุดที่สําคัญทุกวัน ถาหัวอัดจารบีอุดตัน ถอดออกมาลางดวย
น้ํามันเบนซิน ใชลมเปาสิ่งอุดตันออกกอนที่จะใสเขาไปใหม
ถาการดูแลเอาใจใสตอการบํารุงรักษาประจําวันทั้ง 9 ประการที่กลาวมาแลวก็จะทําให
รถแทรกเตอรมีอายุใชงานไดนาน

การบํารุงรักษาเปนระยะๆ
นอกจากการบํารุงรักษาประจําวันแลว ก็มีสิ่งที่ตองการการบํารุงรักษาเปนระยะๆ ซึ่ง
ระบุไวในหนังสือคูมือประจํารถ ที่บริษทั ผูผลิตแจกเมือ่ ซื้อรถแทรกเตอร
การเปลี่ยนน้าํ มันเครื่อง โดยทั่วๆ ไป บริษัทผูผ ลิตรถแทรกเตอร จะแนะนําให
เปลี่ยนน้ํามันเครื่องหลังจากปฏิบัติงานประมาณ 120 ชั่วโมง น้ํามันเครื่องที่ใชตองเปนชนิด
เดียวกัน หนังสือคูมือจะระบุวิธีการลางไสกรอง หรือระยะเวลาที่จะตองเปลี่ยนไสกรอง
น้ํามันเครื่อง
การเปลี่ยนน้าํ มันเกียรและน้ํามันเฟองทาย ควรจะเปลี่ยนน้ํามันเกียรและน้ํามัน
เฟองทายหลังจากปฏิบัติงานประมาณ 700 ชั่วโมง น้ํามันที่ใชเติมจะตองสะอาด มีความขน
และคุณภาพตามที่กําหนดไวในหนังสือคูม ือ
การอัดจารบีปมน้ําและการหยอดน้ํามันไดนาโม ปกติบริษัทผูผ ลิตจะแนะนําใหทาํ
ในเวลาเดียวกับการเปลี่ยนน้ํามันเครื่อง แตถาหยอดน้ํามันไดนาโมมากเกินไปจะเปนสาเหตุให
ทุนของไดนาโมเสียหายได แตไดนาโมบางชนิดอาจจะไมตองหยอดน้ํามันตลอดอายุการใชงาน
การอัดจารบีและขันลอหนาใหแนน การอัดจารบีอัดที่ดุมลอจนกระทั่งจารบีเกาไหล
ออกมาหมด และตรวจสอบลอใหแนน ซึ่งปกติแลวจะแนะนําใหกระทําปละหนึ่งครั้ง
การตั้งเบรกและคลัช ควรจะตรวจสอบทุกๆ 2 เดือน หรือตั้งพรอมกับการเปลี่ยน
น้ํามันเกียร และน้ํามันเฟองทาย สวนวิธีการตั้งใหทําตามหนังสือคูมือของรถแทรกเตอร การตั้ง
เบรกคือการตัง้ ระยะฟรีของขาเหยียบเบรกมิใชตั้งทีต่ ัวเบรก ระยะฟรีนี้จะลดลงขณะที่เบรก
ทํางานจนรอน ถาระยะฟรีมากเกินไปจะทําใหขาเหยียบถึงทีว่ างเทากอนที่เบรกจะทํางาน
เต็มที่ สวนการตั้งคลัชก็เชนเดียวกัน ถาคันเหยียบคลัชไมมีระยะฟรีจะทําใหผาคลัชเสียหาย
การทําความสะอาดหรือเปลี่ยนไสกรองน้ํามันเชื้อเพลิง ควรจะทําตามคําแนะนํา
ของหนังสือคูมือประจํารถแทรกเตอร ซึ่งจะระบุวธิ ีทําความสะอาดและชนิดของไสกรองที่ใช
37

การซอมแซมเปนระยะ การซอมแซมรถแทรกเตอรเปนสิ่งจําเปนที่จะตองกระทํา
เพราะ
1. รถแทรกเตอรมีการสึกหรอตามปกติ แตจะลดลงไดมากถามีการบํารุงรักษา
ตามที่กลาวมาแลว
2. รถแทรกเตอรอาจจะประสบอุบัตเิ หตุ แตถาผูปฏิบัตงิ านมีความระมัดระวัง
ตลอดเวลาอุบตั ิเหตุกล็ ดลง
สําหรับลักษณะที่ชิ้นสวนตางๆ ที่สึกหรอตามปกตินั้น สวนใหญจะมีรูปหรือระบุไวใน
หนังสือคูมือประจํารถเสมอ

การขับรถแทรกเตอรและการติดเครื่องจักรกลการเกษตร
สวนสําคัญที่สดุ ในการทํางานของรถแทรกเตอรคือ สตารท คันเรง พวงมาลัย คลัช คัน
เกียร และเบรก
กอนจะสตารทรถแทรกเตอรทุกครั้ง คนขับควรจะนั่งอยูบนเบาะอยางเรียบรอยแลว รถ
แทรกเตอรสว นมากจะมีระบบกลไกเพื่อความปลอดภัย เชน ปลดเกียรใหอยูในตําแหนงวาง
หรือเหยียบคลัชใหจมกอนจึงสตารทรถติดได เปนตน

การขับรถแทรกเตอรที่ใชเครื่องยนตดีเซลมีขั้นตอนดังตอไปนี้
1. ดึงเบรกมือใหตึง
2. ปลดคันเกียรใหอยูในตําแหนงวาง และเหยียบคลัชลงไปใหจนเพือ่ ลดภาระของ
มอเตอรสตารท
3. ตั้งคันเรงใหอยูในตําแหนงระหวางเรง 3/4 และเรงสูงสุด
4. กดปุมดับใหอยูในตําแหนงสตารท
5. เปดสวิตชสตารท
6. บิดสวิตชสตารท ถาเครื่องยนตยังสตารทไมติดภายใน 30 วินาที ก็ใหปลอยสวิตช
สตารท และรออีกประมาณ 30 วินาทีกอนที่จะสตารทใหมอีกครั้งหนึ่ง การสตารทบอยๆ โดย
ไมหยุดทําใหแบตเตอรี่เสียหายได
7. เหยียบขาคลัชลงใหสุด
8. เขาเกียรทตี่ องการ
9. ปลดเบรกมือลงใหสุด
10. คอยๆ ปลอยขาเหยียบคลัช รถแทรกเตอรจะเคลื่อนที่ชาๆ
11. เรงคันเรงใหไดความเร็วตามทีต่ องการ
12. วางเทาทัง้ สองบนที่วางเทา
13. บังคับพวงมาลัยไปตามทิศทางทีต่ องการ
38

เมื่อจะดับเครื่องยนตก็ใหดึงปุมดับไปยังตําแหนงหยุด ซึ่งมีกลไกตอไป ตัดน้ํามัน


เชื้อเพลิงไมใหไหลไปยังปม หัวฉีด แตรถแทรกเตอรบางคันอาจจะมีปุมดับที่ตองกดลงถึงจะดับ
เครื่องได
ถาจะมีการฝกขับตามลําดับขั้นตามที่กลาวมา จะทําใหขับรถแทรกเตอรไดโดย
อัตโนมัติ แตก็มีขอควรระวังเพื่อความปลอดภัยคือ ตองรูวาเบรกและคลัชอยูท ี่ไหน และควรจะ
ทดลองเหยียบทั้งเบรกและคลัชพรอมกันกอนจะติดเครือ่ ง การเหยียบเบรกและคลัชพรอมกัน
เปนสิ่งแรกทีค่ วรจะทําเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินขึ้น
หลังจากใชเวลาฝกสตารทขับเดินหนา ถอยหลังและหยุดรถแทรกเตอรแลว การฝก
ครั้งตอไปคือการติดอุปกรณทางการเกษตร
ตามที่กลาวมาแลวขางตน รถแทรกเตอรปจจุบันนิยมติดอุปกรณทางการเกษตรเขากับ
ระบบแขนยกอุปกรณแบบ 3 จุด

วิธีการติดอุปกรณเตรียมดินเขากับรถแทรกเตอร มีดังตอไปนี้
1. ติดแขนกลางเขากับอุปกรณและปลอยทิ้งไว
2. ลดแขนลาก
3. ถอยรถตรงไปยังอุปกรณ โดยพยายามเล็งใหจุดกึ่งกลางของลอหลังทั้งสองตรงกับ
จุดกึ่งกลางของอุปกรณ หรือจุดกึ่งกลางของหูหิ้ว หรือบุชตาไกทั้งสองของอุปกรณ และให
เพลาทายของรถขนานกับอุปกรณ
4. เมื่อแขนยกอุปกรณถึงหูหิ้ว หรือบุชตาไกที่ติดอยูกบั อุปกรณ หยุดรถเขาเกียรวาง
และดึงเบรกมือ
5. ลงจากรถ
6. ติดแขนลากขางซายเขากับหูห้วิ ขางซายของอุปกรณ ใสสลัก
7. ติดแขนลากขางขวาเขากับหูหิ้วขางขวาของอุปกรณ ใสสลัก ถาแขนลากสูงหรือต่ํา
กวาหูหิ้ว ปรับที่คันปรับระดับ
8. กลับขึ้นไปนั่งบนเบาะรถ และติดแขนกลางเขากับรูของหูพิเศษ ที่ทายรถ ถาไมตรง
รูอาจจะปรับไดโดยการเลื่อนรถไปขางหนาหรือคอยๆ ใชไฮดรอลิคยกอุปกรณขึ้น
9. ใชไฮดรอลิคยกอุปกรณขึ้นจากพื้น และขับรถออกไปยังที่ปฏิบตั ิงาน
ในกรณีที่ขับรถแทรกเตอรบนถนนควรจะเคารพกฎจารจร ความเร็วสูงสุดที่กฎหมาย
ยอมใหใชไดคอื 30 กิโลเมตรตอชั่วโมง แตถาลากรถพวงก็ใชไมเกิน ความเร็ว 20 กิโลเมตรตอ
ชั่วโมง
เมื่อขับรถแทรกเตอรบนถนน คนขับรถควรจะตรวจสอบสิ่งเหลานี้ใหแนใจเสียกอน
1. เบรกตองอยูในภาพดี อยาลืมล็อคเบรกทั้งสองขางเขาดวยกัน
2. กระจกสองหลังตองสะอาด และอยูในตําแหนงที่มองขางหลังไดชัดเจนถึงแมจะลาก
รถพวงอยู
39

3. ยางและระบบพวงมาลัยอยูในสภาพดี
4. ติดสัญลักษณที่หมายถึงรถวิ่งชา
5. ดวงไฟหนารถตลอดจนไฟสัญญาณยังทํางานอยูอยางปกติ
40

บทที่ 2 เครื่องมือเตรียมดิน
(Tillage Machinery)
41

บทนํา
ประโยชนที่สําคัญที่สุดที่ไดรับจากรถแทรกเตอรก็คือ การสงกําลังออกไปฉุดหรือขับ
เครื่องทุนแรงในการเกษตรที่เรียกวาเครือ่ งมือเตรียมดิน
การเตรียมดินเปนการปรับสภาพของดินในแปลงเพาะปลูก เพื่อใหเหมาะสําหรับ
การงอกของเมล็ด การปลูกพืช และการเจริญเติบโตของพืช เชน การไถ การยอยดิน และ
การกําจัดวัชพืช เปนตน

เครื่องมือเตรียมดิน

เครื่องมือเตรียมดิน เครื่องมือเตรียมดิน เครื่องมือเตรียมดิน เครื่องมือเตรียมดิน


ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 1+2 เฉพาะทาง

ไถหัวหมู พรวน จอบหมุน ไถยกรอง

ไถจาน พรวนจาน

พรวนสปริง

เครื่องมือประเภทซี่

รูปที่ 2.1 การแบงประเภทของเครื่องมือเตรียมดิน

วัตถุประสงคที่สําคัญในการเตรียมดินมีดังนี้
1. เพื่อทําใหคุณสมบัติทางกายภาพของดินดีขึ้น เชน เกิดชองวางในดิน อากาศและ
น้ําถายเทไดสะดวก
2. เพื่อควบคุมและกําจัดวัชพืช รวมทั้งทําลายไข และแมลงที่เปนศัตรูพืช
3. เพื่อทําใหผิวดินเหมาะสมกับการชลประทาน และการระบายน้ํา
4. เพื่อกลบและคลุกเคลาพืช หรือปุยลงไปในดิน
42

5. เพื่อทําใหเชื้อจุลินทรีย และสิ่งมีชีวิตในดินมีกิจกรรมมากขึ้น
6. เพื่อสงวนและรักษาหนาดินไมใหเกิดการชะลางและพังทลาย
เครื่องมือเตรียมดินแบงออกได 2 กลุม กลุมแรกใชสําหรับเปดหนาดินใหไดความลึก
ตามความตองการ เรียกวาเครื่องมือเตรียมดินครั้งที่หนึ่ง (primary tillage machinery) กลุมที่
สองใชสําหรับยอยดินใหมีขนาดเล็กเหมาะสําหรับการปลูกพืช เรียกวาเครื่องมือเตรียมดินครั้งที่
สอง (secondary tillage machinery)
เครื่องมือชนิดตางๆ ที่สําคัญของแตละกลุมดังที่กลาวมา แสดงไวในรูปที่ 2.1 ซึ่งจะ
สังเกตเห็นวา จอบหมุน (rotary cultivator) ปรากฏอยูทั้งสองกลุมเพราะวา เครื่องมือชนิดนี้
ใชไดทั้งการเปดหนาดิน และการยอยดินซึ่งเหลือเปนกอนหลังจากใชไถ เชน ไถดินดาน
(subsoiler) และไถสิว่ (chisel plough) สวนคราดซี่ (tined cultivator) นั้นใชสําหรับยอยดินและ
กําจัดวัชพืช สวนไถยกรองนั้นจะถูกใชหลังจากเตรียมดินเสร็จเรียบรอยแลว

ไถ
ไถ (plough) เปนเครื่องมือที่ใชเปดหรือพลิกดินในพื้นที่ที่จะทําการเกษตร โดยไดรับ
แรงฉุดจากรถแทรกเตอร ไถแบงออกได 2 ชนิด คือ ไถหัวหมู (moldboard plough) และไถ
บุกเบิก (ไถจาน) (disc plough) การเลือกใชไถชนิดไหนขึ้นอยูกับสภาพของพื้นที่ที่จะไถเปน
สําคัญ คือ ถาพื้นดินมีตอไม กอนหิน หรือหญาสูงๆ ควรจะใชไถบุกเบิกเพราะวาเมื่อไถไปชน
ตอไมหรือกอนหิน ไถจะหมุนรอบตัวขามสิ่งกีดขวางเหลานี้ ทําใหลดความเสียหายที่จะเกิด
ขึ้นกับไถได สวนหญาสูงๆ ก็ไมเปนอุปสรรคตอไถชนิดนี้เชนกัน ในทางตรงกันขาม ถาไถผืน
ดินที่ปราศจากตอไม หิน หรือหญาสูงๆ ก็เลือกใชไถหัวหมูได ซึ่งถาใชไถชนิดนี้ดวยความ
ประณีตก็อาจจะไดแปลงเพาะปลูก โดยที่ไมตองใช คราดคราดซ้ําอีก
การใชไถหัวหมูและไถบุกเบิกทีถ่ ูกตองควรจะตองพิจารณาสิ่งตางๆ ตอไปนี้ดว ย
1. รองไถ รองไถแตละรองควรจะมีความกวางเทากัน (รูปที่ 2.2) ดังนั้น จึงจําเปนที่
จะตองตรวจดูระยะหางระหวางลอของรถแทรกเตอรใหตรงตามคําแนะนําของบริษัทผูผลิตไถ
2. ไถหัวหมูและไถบุกเบิกควรจะอยูในแนวระดับ (รูปที่ 2.3) เพื่อที่ไถทุกตัวจะไดกิน
ดินเทากัน สาเหตุสําคัญที่ทาํ ใหการตั้งไถผิดเพราะแขนกลางสั้น หรือยาวเกินไป การตั้ง
ความยาวของแขนกลางไมถูกตอง จะทําใหความลึกของการไถไมสม่ําเสมอ
ถาแขนกลางสัน้ ดานหลังจะลอย ไถจะเบนไปดานขางขณะไถเพราะจะไมมีแรงกด
พอที่จะกินดินที่ดานหลัง
ถาแขนกลางยาวเกินไป จะทําใหไถตัวหลังกินดินลึกเกินไป
43

รูปที่ 2.2 ระยะหางของลอที่มีผลตอความกวางของรองไถ


(ก) หางเกินไป (ข) ชิดเกินไป (ค) พอดี

รูปที่ 2.3 การปรับแขนกลาง (ก) สั้น (สวนหลังยก) (ข) ยาว (สวนหลังกินดินลึก)


(ค) พอดี (ไถทุกตัวกินดินเทากัน)

ดังนั้น เมื่อวางไถใหกินดินไปไดประมาณ 4-5 เมตร ก็ควรจะหยุดรถ


แทรกเตอร และลงไปดูทางดานขวา โดยสังเกตวาคานไถขนานกับพืน้ ดินหรือไม ถาไมขนานก็
ตองปรับความยาวของแขนกลาง
44

3. เมื่อยืนอยูดานหลังของรถแทรกเตอร ขณะที่กําลังไถ ไถหัวหมูและไถบุกเบิก ควร


จะอยูในแนวระดับ (รูปที่ 2.4) ถาไถไมอยูในแนวระดับ ก็ปรับที่คันปรับระดับ

รูปที่ 2.4 การปรับคันระดับ ( ก ) ดานขวากินตื้น ( ข ) ดานขวากินลึก ( ค ) ไถกินดินเทากัน

4. ไถหัวหมูและไถจานทุกตัวควรจะกินดินลึกตามความตองการขณะไถ โดยที่ความเร็ว
ของรถแทรกเตอรก็ควรจะสัมพันธกับความลึกนี้ดวย ความเร็วที่ใชในการไถขึ้นอยูกับสภาพ
ของดิน ความลึก ขนาดของไถและกําลังของรถแทรกเตอรที่ฉุดไถนัน้ แตก็ควรจะทําการไถ
โดยใชความเร็วสูงที่สุดเทาที่จะทําได ถาหากวาคุณภาพของงานไมเสีย กลาวคือ เมื่อใช
ความเร็วสูงขีไ้ ถจะถูกพลิกออกไปไดไกล ทําใหผืนดินที่ไถไมเรียบรอย แตถาใชความเร็วใน
การไถต่ํามากเกินไป ขี้ไถก็พลิกไมหมด เปนเหตุใหตอ งใชเครื่องมือเตรียมดินชนิดอื่นๆ อีก
หลายครั้งกอนที่จะไดแปลงเพาะปลูกทีด่ ี
5. ขอสําคัญประการสุดทายก็คอื การซอมแซมและบํารุงรักษา เนื่องจากไถนี้มีชิ้นสวน
ที่สัมผัสกับดินอยูเสมอ ดังนั้น จึงตองมีการตรวจสอบอยูเปนประจํา ถาชิ้นสวนไหนสึกหรอหรือ
โคงงอก็ควรจะซอมแซมหรือเปลี่ยนใหม สําหรับการบํารุงรักษานั้นก็ควรจะมีการอัดจารบีเขาไป
ในชิ้นสวนที่หมุนเปนประจํา โดยเฉพาะอยางยิ่งที่ลอและจานไถ นอกจากนั้น หลังจากเสร็จงาน
แลวก็ควรจะทาไถดวยน้ํามัน เพื่อปองกันสนิม และทําใหการพลิกขี้ไถงายขึ้นอีกดวย
45

ไถหัวหมู
ตามทฤษฎี การไถคือการตัดแนวดินที่มพี ื้นที่หนาตัดเปนรูปขนมเปยกปูน ABCD (รูป
ที่ 2.5) แลวพลิกใหอยูในตําแหนง A’B’C’D’ ซึ่งซอนกันเปนมุมประมาณ 45 องศา แตอยางไรก็
ตามในแงปฏิบัติ ตําแหนงดังกลาวจะผันแปรไปตามสัดสวนของความกวางและความลึกของการ
ไถ
ระยะ AB แทนความลึกของการไถ
ระยะ BC แทนความกวางของการไถ (หนวยเปนนิว้ เชน 10, 12 หรือ 14 นิ้ว เปนตน)
สวน ABCD นั้นแทนพื้นทีห่ นาตัดของขี้ไถ ซึ่งมีหนวยเปนตารางเซนติเมตร
โดยปกติแรงฉุดลากของรถแทรกเตอรขณะไถแปรผันตามชนิดของดิน ซึ่งมีคาระหวาง
0.4-0.9 กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร ดังนั้น การคํานวณหากําลังของรถแทรกเตอรที่เหมะสม
จึงมีวิธีการดังตัวอยางตอไปนี้
จงคํานวณหากําลังที่จําเปนของรถแทรกเตอรที่ลากไถหัวหมู 1 คู ซึ่งไถไดลึก 25
เซนติเมตร กวาง 30 เซนติเมตร ดวยความเร็ว 5 กิโลเมตร/ชั่วโมง เมื่อไถดินรวน
พื้นที่หนาตัดของขี้ไถ 25 × 30 × 2 = 1,500 ตารางเมตร
แรงฉุดลากไถ 1,500 × 0.6 = 900 กิโลกรัม
ความเร็วของรถแทรกเตอร 5 กิโลเมตร/ชั่วโมง = 1.4 เมตร /วินาที
กําลังที่ตองการในการลากไถ 900 × 1.4= 1260 กิโลกรัม-เมตร/วินาที
หรือ 1,260 75 = 16.8 แรงมา
ถารถแทรกเตอรมีประสิทธิภาพในการลากไถประมาณ 50 % กําลังของเครื่องยนตที่
ตองการคือ 16.8 × 2 = 33.6 แรงมา

รูปที่ 2.5 การตัดและพลิกดินของไถหัวหมู


46

รูปที่ 2.6 สวนประกอบของชุดไถหัวหมู

สวนประกอบของไถหัวหมู
ไถหัวหมูเปนอุปกรณทางการเกษตรที่สําคัญ ซึ่งใชในการเตรียมดิน โดยทําหนาที่ตัด
ดินในแนวดิ่ง แนวนอน และพลิกดินใหดินชั้นลางขึ้นมาอยูขางบน หนาดินลงไปอยูขางลาง
โดยทั่วไปไถหัวหมูประกอบดวยชิ้นสวนตางๆ ดังนี้
1. ผาลไถ เปนชิ้นสวนที่ทําหนาทีต่ ัดดินในแนวนอนใตดินใหแยกออกจากกัน และเริ่ม
ตนพลิกดินกอนที่ปกไถ จะทําหนาที่พลิกดินกอนที่ปกไถ จะทําหนาที่พลิกดินตอ ในการทํา
หนาที่นี้ผาลไถตองอาศัยสวนประกอบทีส่ ําคัญดังที่แสดงไวในรูปที่ 2.7 คือยอดผาล ซึ่งมี
ลักษณะคมและงองุมเพื่อจิกดินไปในดิน คมผาลทําหนาที่ตัด และปกผาล ซึ่งชวยพลิกดิน
สวนประกอบของผาลไถทั้งสามนี้อาจจะสึกหรือไดเมื่อใชงานไปนานๆ ดังนั้น จึงควรจะ
ตรวจสอบและแกไขใหอยูในสภาพเดิมเสมอ

รูปที่ 2.7 รายละเอียดของไถหัวหมู

2. ปกไถ เปนชิ้นสวนทีต่ อออกไปจากผาลไถ และทําหนาทีพ่ ลิกดินใหเศษพืชกลับลง


ไปอยูใตดิน ดินที่ถูกผาลไถตัดและเลื่อนขึ้นไปตามใบไถนี้เรียกวาขี้ไถ ชองวางของดินที่ถูกตัด
47

ลึกลงไปนั้นเรียกวารองไถ ปกไถมีรูปรางและลักษณะทีแ่ ตกตางกันไป (รูปที่ 2.8) ขึ้นอยูกับ


ชนิดของดิน ความตองการในการพลิกดินหรือขนาดของดิน
2.2.1 ปกไถแบบทัว่ ไป (general purpose) มีลักษณะบิดโคงเล็กนอย ทําใหขี้ไถทีไ่ ด
เกือบจะไมแตก ความลึกสูงสุดที่ไถไดประมาณ 2/3 ของความกวาง ดังนั้น จึงเหมาะสําหรับใช
งานในพื้นที่ทมี่ ีหนาดินตื้น
2.2.2 ปกไถแบบกึ่งขุด (semi-digger) มีลกั ษณะบิดโคงไปตามที่ไดจะแตกละเอียด
พอใช ทําใหสามารถลดจํานวนครั้งของการพรวนดินลงได แตถาหากวาดินนั้นระบายน้ําไดชา ก็
อาจจะทําใหเกิดน้ําขังเปนจุดๆ นอกจากนั้นปกไถแบบนี้ยังพลิกําลบหญาหรือวัชพืชลงไปในดิน
ไดอยางเรียบรอย
2.2.3 ปกไถแบบขุด (digger) มีลักษณะเวามากและบิดโคงไปตามความยาวขีไ้ ถที่ได
จะแตกละเอียดมาก การกลบหญาหรือวัชพืชก็เรียบรอยมาก ความลึกสูงสุดที่ไถไดจะเทากับ
ความกวาง ดังนั้น จึงเหมาะสําหรับใชงานในพื้นที่ที่จะปลูกพืชหัว และพื้นที่ที่จะไถกลบปุย คอก
หรือปุยพืชสด

รูปที่ 2.8 รูปรางของปกไถแบบตางๆ


48

รูปที่ 2.9 ใบตัดดินแบบตางๆ

3. ใบตัดดิน เปนชิ้นสวนทีท่ ําหนาที่ตัดดินในแนวตั้งฉากใหขี้ไถแยกออกจากดินที่ยัง


ไมถูกไถ ทําใหผาลไถและปกไถทําหนาที่ไดสะดวกยิ่งขึ้น รองไถที่ไดก็มีความสม่ําเสมอ
ความตานทานของดินที่มีตอไถก็ลดลงเปนเหตุใหแรงฉุดลากต่ํา นอกจากนั้นยังชวยตัดหญา
หรือตอซังไมใหขึ้นมาพันเปนกระจุก และอัดตัวกันแนนบริเวณขอบปกไถซึ่งเปนอุปสรรคตอ
การพลิกดินอีกดวย อุปกรณตัดดินมีหลายแบบ (รูปที่ 2.9) เชน แบบจาน แบบมีด แตละแบบ
ชวยใหไถทํางานไดดีมากขึ้น
3.1 แบบจาน (disk coulter) มีลักษณะเปนแผนกลมีคมที่ขอบ โดยที่ขอบอาจจะเรียบ
หยัก หรือเปนจานกลมโคงก็ได ซึ่งการเลือกใชกข็ ึ้นอยูกับสาภพของดินที่จะไถ เชน ของจาน
แบบหยักเหมาะสําหรับดินที่มีวัชพืชขึ้นอยูมาก เปนตน อยางไรก็ตามในขณะทํางาน จานจะ
หมุนและตัดดินไปพรอมกัน
3.2 แบบมีด (knife coulter) อุปกรณตัดดินแบบนี้มีลักษณะคลายใบมีดขนาดใหญติด
อยูหนาผาลไถ นอกจากจะทําหนาที่ตัดดินและหญาแลว ยังชวยปองกันผาลไถไมใหกระแทกกับ
หินหรือสิ่งกีดขวางอื่นๆ ที่สามารถทําใหหักหรือบิ่น
3.3 แบบไถขนาดเล็ก (skim coulter) อุปกรณตัดดินแบบนี้มีลักษณะคลายหัวหมู แต
มีขนาดเล็ก ทําหนาที่พลิกดินตื้นๆ นํารองไปกอนที่ไถตัวจริงจะทํางาน ขี้ไถที่ไดจะมีขนาดเล็ก
กวางประมาณ 1 ½ นิ้ว ลึกประมาณ ½ นิ้ว โดยการพลิกจากดินสวนที่อยูซายมือดานบนให
ตกลงไปในรองไถ กอนที่ขี้ไถจริงจะพลิกหมด ทั้งนี้ เพื่อเปนการปองกันไมใหหญา วัชพืช
หรือตอซังโผลออการะหวางไขไถที่ซอนกัน
สําหรับการปรับใบตัดดินเหลานีก้ ็สามารถทําไดโดยการเลื่อนขาขึ้นหรือลงใหไดระยะ
ตามตองการ แตเมื่อปรับแลวและนําไปไถในพื้นที่ที่มดี ินแข็งมาก ถาสังเกตเห็นใบตัดดิน
เชน แบบจาน หมุนเหมือนลอ และแบกชุดไถใหลอยโดยไมกินดิน ก็ควรจะถอดใบตัดดินนั้น
ออก หรือไมก็ยกขึ้นไปใหสงู ไมใหสัมผัสกับดิน
4. เหล็กกันขางเปนชิ้นสวนทีต่ ิดกับผาลไถและแนบอยูกบั ดินขางรองไถตลอดเวลา
เพื่อชวยรับแรงกดทางดานขางที่เกิดจากขี้ไถที่อยูบนปกไถ นอกจากนั้นยังชวยปองกันไมใหไถ
สายไปมาขณะทํางาน
49

5. ฐานไถ เปนชิ้นสวนที่ยึดผาลไถ ปกไถ และเหล็กกันขางเขาดวยกันจนมีลักษณะ


เปนไถหัวหมู ฐานไถนีต้ ิดอยูกับคานไถ โดยมีนอตขันไวแนน
6. คานไถ เปนคานเหล็กโคง ซึ่งมีผาลไถยึดติดอยู
7. เพลาขวาง เปนเพลากลม หรือแทงเหล็กสีเ่ หลี่ยมยาวทีย่ ึดติดกับโครงไถอยู
สวนหนาของชุดไถ ในลักษณะขนานกับพื้นดินและตัง้ ฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ ปลายทั้งสอง
มีหูหิ้ว (link pin) สําหรับสอดใสเขาไปในรูลูกหมาก (joint) ของแขนลากขางซายและขางขวา
เพลาขวางนี้สามารถหมุนไดรอบแกน เพื่อความสะดวกในการปรับความกวางของรองไถที่หนึ่ง
และมุมไถของแนวไถ

การปรับไถหัวหมู
การไถใหไดงานที่ดีนั้น จําเปนตองมีการปรับไถอยูเสมอทั้งกอนไถและระหวางการไถ
1. การปรับกอนไถ
1.1 ตรวจสอบกําลังของรถแทรกเตอรใหสัมพันธกับจํานวนไถที่จะใชกอนติด
ชุดไถ หลังจากนั้นจึงปรับความกวางของการกินดินของไถตัวแรกใหสัมพันธกับ
ความกวางของลอหลัง โดยการคลายนอตยึดและเลื่อนเพลาขวางใหความกวาง
ของการกินดินของไถตัวอื่นๆ ที่เหลือ
1.2 ตรวจสอบระยะของไถแตละตัว (รูปที่ 2.10)
1.2.1 นําชุดไถมาวางบนพืน้ คอนกรีตหรือพื้นดินที่เรียบ ถอดผาลไถ
ออก ใชเชือกหรือทอนไมที่มีขอบตรงวางแนบกับเหล็กกันขางของไถแลว
ขีดเสน วัดระยะหาง A และ B ถาเสนทีล่ ากไมขนานกัน หรือไมเทากัน
แสดงวาไถตัวหนึ่งบิดเบี้ยวไปจากเดิมในกรณีนี้ตองปรับไถตัวนั้นเสียใหม
1.2.2 หลังจากที่ไดเปลี่ยนหรือซอมแซมผาลไถใหม ยอดผาลควรจะ
แตะดิน และอยูในแนวเดียวกัน
12.3 ทําเครื่องหมายบนปกไถ และวัดระยะหางระหวางปกไถจากจุด
ที่ไดทําเครื่องหมายไว ถาระยะ A ไมเทากันก็ควรจะตองมีการปรับปกไถ
ใหม
1.3 ตรวจสอบระยะจิกดิน (pitch) และมุมจิกดิน (pitch angle) ของไถแตละ
ตัว ใหตรงตามชนิดของไถที่ใช (รูปที่ 2.11) ระยะจิกดินทําใหมุมจิกดิน
เปลี่ยนแปลง
1.4 ตรวจสอบ side suction ใหมีระยะ 0.4-1 เซนติเมตร และ down suction
ใหมีระยะ 1-4 เซนติเมตร ไถแตละตัว (รูปที่ 2.12)
1.5 ปรับอุปกรณตัดดินใหถูกตอง และเหมือนกันทุกตัว
1.6 หยอดน้ํามันหลอลื่นที่แบริ่งทุกตัว และขันนอตยึดติดใหแนน รวมทั้งสูบลม
ยางรถแทรกเตอรใหไดความดันที่เหมาะสม
50

รูปที่ 2.10 การตรวจสอบระยะของชุดไถหัวหมู

2. การปรับระหวางการไถ
2.1 ปรับคันบังคับไฮดรอลิคใหอยูในตําแหนงควบคุมแรงลาก (draft control)
2.2 ปรับแขนกลางเพื่อใหไถดินลึกหรือตื้นตามความตองการโดยการหมุนเขา
หรือคลายออก
2.3 ปรับใหไถกินดินตั้งฉากกับพื้น โดยสังเกตหลังไถวาเหล็กดันขางตั้งฉาก
กับพื้นที่ไถแลว
2.4 เลือกความลึกของการไถโดยการปรับคันบังคับการควบคุมตําแหนง
(position control)
51

รูปที่ 2.11 ตรวจสอบระยะจิกดิน

รูปที่ 2.12 ตรวจสอบ Suction


52

การบํารุงรักษาไถหัวหมู
1. ลางดินและแซะเอาเศษหญาทีต่ ิดกับตัวไถออกใหหมด ถาพบสวนที่ฉีกขาดหรือบิด
เบี้ยวก็ควรจะซอมแซม
2. ปองกันตัวไถและอุปกรณตัดดินไมใหเปนสนิมดวยการทาน้ํามันจาระบี หรือทาสี
ปองกันสนิม
3. เก็บชุดไถไวในที่รม
4. ใชแผนไมรองตัวไถไมใหสัมผัสกับดินเพื่อปองกันความชื้น

ไถบุกเบิก
ไถบุกเบิกเปนอุปกรณทางการเกษตรที่สําคัญอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งใชในการเตรียมดิน ไถ
บุกเบิกเปนไถที่มีโครงสรางแข็งแรงและมีจานไถที่หมุนไดรอบตัว ดังนั้นจึงทําใหการไถในดินมี
หิน รากไม ตอไม หรือแมแตในดินที่แหงและแข็งไดดี ไถบุกเบิก ทําหนาที่ตัดดินในแนวดิ่ง
แนวนอน และพลิกดิน เชนเดียวกับไถหัวหมู

ตารางที่ 2.1 ขนาดของจานไถ


เสนผาศูนยกลาง ความหนา ความเวา ความลึกของการ การใช
ไถ
609-660 ม.ม. 5-6.5 ม.ม. 8.5 ซม. 10-30 ซม. ไถตื้น
(24-26 นิ้ว)
710 ม.ม 6.5-7.5 ม.ม. 8.5-10 ซม. 10-35 ซม. ไถตื้นและไถลึก
(28 นิ้ว)
810 ม.ม. 8 ม.ม. 95-11.5 ซม. 10-45 ซม. ไถลึก
(72 นิ้ว)

สวนประกอบของไถบุกเบิก
ไถบุกเบิกมีชื่ออีกวาไถจานหรือไถกระทะ เพราะมีลักษณะคลายกับกระทะสวนที่
เรียกวาไถบุกเบิกนั้น เนื่องจากความนิยมที่ใชในพื้นทีบ่ ุกเบิกใหม เชน ปาที่เปดใหมซึ่งมีดินที่
เปนอุปสรรคตอการไถมาก ไถบุกเบิก (รูปที่ 2.13) ประกอบดวยสวนตางๆ ที่สําคัญ ดังนี้
1. คานไถ เปนโครงเหล็กเหลี่ยมหรือเหล็กกลมซึ่งมีขาไถยึดติดอยู
2. จานไถ เปนหัวใจของไถบุกเบิก ซึ่งถูกยึดไวกับขาไถดวยลูกปนรูปกรวย (รูปที่ 2.14)
เพื่อทําใหจานไถหมุนไดรอบตัวขณะทีก่ ําลังตัด ยก และพลิกขี้ไถ จานไถที่มีขนาดใหญ
สามารถตัดดินไดกวางและลึก รวมทั้งตัดหญาที่ขึ้นคลุมดินไดดีอีกดวย สวนจานไถที่มีขนาดเล็ก
นั้น กินดินแข็งไดดีกวา จานไถสวนใหญทํามาจากเหล็กพิเศษ และผานกระบวนการชุบ
53

แข็ง จึงทําใหไถมีความแข็งแรงและทนทานตอการสึกหรอ นอกจากนั้นยังสามารถยืดหยุนตอ


การกระแทกที่เกิดขึ้นอยางฉับพลันดวย

รูปที่ 2.13 สวนประกอบของไถบุกเบิก

สําหรับขอบของจานไถนั้น ก็มีลักษณะแตกตางกันดังที่ปรากฏในรูปที่ 2.15 ทั้งนี้เพื่อ


ความเหมาะสมกับการใชงานในสภาพดินและสภาพพื้นที่ที่ตางกัน
จานไถแบบสังคมดานนอกเหมาะสําหรับใชในพื้นที่ที่มีดินออน ไมมีเศษหญาหรือวางอยู
มากเกินไป
จานไถแบบลับคมดานใน เหมาะสําหรับดินแข็งและแหง
จานไถแบบขอบหยัก เหมาะสําหรับพื้นที่ที่มีเศษหญา ฟาง หรือซากพืชเหลืออยูบนดิน
มาก เพราะขอบที่หยักหรือเวานี้จะทําหนาที่ดักและกดเศษหญาลงกับดินเพื่อทําการตัด แลวก็
เลยลงไปกินดิน ซึ่งแตกตางกับจานไถแบบขอบเรียบที่ไมจับเศษหญา เศษหญาจะครูดไปกับ
จานไถ ทําใหไถไมกินดิน
3. ลอคัดทาย ปรับเอียงเปนมุมไดทั้งแนวตั้งและแนวราบ ลอคัดทายนี้ตดิ ตั้งอยูที่
สวนทายของชุดไถ ขณะที่ทําการไถจะหมุนตัดดินไปดวย โดยปกติจะตองปรับใหเอียงเปนมุม
ในลักษณะตรงกันขามกันจานไถ เพื่อทําใหเกิดแรงดันของดินทางดานขางเทากับแรงดันของ
ขี้ไถกระทําตอจานไถ ซึ่งเปนผลใหไถเดินตรงไมเบนไปทางดานในดานหนึ่ง
4. สปริงคัดทาย มีหนาที่กดลอคัดทายใหกินดินอยูเสมอ
5. ใบมีดแซะดิน (Scraper) ทําหนาที่ชวยพลิกดินและทําใหขี้ไถแตก นอกจากนั้นยังทํา
ความสะอาดจานไถอีกดวย
54

รูปที่ 2.14 จานไถที่ติดบนลูกปน

รูปที่ 2.15 ลักษณะของขอบจานไถ

ลักษณะของขี้ไถ
เมื่อจานไถตัดดินขณะเคลื่อนที่จะใหแรงเฉือนและแรงกด โอกาสที่ดินจะแตกออกเปน
กอนเล็กจึงมีมาก
สําหรับการพลิกของขี้ไถนัน้ เนื่องจากลักษณะของไถเปนจาน ขี้ไถที่ไดจึงมีลักษณะ
ของพื้นที่หนาตัดเปนรูปวงรีที่ซอนกันเปนสันคลื่น (รูปที่ 2.16)

การปรับไถบุกเบิก
การปรับไถทีผ่ ิดทําใหการไถไมไดผลดี ไถไดพื้นที่นอย ไมคุมกับคาใชจายและเวลาที่
เสียไป นอกจากนั้นยังอาจจะเปนสามเหตุทําใหตัวไถ หรือรถแทรกเตอรเสียหายได เชน
เพลาทายขาด ยางแตก โซกันเหวี่ยงขาด เปนตน
55

รูปที่ 2.16 ลักษณะของขี้ไถ

การปรับไถทีถ่ ูกตองควรจะปฏิบัติดังตอไปนี้
1. การปรับไถกอนทํางาน
1.1 ปรับระยะหางของลอหนาและลอหลังของรถแทรกเตอร ใหตรงกับ
คําแนะนําของบริษัทผูผ ลิตไถ โดยปกติถาใชไถ 2-3 จาน ก็ควรจะตั้งระยะหางเทากับ 56 นิ้ว
ถาใชไถ 3-4 จาน ก็ควรจะตั้ง 60 นิ้ว แตถามากกวา 4 จานขึ้นไปใหตั้ง 64 นิ้ว การตั้ง
ระยะหางของลอใหถูกตองจะทําใหดินในรองไถที่หนึ่ง ซึ่งอยูระหวางลอรถแทรกเตอรกับจานไถ
ตัวที่หนึ่งถูกพลิกกลบทั้งหมด นอกจากนั้น ยังทําใหชุดไถไมเบี่ยงเบนออกไปจากทิศทางของ
รถแทรกเตอร เนื่องจากเสนแนวการลากไถตรงกับจุดศูนยกลางแหงความตานทานของไถ
1.2 ปรับเพลาขวาง (cross shaft) ใหไดความกวางของรองตามความตองการ
(รูปที่ 2.17) เมื่อบิดเพลาขวางจะทําใหแขนลากขางหนึ่งหดเขา แขนลากอีกขางหนึ่งยืดออก ซึ่ง
เปนผลใหไถบิดตาม แตเนื่องจากปลายแขนลากทั้งสองมีลูกหมากหรือตาไก (ball and socket
joint) ซึ่งขยับตัวได ดังนั้น ชุดไถจะเหวี่ยงตัวเองเขาไอยูในแนวการลากไถไดขณะที่ทําการไถ
ชุดไถก็ไมเบี่ยงเบนออกไปจากแนวไถ
1.3 ปรับโซกันเหวี่ยงคูนอก ใหแขนลากโยกไปมาไดประมาณ 4 นิ้ว เมื่อติด
ไถแลว ถาโซหยอนเกินไป ไถอาจจะแกวงไปปะทะกับลอรถแทรกเตอร ซึ่งเปนอุปสรรคตอ
การเคลื่อนที่ แตถาโซตึงเกินไป ก็อาจจะทําใหความลึกของการไถถูกจํากัด เพราะโซรั้งไว
1.4 ปรับแขนกลางใหไดความยาวมาตรฐานโดยสังเกตจากรอยควัน่ ที่ทําเปน
เครื่องหมายไว
1.5 ปรับตั้งลอคัดทาย (rear furrow wheel) ใหอยูในตําแหนงที่เหมาะสมกับ
ดินชนิดที่จะไถ โดยปกติบริษัทผูผลิตจะทําเครื่องหมายบอกตําแหนงที่จะปรับใหเหมาะสมกับ
ชนิดดินไว (รูปที่ 2.18) แตถาไมไดทําไวก็อาจจะตองปรับโดยการเลื่อนลอคัดทาย ให
เครื่องหมายที่ทําไวในแนวแกนเพลาตรงกับเครื่องหมายที่ตวั ยึดเพลา ซึ่งสวนใหญจะเปน
ตัวเลข การปรับก็เพียงแตเลื่อนใหตัวเลขตรงกันเทานั้น สําหรับสปริงของลอคัดทายนั้น เมื่อ
ไถในที่ดินแข็งตองขันใหสปริงแข็งขึ้นเพือ่ ใหจานลอคัดทายกินดิน แตถาขันแข็งเกินไปจะทําให
จานไถดินตื้นและทําใหลอหมุนฟรี
56

รูปที่ 2.17 การปรับเพลาขวาง

รูปที่ 2.18 การปรับลอคัดทาย

1.6 ปรับจานไถ จานไถปรับใหเอียงเปนมุมได 2 มุม (รูปที่ 2.19) คือมุมตั้ง


(disk angle) และมุมเอียง (tilt angle) มุมตั้งนั้นปรับไดโดยการขยับตําแหนงของเตาผาลให
° °
เฉียงเปนมุมกับทิศทางการเคลื่อนที่ของไถ ซึ่งมีคาตั้งแต 40 ถึง 45 มุมตั้งยิ่งกวางจานไถยิ่ง
° °
กินดินไดลึก สําหรับมุมเอียงนั้นคือมุมที่จานไถเอียงออกจากเสนดิ่ง ซึ่งมีคาตั้งแต 3 ถึง 30
57

มุมเอียงยิ่งมากจานไถยิ่งพลิกดินไดดี แตควรจะระวังการอัดตัวแนนของดินเกาะติดกับจานไถ
ดังนั้นจึงควรปรับจานไถใหไดมุมที่เหมาะสมตามตารางที่ 2.2
17. ปรับความกวางของการไถ โดยการเลื่อนตําแหนงขาไถที่ยึดกับคานไถ
เมื่อเลื่อนขาไถจานไถจะเลือ่ นตามไปดวย การใชจานไถที่มีมากกวา 1 จาน สวนใหญมักจะ
ติดตั้งใหรอยไถซอนกันประมาณหนึ่งในสามของเสนผาศูนยกลาง (รูปที่ 2.20) มิฉะนั้นจะมีดิน
บางสวนที่ไมถูกไถ

รูปที่ 2.19 การปรับจานไถ

รูปที่ 2.20 การซอนของจานไถ


58

ตารางที่ 2.2 มุมของจานไถที่เหมาะสมกับดิน


สภาพของดิน มุมตั้ง มุมเอียง
° ° ° °
แข็ง 45 – 50 3 -20
° ° ° °
เหนียว 43 -48 10 -25
° ° ° °
รวน 40 -45 15 -30

2. การปรับเมื่อเริ่มไถ
2.1 ปรับแขนลากขางขวา เพื่อใหคานไถอยูในแนวระดับขนานกับพืน้ ดิน
เมื่อมองจากทายรถแทรกเตอร ซึ่งแสดงวาไถกินดินเทากันทุกตัว (เชนเดียวกับรูปที่ 2.4) ทั้งนี้
ควรจะหยุดไถและลงจากรถมาดู หลังจากไถไปได 3-4 เมตร สวนการปรับนั้น ใหปรับที่คัน
ปรับระดับของแขนลางขางขวา
2.2 ปรับแขนกลาง เพื่อใหคานไถอยูในแนวระดับขนานกับพื้นดินเมื่อมอง
จากดานขางของรถแทรกเตอร (เชนเดียวกับรูปที่ 2.3) ถาไมขนานแสดงวาจานไถทุกจานกิน
ดินไมเทากัน ความลึกของการไถไมสม่ําเสมอ ถาแขนกลางสั้นเกินไป ไถตัวหลังจะกินดินลึก
เกินไป
2.3 ปรับแนวตรงของการไถ โดยการสังเกตโซกันเหวีย่ งทั้งสองเสน เมื่อไถ
กินดินในแนวตรงโซกันเหวีย่ งจะหยอนเทาๆ กัน ถาโซขางไหนหยอนแสดงวาไถไปทางดานนั้น
พวงมาลัยรถแทรกเตอรจะฝนมือและโซอาจจะขาดได วิธีแกไขใหสงั เกตความตึงของโซ ถาไถ
เบนไปทางดานขวา โซดานซายจะตึงใหปรับลอคัดทายใหหันชี้ไปทางซาย ถาเบนไปทางซาย
โซดานขวาจะตึงใหปรับลอคัดทายใหหันชี้ไปทางขวา อยางไรก็ตามอยาลืมตรวจดูใหลอคัดทาย
มีความคมอยูเสมอ
2.4 ปรับใบมีดแซะดินใหจุดต่ําสุดของใบมีดอยูเหนือจุดศูนยกลางของจานไถ
เล็กนอย และขอบของใบมีดตองอยูชิดจานไถมากที่สดุ (1.5 ม.ม.) เมื่อตองการไถลึกใหตั้ง
ใบมีดแซะดินใหอยูสูง ถายิ่งใบมีดแซะดินอยูต่ํา ขี้ไถยิ่งแตกดีขึ้นเทานั้น แตในพื้นที่ที่มีหญา
ถาติดตั้งใบมีดแซะดินดวยก็อาจจะทําใหเกิดชองวางทีด่ ินเขาไปอุดตันเปนอุปสรรคตอการหมุน
และพลิกดินของจานไถ ดังนั้น จึงมีการถอดใบมีดแซะดินออก

การบํารุงรักษาไถบุกเบิก
ไถบุกเบิกจําเปนตองไดรับการบํารุงรักษาเชนเดียวกับเครื่องมือทุนแรงทางการ
เกษตรชนิดอื่นๆ ดังนั้นจึงมีการแบงระยะเวลาการบํารุงรักษาเปน 2 ระยะ
1. ระหวางเวลาทีใ่ ชงานหรือขณะไถ ตองมีการอัดจาระบีเขาไปตามขอตอตางๆ
และชิ้นสวนทีเ่ คลื่อนที่เปนประจํา นอกจากนั้นยังจําเปนตองขันนอตที่หลวมและปรับระยะฟรี
ตางๆใหถูกตอง แตถาคิดจะใชไถเปนระยะเวลาหลายๆ วัน ก็ควรจะชโลมน้ํามันไวเพื่อปองกัน
สนิม
59

2. ระหวางที่ไมใชงานหรือเก็บ ตองใชจาระบีทาผิวจานไถสวนที่พลิกดินจนเปนเงา
เพื่อปองกันสนิม แตกอนที่จะทาควรจะลับคมจานไถเสียกอนในกรณีที่ใชงานจนทื่อ อยาลืม
ลับคมทางดานเดิมที่ลับมาจากโรงงาน สวนลูกปนรูปกรวยนั้นถาไมใชแบบที่อัดจาระบีไวสําเร็จ
ก็จําเปนที่จะตองอัดจาระบีเขาไปใหม พรอมกับตรวจสอบอยาใหลูกปนมีระยะฟรีมากจนเกินไป
หลังจากนั้นก็ตรวจสอบดูวา คานไถคดงอหรือไม กอนที่จะนําไปเก็บไวในที่รมโดยไมถูกฝน และ
ไมวางอยูบนพื้นดิน สําหรับการตรวจสอบคานไถนั้นตองนําชุดไถไปวางบนพื้นเรียบ ถาไถแตละ
ตัวไมขนานกันทั้งในแนวตัง้ และแนวราบแสดงวาคานไถคดงอ

ขอดีและขอเสียของไถบุกเบิก
ไถหัวหมูและไถบุกเบิกตางก็มีขอดีและขอเสียที่แตกตางกัน การเปรียบเทียบยอมทํา
ใหสามารถเลือกใชไดเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ที่มีอยู
ขอดี
1. ใชงานไดดีใสภาพพื้นที่ที่มีหินปนอยูไดโดยไมเสียหาย
2. สึกหรอชา เนื่องจากจานไถหมุนได ใหแรงเสียดทานลดลง
3. บํารุงรักษางาย และสะดวก เพราะไมจําเปนตองถอดแยกชิ้นสวนตางๆของตัวไถ
ออกจากกัน
4. ใชแรงฉุดลากนอยกวา เนื่องจากมีแรงเสียดทานนอย
5. จานไถมีความคมอยูเสมอ เพราะขณะใชงานจานไถจะหมุนเปนการลับคมไปในตัว
ขอเสีย
1. ไถกินดินนอย ตองใชน้ําหนักถวง เพื่อใหกินดินขึ้น
2. พลิกดินไดไมหมด ทําใหขี้ไถไมสวย
3. ความลึกของการไถถูกจํากัด โดยลูกปนรูปกรวย

วิธีการไถ

กอนทําการไถควรจะแบงพื้นที่ออกเปนสวนๆ เพื่อใหเหมาะสมและสะดวกตอการ
ทํางาน ความกวางของพื้นที่แตละสวนไมควรจะเกิน 40 เมตร สวนความยาวนั้นไมจํากัด
เพราะไมตองเสียเวลาในการกลับรถมาก เมื่อแบงพื้นที่เสร็จแลวก็ทําการตัดหัวงาน หรือแบง
พื้นที่ของแปลงทั้งสองดานใหยาวประมาณ 2 ชวงตัวรถแทรกเตอร การตัดหัวงานทําไดโดย
การปรับใหไถตัวหลังกินดินเพียงผาลเดียว กอนที่จะเดินรถใหไถกินดินเปนแนวตื้นๆ ตลอด
ความยาวของหัวแปลงทั้งสอง เพื่อใชเปนแนวสําหรับสังเกตในในการไถเมื่อเขางานและยกไถ
เมื่อออกจากงาน มิฉะนั้น การวางไถและยกไถจะไมตรงเปนแนวเดียวกัน ทําใหไดขี้ไถไมสวย
60

และลําบากในการเก็บงานกอนที่จะเสร็จงาน การไถจะเริ่มจากแปลงแรกทีแ่ บงไวเรื่อยไป


จนกระทั่งถึงแปลงสุดทาย
โดยปกติขี้ไถจะถูกสาดออกทางดานขวาเสมอขณะไถ ดังนั้น เพื่อไมใหเปนการ
เสียเวลาถอยหลังกลับไปเริม่ ตนไถใหมหรือที่เรียกวาจับงานใหมที่หัวงาน จึงมีการกําหนด
วิธีการไถ 2 วิธี ดังนี้
1. การไถใหขี้ไถพลิกเขาหากัน (gathering) หรือไถวนขวา
1.1.1 การไถเปดรองเดียว (รูปที่ 2.21)
1.1.1 เริ่มตนการไถรอยที่ 1 ดวยการปรับใหผาลตัวหลังกินดินตืน้ ๆ
โดยการปรับแขนกลางและแขนลากขางขวาใหยาวออก แลวไถเปดรองตรงกลางพื้นที่ใหเปน
แนวตรง โดยการเล็งที่หมายขางหนา เชน ตนไมใหญ จํานวน 2 จุด
1.1.2 เมือรถแทรกเตอรลากไถไปจนถึงแนวหัวงานทีไ่ ดตัดไว ก็ยกไถ
ขึ้นแลวเลี้ยวกลับทางขวา ใหลอหนาขวาอยูบนขี้ไถของรอยที่ 1 ประมาณครึ่งลอ หยุดรถปรับ
แขนลากขางขวาและแขนกลางใหผาลไถทุกตัวกินดินเทากัน แลวจึงเริ่มไถรอยที่ 2 ไปจนถึง
หัวงานดานตรงกันขาม เมื่อสุดทางแลวก็เลีย้ วกลับทางขวา ใหลอขวาอยูบนขี้ไถของรอยที่ 1
ที่เหลือ แลวจึงเริ่มไถรอยที่ 3 ไปจนถึงหัวงาน หลังจากนั้นก็เริ่มไถรอยที่ 4 และรอยอื่นๆขยาย
วงกวางออกไปเรื่อยๆ โดยเลี้ยวกลับดานขวาและลอหนาขวาอยูในรองไถตลอดจนทั่วทั้งแปลง
การไถแบบนี้เหมาะสําหรับพื้นที่กวางใหญที่สามารถกําหนดขนาดและขอบเขตไดแนนอน เชน
ทุงหญาเลี้ยงสัตว การไถวิธีนี้ จะเกิดสันนูนตรงกลางแปลง เนื่องจากขี้ไถ 2 รอยแรกเรียงทับ
ซอนกัน และมีพื้นที่ท่ไี มถกู ไถอยูขางใตดวย เพราะฉะนั้นถาทําการไถดวยวิธีนเี้ ปนประจําทุก
ๆป จะทําใหพื้นที่ตรงกลางเกิดเปนสันนูนคลายหลังเตา เปนสาเหตุใหน้ําขังบริเวณดานขางซึ่ง
ต่ํากวา
1.2 การไถเปดรองคู (รูปที่ 2.22) การไถแบบนีบ้ างครั้งก็เรียกวาการไถแบบ
แขงขัน หรือการไถแบบสมบูรณ ซึ่งเหมาะสําหรับพื้นที่ที่เรียบไมมีสิ่งกีดขวาง มีขนาดกวาง
และยาวพอประมาณ การไถแบบนี้เหมาะสําหรับแปลงขาวโพด และพืชหัวตางๆ
1.2.1 เริ่มตนจากการไถเปดรองตื้นๆจากกลางพื้นที่เชนเดียวกับขอ 1.1.1
1.2.2 เมื่อไถจนถึงแนวหัวงานที่กําหนดไว ก็ยกไถขึ้นและเลี้ยวรถกลับ
ใหลอหนาซายอยูบนขี้ไถของรอยที่ 1 ปรับแขนกลางใหสั้นเขาพอควร ปรับแขนลากขางขวา
ใหยาวออกพอควรใหไถกินดินลึกลงไปอีกเล็กนอย แลวเริ่มไถรอยที่ 2 โดยใชความเร็วเพิ่มขึน้
อีกเล็กนอยจนสุดหัวงาน
61

รูปที่ 2.21 การไถเปดรองเดี่ยว


62

รูปที่ 2.22 การไถเปดรองคู


63

1.2.3 ไถรอยที่ 3 โดยเลี้ยวกลับรถแทรกเตอรและวางลอขวาลงในรองไถ


ที่ 2 หลังจากนั้นก็ปรับแขนกลางและแขนลากขางขวาใหผาลทุกตัวกินดินตามที่ตอ งการแลวจึง
ไถ ถาความเร็วของรถไมพอ ขี้ไถจะสาดออกไปไมสวย ดังนั้น จึงอาจจะตองเพิ่มความเร็วให
สูงขึ้นอีก
1.2.4 เมื่อสุดหัวงานแลวก็ไถรอยที่ 4 และรอยตอๆ ไปอีกเรื่อยๆ จนเสร็จ
งาน แตอยาลืมวารถแทรกเตอรนั้นเลี้ยวกลับไปทางขวามือและลอขวาอยูในรองไถเสมอ
การไถวิธีนี้จะไดขี้ไถที่สม่ําเสมอ ไมนูนเปนสันเชนเดียวกับการไถเปด
รองเดี่ยว แตใชเวลาในการเปดงานและปรับมากกวา
2. การไถใหขี้ไถแยกออกจากกัน (casting) หรือไถวนซาย (รูปที่ 2.23)
2.1 ปรับผาลไถทุตวั ใหกินดินเทาๆ กัน ตามความตองการ
2.2 เริ่มตนไถจากขอบนอกใดขอบนอกหนึ่งของพื้นที่เพาะปลูก โดยกําหนดให
ลอขวาทั้งสองชิดขอบใหมากที่สุด และหมุนพวงมาลัยไปทางซายเสมอเมื่อมาถึงบริเวณหัวมุม
2.3 เมื่อไถครบรอบแลวก็ไถรอยที่ 2 3 และอื่นๆ โดยกําหนดใหลอขวาของรถ
แทรกเตอรอยูใ นรองไถของรอบที่ผานมาเสมอ
2.4 เมื่อไถมาถึงแนวกอนสุดทายควรจะตรวจสอบความกวางของพื้นที่ที่ยังไม
ถูกไถ ใหเหลือเทากับความกวางของชุดไถ เพื่อที่การไถเที่ยวสุดทายจะไดไถเก็บงานไดหมด
พอดี
2.5 เมื่อเสร็จงานรถแทรกเตอรตจะอยูก ลางพื้นที่ ดังนั้นจึงตองขับรถ
แทรกเตอรออกมาพรอมกับไถใหกินดินตืน้ ๆ เพื่อกลบรอยลอ
การไถวิธีนี้เหมาะสําหรับพื้นที่ที่มีขอบนอกไมตรง หรือมีสิ่งกีดขวางมาก เชน
ตอไม หนองน้ํา แตถาไถเปนประจําทุกๆ ป จะทําใหพื้นที่เปนแองคลายกระทะมีน้ําขังกลาง
พื้นที่ เพราะขีไ้ ถบริเวณกลางพื้นที่จะแยกออกจากกัน เกิดรองอยูตลอดเวลา

รูปที่ 2.23 การไถใหขี้ไถแยกออกจากกัน


64

การเลี้ยวกลับหัวงาน
การเลี้ยวรถแทรกเตอรกลับที่หัวงานเปนปจจัยอยางหนึ่งที่ทําใหการไถเสร็จสิ้นไปดวย
เวลาอันรวดเร็ว รูปที่ 2.24 แสดงวิธีเลี้ยวกลับรถแทรกเตอรที่ถูกตอง และประหยัดเวลา
การเลี้ยวกลับแตละวิธสี ูญเสียเวลาที่แตกตางกัน วิธีเลีย้ วกลับที่เร็วที่สุดหรือเสียเวลา
นอยที่สุดคือวิธีที่ 1 และ2 สวนวิธีที่ 3 และ4 นั้นจะใชกต็ อเมื่อมีความจําเปน เชนความกวางของ
หัวงานเล็กเกินไป

รูปที่ 2.24 วิธเี ลี้ยวกลับหัวงาน

การเก็บงาน
หลังจากที่ทําการไถไปจนเหลือพื้นที่ดานขางทั้งสองหรือขางงานเทากับพื้นที่หวั งานทั้ง
สองดาน ซึ่งเปนที่กลับรถแทรกเตอรแลวก็จะทําการไถเก็บงานโดยการไถวนรอบพื้นที่ที่ยังไม
ถูกไถนี้
65

สําหรับการไถนั่นควรจะไถใหทิศทางการสาดของขี้ไถสลับกันทุกป ปแรกไถใหขี้ไถสาด
เขาไปในแปลง ทั้งนี้ เพื่อปองกันไมใหพื้นที่ของหัวงานเอียงไปขางใดขางหนึ่ง ถาไถแบบ
เดียวกันซ้ํากันทุกๆ ป
การไถเก็บงานโดยใหขี้ไถสาดเขาไปในแปลง (รูปที่ 2.25) จะเริ่มไถตอจากไถรอบ
สุดทายทางดานขางงานเมื่อเห็นวาพื้นทีข่ องขางงานเทากับพื้นที่หวั งานแลว พอไถมาถึง
บริเวณมุมดังในรูปก็ยกไถขึน้ (รูปที่ 2.25 ก) พรอมกับเลียวรถแทรกเตอรทํามุม 270 องศา
เพื่อทําการไถหนาหัวงาน ครั้นไถไปจนถึงมุมอีกดานหนึ่งแลวก็เลี้ยวรถเชนเดิม และทําการไถ
ตอไปเรื่อยๆ แตเมื่อทําการไถไปหลายๆ แนวแลว พื้นที่ในการเลีย้ วรถจะลดลงจนไมพอก็ตอง
ใชวธิ ีถอยหลังเขาไปเก็บงานดังรูปที่ 2.25 ข โดยการยกไถแลววิ่งไปขางหนาเมื่อถึงบริเวณมุม
ที่จะเลี้ยวรถ แลวถอยรถเขาไปตั้งแนวที่ขอบเขตงานหรือขอบแปลง หลังจากจากนั้นก็ทําการ
ไถตอไปขางหนาเชนเดิม เมื่อไถมาถึงบริเวณมุมตอไปก็ทําการเลี้ยวรถเชนเดิม และทําการไถ
ตอไป ดังรูปที่ 2.25 ค จนเต็มพื้นที่ การไถเก็บงานแบบนี้จะปรากฏแนวลอรถทับขี้ไถ และ
พื้นที่สามเหลีย่ มเล็กๆ ที่ไมถูกไถดังในรูปที่ 2.25 ง

รูปที่ 2.25 การไถใหขี้ไถสาดเขาแปลง

การไถเก็บงานโดยใหขี้ไถสาดออกไปจากแปลงนั้น จะไถวนซายหรือทวนเข็มนาฬิกา
โดยเริ่มไถจากขอบเขตงานดานใดดานหนึ่ง เชน ขางงานดังในรูป 2.26 ก เมื่อไถเขาไปใกลมุม
ของแปลงในระยะที่จะเลี้ยวรถไปยังขอบเขตงานอีกดานหนึ่ง ก็ใหยกไถขึ้นและเลี้ยวรถไปตั้งลํา
ชิดกับขอบเขตงานของดานนั้น แลวจึงถอยรถไปใหผาลตัวสุดทายจรดขอบเขตงาน หลังจาก
นั้นก็ทําการไถตอไปขางหนา เมื่อไถมาถึงบริเวณทีจ่ ะเลี้ยวรถก็ใหดําเนินการเชนเดิม ดังรูปที่
66

2.26 ข และ ค จนเต็มพื้นที่ การไถเก็บงานแบบนี้จะเกิดพื้นที่สามเหลี่ยมเล็กๆ บริเวณ


ขอบเขตงานที่ไมถูกไถ รวมทั้งพื้นที่สามาเหลี่ยมใหญบริเวณมุมของหัวงานที่จะตองถอยรถเขา
ไปไถเก็บงาน ซึ่งจะเกิดรอยย้ําของลอรถแทรกเตอร ดังรูปที่ 2.26 ง นอกจากนั้นยังตอง
ระมัดระวังการไถเก็บงานรอบสุดทายเพราะอาจจะเกิดรองเนื่องจากขี้ไถแยกออกจากกัน ดังนั้น
จึงควรไถรอบสุดทายใหตื้นๆ

รูปที่ 2.26 การไถใหขี้ไถออกจากแปลง

รูปที่ 2.27 ถาเปนรูปทีแ่ สดงขั้นตอนการไถโดยสรุป เริ่มตั้งแตการเปดแนวหัวงาน


การไถเปดรองคู การไถเปดรองเดี่ยว รวมทั้งรายละเอียดตางๆ ในการไถ และการไถเก็บงาน
ซึ่งเปนขั้นตอนสุดทายกอนที่จะเสร็จสิ้นการไถ
การไถใหไดผลดีจึงขึ้นอยูกับการตัดสินใจเลือกตําแหนงที่จะเริ่มตนงาน ถาเลือกได
ถูกตองและเหมาะสม การไถก็เปนไปดวยความเรียบรอย พื้นที่ทุกสวนของแปลงจะถูกไถจน
หมดภายในระยะเวลาที่รวดเร็ว ไมตองเสียเวลาไปในการกลับรถหรือถอยหลังเขาไปเก็บงานที่
เหลือ ดังนั้น การไถจึงควรจะคํานึงถึงเวลาและคุณภาพเปนสําคัญ
67

67
รูปที่ 2.27 ขั้นตอนการไถ
68

จอบหมุน
จอบหมุนเปนเครื่องมือที่ใชในการเตรียมดินชนิดหนึ่ง โดยอาจจะถือวาเปนเครื่องมือ
เตรียมดินครั้งที่หนึ่ง หรือครั้งที่สองก็ได ที่วาเปนเครื่องมือเตรียมดินครั้งที่หนึ่ง เพราะ
สามารถที่จะใชเครื่องมือนี้เพียงหนเดียวก็ปลูกพืชได แตดินตองอยูในสภาพที่ยงั ไมอัดตัวแนน
หรือแข็งมากเกินไป สวนการใชจอบหมุนเปนเครื่องมือเตรียมดินครั้งที่สองนั้น เปนการใช
หลังจากการไถแลว

รูปที่ 2.28 จอบหมุนและการทํางาน

เครื่องมือชนิดนี้สามารถยอยขนาดกอนดินใหเล็กลงไดตามความตองการ และทํางาน
ไดเรียบรอย รวดเร็วกวาเครื่องมือเตรียมดินชนิดอื่น แตใชกําลังมากกวาในกรณีทรี่ ถ
แทรกเตอรติดเครื่องมือเตรียมดินชนิดอื่น ถึงแมวาขณะที่จอบหมุนทํางานจะเกิดแรงผลักชวย
ใหรถแทรกเตอรเคลื่อนที่ไปขางหนา ซึ่งเปนการชวยกําลังเครื่องยนตในการขับเคลื่อนตัวรถ
ขณะทําการพรวนดินก็ตาม กําลังของรถแทรกเตอรสวนใหญทใี่ ชไปในการขับจอบหมุนก็เพื่อ
หมุนใบมีดใหตัดดิน และเอาชนะแรงตานของดิน ดังนั้น จอบหมุนจะทํางานไดดี และใชกําลัง
69

จากรถแทรกเตอรนอยหรือมากยอมขึ้นอยูกับความเร็วรอบที่หมุน และลักษณะรูปรางของใบมีด
เปนสําคัญ

ลักษณะทัว่ ไป
จอบหมุนประกอบดวยชุดของใบมีด ติดอยูกับเพลา โดยติดตั้งตอๆ กันไปมีลักษณะ
คลายเกลียวสวาน เรียกวา โรเตอร (rotor) ดังรูปที่ 2.28 ก เวลาตองการใหโรเตอรหมุน เพลา
อํานวยกําลังของรถแทรกเตอรก็สงกําลังมายังชุดเกียรของจอบหมุน ซึ่งจะทดรอบสงกําลังตอไป
ยังโซในกลองหุมโซ ไปหมุนเพลาของชุดใบมีดหรือที่เรียกวา โรเตอร อีกทีหนึ่ง ใบมีดจะสับเขา
ไปในดิน และเหวี่ยงดินออกไปขางหลัง ดังรูปที่ 2.28 ข และ 2.28 ค

ขณะที่รถแทรกเตอรเคลื่อนที่ไปขางหนา ใบมีดใบเดิมจะสับเขาไปในดินอีกครั้งหนึ่ง
ประมาณ 2-3 นิ้ว การกระทําอยางนี้จะเกิดซ้ําแลวซ้ําอีก ระยะหางระหางการสับของใบมีดใบ
เดิมเรียกวา ระยะสับ (cut) ดัง A ในรูปที่ 2.28 ข และ 2.28 ค ซึ่งระยะสับนี้จะขึ้นอยูกบั
ความเร็วในการเคลื่อนที่ของรถแทรกเตอร และความเร็วของโรเตอร
ระยะสับยิ่งเล็ก ยิ่งไดดินละเอียด และละเอียดมากขึน้ เมื่อถูกเหวี่ยงใหไปกระทบกับ
กระบังหลัง ดังรูปที่ 2.28 ข
ประโยชนที่สาํ คัญของจอบหมุน ไดมาจากใบมีดที่หมุนดวยความเร็วสูง ทําใหสับดิน
ไดดีถูกกีดขวางนอย และหลังจากใชเครื่องมือนี้ผืนดินคอนขางจะไดระดับ แตก็มีขอเสียคือ
ตองการกําลังในการทํางานมาก และไดความลึกจํากัดอยูระหวาง 4 - 4 ½ นิ้ว (10-12 ซม.)
ถานําไปใชงานในสภาพดินที่แหง ใบมีดาจะสึกเร็ว หรือถาโรเตอรหมุนเร็วมากก็จะสับดินจน
แหลก ซึ่งอาจจะทําใหเกิดปญหาการกัดเซาะ (erosion) ขึ้นภายหลัง ปญหานี้โดยมากจะ
เกิดขึ้นเมื่อใชจอบหมุนในการเตรียมดินครั้งที่สอง ซึ่งจะแกใหโดยใหโรเตอรหมุนชาลง
จอบหมุนแบงออกเปน 3 แบบตามลักษณะการขับของเพลาใบมีด (รูปที่ 2.29)
1. ระบบขับกลาง การหมุนของเพลาใบมีดระบบนี้ไดรับแรงขับจากเพลาอํานวยกําลัง
ที่ขับเฟองเกียรที่อยูกึ่งกลางของเพลาใบมีด
2. ระบบขับขาง การหมุนของเพลาใบมีดระบบนี้ไดรับแรงขับจากเพลาอํานวยกําลังที่
ขับเฟองเกียรที่มีเพลาตอไปยังเฟองโซซึ่งอยูดานขาง
3. ระบบขับแยกสวน เนือ่ งจากเพลาใบมีดมี 2 สวน ดังนี้ การหมุนเพลาใบมีดจึงมี
อาศัยแรงขับจากเพเลาอํานวยกําลังที่แยกออกเปน 2 ขาง แตอาศัยหองเฟองเกียรรวมกัน
สําหรับใบมัดของขอบหมุนนั้นสามารถจัดเปนกลุมตามลักษณะและรูปรางได 3 กลุม
(รูปที่ 2.30) ดังนี้
1. ใบมีดธรรมดา ใบมีดลักษณะนี้สามารถทําใหดินแตกตัวไดดี เหมาะสําหรับการ
พรวนดินในสภาพพื้นที่ที่เปนดินแข็ง โดยอาศัยกําลังจากรถแทรกเตอรนอย
70

2. ใบมีดแบบรูปตัวซี ใบมีดแบบนี้มคี วามสามารถในการทําใหดนิ แตกตัวไดดีไมเทา


ใบมีดแบบธรรมดา และใชกําลังของรถแทรกเตอรมากกวาอีกดวย แตถาหากความชื้นของดิน
สูง ความตองการกําลังรถแทรกเตอรจะนอยกวาใบมีดแบบธรรมดา ดังนั้น ใบมีดแบบนีจ้ ึง
เหมาะสําหรับใชติดจอบหมุนเพื่อเตรียมดินทํานา
3. ใบมีดรูปตัวแอล ใบมีดแบบนี้ใชติดจอบหมุนเพื่อเตรียมดินในการทําไร แมวา
ความสามารถในการตัดดินของใบมีแบบนี้จะดีไมเทากับใบมีดทั้งสองแบบขางตน แตก็มีความ
แข็งแรงมากกวา

รูปที่ 2.29 ลักษณะการขับหมุนของเพลาใบมีด

รูปที่ 2.30 ลักษณะของใบมีด

การใช การปรับจอบหมุน
1. เลือกใชความเร็วของโรเตอร แลความเร็วของการเคลื่อนที่ของรถแทรกเตอร ให
เหมาะสมกับงานที่จะทํา ในพื้นที่ที่มีหญามากควรจะใชความเร็วของโรเตอรสูง และความเร็ว
ของรถแทรกเตอรต่ํา สวนพื้นที่ที่มีหญานอย ควรจะกําหนดใหใบมีดสับดินใหไดระยะสับกวาง
ขึ้น โดยการลดความเร็วของโรเตอร หรือเพิ่มความเร็วของรถแทรกเตอร หรือทําทั้งสองอยาง
2. ปรับลอปรับความลึกใหไดความลึกมากที่สุดเทากับที่จะปรับได แตก็ไมควรจะลึก
เกินกําลังที่รถแทรกเตอรจะสามารถขับเคลื่อนไปได ดังนั้น กําลังมาของรถแทรกเตอรจึงเปน
ปจจัยสําคัญทีจ่ ํากัดความลึกของการทํางาน
71

3. เมื่อมองจากดานหลังของรถแทรกเตอร จอบหมุนควรจะจะอยูในแนวระดับขนาน
กับพื้นดิน เชนเดียวกับเครือ่ งมือเตรียมดินชนิดอื่นๆ ถาไมไดระดับก็ปรับไดที่คันปรับระดับ ซึ่ง
จะทําใหแขนลากขางขวายกขึ้นหรือต่ําลง (รูปที่ 2.31)
4. เมื่อมองจากดานขางของรถแทรกเตอร จอบหมุนควรจะอยูในแนวระดับขนานกับ
พื้นดิน ถาไมไดระดับก็ปรับไดที่แขนกลาง (รูปที่ 2.32)
5. การปดหรือเปดกระบังหลังขึ้นอยูกับความตองการที่จะใหดินในแปลงหยาบ หรือ
ละเอียด ถาตองการใหดินละเอียดก็ปด ถาตองการหยาบก็เปด
6. เลือกใชความเร็วของโรเตอรต่ําๆ และหลีกเลีย่ งการใชจอบหมุนในดินที่มีสภาพแหง
มาก เพื่อลดความสึกหรอของใบมีด
7. ในการขับรถแทรกเตอรลากจอบหมุนเพื่อยอยดินนั้น ควรจะเริ่มตนจากกึ่งกลางของ
ดานใดดานหนึ่งกอน เมื่อขับรถแทรกเตอรไปจนถึงกึ่งกลางของดานตรงกันขามแลวก็เลี้ยวกลับ
ทางขวาในหัวงาน ใหดานขางของจอบหมุนชิดกับรอยพรวนที่เกิดจากจอบหมุนในรอบกอน
สําหรับตอๆ ไปก็ยังคงเลี้ยววนขยายวงออกไปเรื่อยๆ ดวยวิธกี ารขางตนจนกวาจะหมดแปลง
สําหรับการเตรียมดินดวยวิธีอื่นๆ นั้น ไดอธิบายไวในหัวขอขางหนา

รูปที่ 2.31 แนวระดับของจอบหมุน

การจัดเรียงใบมีด
การนําจอบหมุนไปใชเตรียมดินนั้นมีหลายลักษณะ ขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของผูใช
เชน ไถหรือยอยดินใหเรียบ ยกรองตรงกลาง ยกรองสองขาง หรือพรวนระหวางแถว ในการ
ปฏิบัติงานเหลานี้จะตองมีการจัดเรียงใบมีดใหม ดังรูปที่ 2.33
72

รูปที่ 2.32 แนวระดับของจอบหมุนเมื่อมองจากดานขาง

รูปที่ 2.33 การจัดเรียงใบมีดตามลักษณะงาน

วิธีเตรียมดินดวยจอบหมุน
การเตรียมดินดวยจอบหมุนที่ติดทายรถแทรกเตอรมีหลายลักษณะ ดังที่ไดแสดงไวใน
รูปที่ 2.34
73

รูปที่ 2.34 วิธกี ารเตรียมดินดวยจอบหมุนในลักษณะตางๆ

รูปที่ 2.34 ก เปนวิธีการใชจอบหมุนในการยอยดิน โดยเริ่มตั้งแตหัวงานดานหนึ่งไป


ยังหัวงานอีกดานหนึ่งแลวจึงวกกลับมา เปนเชนนี้เรื่อยไปจนหมดแปลง หลังจากนั้นก็ไถเก็บ
หัวงานทั้งสอง จอบหมุนที่ใชในการเตรียมดินดวยวิธีการนี้ควรจะมีความยาวมากกวาความ
กวางของลอ
รูปที่ 2.34 ข เปนวิธีการใชจอบหมุนตีดินเที่ยวเวนเทีย่ วไปจนหมดแปลงแลว จึงตีดิน
ยอนกลับมาทางชองที่ยังไมไดตี หลังจากนั้นจึงไถเก็บหัวงาน การใชจอบหมุนวิธีนี้เหมาะ
สําหรับดินที่เปยกแฉะ ทั้งนี้ตองใชจอบหมุนที่มีความยาวมากกวาความกวางของลอ
เชนเดียวกับวิธีแรก
รูปที่ 2.34 ค เปนวิธีการใชจอบหมุนตีดินจากบริเวณขอบแปลงเขามายังกลางแปลง
วิธีนี้ควรจะใชจอบหมุนที่มีความยาวยื่นออกมาดานซายมากกวาความกวางของลอ
รูปที่ 2.34 ง เปนวิธกี าร ใชจอบหมุนตีดินจากขอบแปลงดานหนึ่งแลววนไปยังขอบ
แปลงอีกดานหนึ่งจนเสร็จงาน โดยไมเหลือพื้นที่หัวงานไวเก็บอีก

การบํารุงรักษา
การบํารุงรักษาจอบหมุนที่สาํ คัญ มีดงั นี้
1. อัดจารบีทหี่ ัวอัด ซึ่งสวนใหญจะอยูท ี่ลอ ปรับความลึกและเพลาอํานวยกําลัง
2. ตรวจ และเติมน้าํ มันเกียรในกลองหุมโซใหไดระดับอยูเสมอ
3. ตรวจ และตั้งโซใหตึงตามที่ระบุไวในหนังสือคูมือ
4. เปลีย่ นใบมีดที่สึกทั้งชุด แตอยาถอดทัง้ ชุดออกทันที ควรจะเปลี่ยนใบมีดที่สกึ ทีละ
อัน ใหตรงตําแหนงเดิมเพื่อปองกันการสับสน
74

พรวนจาน
พรวนจาน (disc harrow) เปนอุปกรณที่ใชสําหรับยอยดินใหแตกเปนกอนเล็กๆ เพื่อให
ดินมีสภาพที่เหมาะสมสําหรับการเจริญเติบโตของพืช โดยไมทําใหวัชพืช เศษพืช หรือพืชคลุม
ดินที่ไถกลบไวกลับขึ้นมาอยูเหนือดิน แตจะสลายตัวกลายเปนปุยตอไป ดังนั้น พรวนจานจึง
เปนเครื่องมือที่เหมาะสมสําหรับเตรียมแปลงเพาะปลูกที่สําคัญ
สําหรับการพรวนนัน้ ความเร็วของรถแทรกเตอรตองสูงพอที่จะทําใหดินแตก
ละเอียดตามความตองการ
ถาการพรวนครั้งแรก ดินบางสวนไมแตกเปนกอนเล็กพอ แตถา พรวนครั้งทีส่ อง ดินก็
ละเอียดมากเกินไป ในสภาพเชนนี้ควรผูกโซตามขวางดานหลังของพรวนเพื่อลากไปกับพื้นดิน
จะทําใหดินเรียบ ไดระดับเหมาะสมสําหรับการหยอดเมล็ดพืช ถาไมมีโซก็อาจจะใชทอนไมลาก
แทนได

รูปที่ 2.35 พรวนจาน


75

ลักษณะทัว่ ไป
พรวนจานมีลักษณะแตกตางกับไถจาน กลาวคือจานพรวนทุกตัวยึดติดกับทอกลวง
เปนแถว ภายในทอกลวงมีแกนยึดติดกับโครงพรวน (รูปที่ 2.35) ขณะทําการพรวน จานพรวน
ทุกตัวหมุนไปรอบๆแกนเพลาทั้งหมด พรวนจานแบงออกเปน 3 แบบ ดังตอไปนี้
1. แบบทีท่ ํางานครั้งเดียว (single acting) หรือแบบรูปตัววี (รูปที่ 2.36) พรวนจาน
ชนิดนี้ประกอบดวยจาน 2 ชุด วางอยูในลักษณะผลักดินออกไปจากแนวทิศทางการเคลื่อนที่
แตเครื่องมือแบบนี้จะทิ้งแนวดินที่ไมถูกพรวนอยูระหวางชองวางของปลายตัววี ซึ่งเปนขอเสียที่
สําคัญที่ทําใหหมดความนิยมใชลงไปเรื่อยๆ ถึงแมวาจะมีการติดตั้งเหล็กสปริงโคงรูปตัวซีเสริม
เขาไป เพื่อทําหนาที่พรวนก็ตาม
2. แบบทํางานสองครั้ง (double acting) (รูปที่ 2.37) พรวนจานแบบนี้มีชุดพรวน
เพิ่มขึ้นอีก 2 ชุด ตอกับแบบ แรกแตอยูในลักษณะตัววีหัวกลับ เพื่อทําหนาที่ผลักดินกลับ
เขาไปอยูในแนวเดิมเหมือนกับกอนที่จะถูกพรวน โดยพรวนจานรูปตัววีชุดแรก (รูปที่ 2.38)
ดังนั้น เมื่อใชพรวนแบบนี้ดนิ จะถูกพรวนสองครั้ง ทําใหดินในแปลงที่ถูกพรวนคอนขางไดระดับ
3. แบบเยื้องขาง (offset) (รูปที่ 2.39) พรวนจานแบบนี้ประกอบดวยชุดพรวน 2 ชุด
วางอยูในลักษณะเปนรูปตัววีนอน พรวนชุดแรกจะทําหนาที่ตัดดินกอนใหญและผลักดินที่ยอย
แลวไปทางขาว หลังจากนั้นพรวนชุดที่สองจะยอยดินอีกครั้งหนึ่งกอนที่จะผลักกลับเขาไปอยูใน
ตําแหนงเดิม พรวนจานแบบนี้มีขอดีคือ เขาไปพรวนใกลกลับตนพืชไดมากกวาแบบอื่นๆ
จานพรวนสวนใหญจะเปนแบบจานกลมขอบเรียบ ถาเปนแบบขอบหยัก (รูปที่ 2.40)
จะนิยมใชในแปลงที่มีหญา หรือวัชพืชคอนขางมาก เพราะตัดหญาไดดี ขนาดของจานสวนมาก
จะมีเสนผาศูนยกลางอยูระหวาง 400 ถึง 700 มิลลิเมตร และความลึกในการพรวนดินประมาณ
1/4 ของเสนผาศูนยของจานพรวน

รูปที่ 2.36 พรวนจานแบบทํางานครั้งเดียว


76

รูปที่ 2.37 พรวนจานแบบทํางานสองครั้ง

รูปที่ 2.38 พรวนจานชุดที่ 2 ผลักดินกลับไปแนวเดิม

หลักการใชงาน
การใชพรวนทีถ่ ูกตองควรจะยึดถือหลักปฏิบัตดิ ังนี้
1. พรวนชุดหนาและชุดหลัง ควรจะตองกินดินลึกเทาๆ กัน ถาชุดใดชุดหนึ่งกินดิน
มากกวากัน จะทําใหรถแทรกเตอรเหไปทางซายหรือขวา และการบังคับพวงมาลัยใหรถเดิน
77

ตรงทําไดยาก
การปรับใหพรวนกินดินลึกเทาๆ กัน ทําไดโดยการขันหรือคลายแขนกลาง ถาขัน
แขนกลางใหสนั้ เขาจะทําใหพรวนชุดหลังสูงขึ้นจากพื้นดิน และถาคลายแขนกลางใหยาวออก
พรวนชุดหนาจะสูงขึ้นจากพื้นดิน
2. เมื่อยืนอยูดานหลังของรถแทรกเตอรขณะทีก่ ําลังพรวนอยู หรือพรวนไปไดสัก 2-
3 เมตร หยุดรถลงมายืนดูดานหลัง คานที่ยึดพรวนควรจะอยูในแนวระดับขนานกับพื้นดิน นั่นก็
หมายความวา พรวนจะไมกนิ ดินลงไปลึกทางดานใดดานหนึ่ง
การปรับใหพรวนอยูในแนวระดับขนานกับพืน้ ตองปรับทีค่ ันปรับระดับ การหมุนคัน
ปรับระดับจะทําใหแขนลากขางขวาสูงขึน้ หรือลดลง แลวแตทศิ ทางของการหมุน
3. ความลึก และความเร็วในการพรวนมีความสําคัญมาก ความลึกของงานจะเพิ่ม
ขึ้นถาเพิ่มน้ําหนักลงบนคาน หรือโครงของพรวน หรือถาปรับมุมระหวางจานพรวนกับทิศทาง
ของการพรวนใหเล็กลง

รูปที่ 2.39 จานพรวนแบบเยื้องขาง


78

รูปที่ 2.40 จานพรวนแบบขอบหยัก

ความเร็วของการพรวนก็มีผลกระทบกระเทือนตอความลึก เมื่อความเร็วลดลงพรวน
จะกินดินลึกแตดินจะแตกนอยลง เมื่อเพิ่มความเร็วขึ้นพรวนจะกินตืน้ แตดินจะแตกมากขึ้น
4. การบํารุงรักษาพรวนจานที่สาํ คัญที่สุดคือการอัดจาระบี หัวอัดจาระบีควรจะสะอาด
จาระบีผานเขาไปไดงาย ถาชํารุดหรืออุดตันควรจะเปลีย่ นใหม
ขอสําคัญอีกประการหนึ่งคือพรวนที่บิ่น หรือหัก ควรจะเปลี่ยนใหม และควรจะตรวจ
สอบดูนอตที่ยดึ พรวนเปนประจํา ถาหลวมตองขันใหแนนเสมอ

เครื่องมือประเภทซี่
เครื่องมือเตรียมดินประเภทซี่(tined implement) (รูปที่ 2.41) เปนทั้งเครื่องมือเตรียม
ดินครั้งที่หนึ่ง เชนไถดินดาน ไถสิ่ว และเครื่องมือเตรียมดินครั้งที่สอง เชนพรวนซี่ พรวนสปริง

รูปที่ 2.41 เครื่องมือประเภทซี่

ลักษณะทั่วไป
เครื่องมือประเภทนี้ มีหลักการทํางานคือ จิกลงไปในดิน และถูกลากไปตลอดแนวทําให
ดินแตกรวนโดยไมมีการพลิกดินเชนไถหัวหมู หรือไถจาน คุณภาพของดินที่ตองการขึ้นอยู
79

กับความลึก ระยะระหวางซี่ มุมของซี่ และความชื้นในดิน ดังนั้นเครื่องมือแตละชนิดจึงแตกตาง


กันที่ขนาด ความแข็งแรงของวัสดุที่สราง และหัวเจาะที่ยึดติดกับปลายเครื่องมือประเภทนี้
เครื่องมือเหลานี้ไดแกไถดินดาน (subsoiler) ไถสิ่ว (chisel plough) คราดซี่ (tined cultivator)
และพรวนซี่ (tined harrow) และพรวนสปริง (spring tooth harrow)

ไถดินดาน
ไถประเภทนี้ใชระเบิดดินดานหรือดินชั้นลางที่ถูกอัดแนน ซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากน้ําหนัก
ของรถแทรกเตอร หรือเครื่องมือทุนแรงที่มี่น้ําหนักมากซึ่งเคลื่อนที่ผานบอยๆ ทําใหดินนั้น
แตกแยกออก ปลอยใหน้ําไหลลงไปสูดินชั้นลาง และน้าํ ใตดินเคลื่อนที่ไปสูดินชั้นบน
นอกจากนั้นยังชวยใหรากพืชเจริญเติบโตลงไปหาอาหารในดินชั้นลางอีกดวย (รูปที่ 2.42)

รูปที่ 2.42 ผลที่ไดจากการไถดินดาน

ไถดินดานเปนไถทีม่ ีขนาดใหญ (รูปที่ 2.43) ทําดวยเหล็กหนาเพื่อความ


แข็งแรง เพราะจะตองไถลงไปลึกตั้งแต 40-70 เซนติเมตร หรือมากกวา ขาไถมีทงั้ แบบตรง
แบบโคงปานกลาง และแบบโคงมาก โดยที่หนาขาไถนั้นอาจจะมีเหล็กประกับที่มคี วามคมซึ่ง
ถอดเปลี่ยนไดติดอยู สําหรับปลายขาไถนั้นก็มีหัวเจาะที่มีหลายแบบติดอยู บางแบบก็มี
ปก บางแบบก็นูน ซึ่งแตละแบบทําใหดินแตกรวนและพูนสูงขึ้นมาไมเหมือนกัน ทั้งนี้มุมที่
ติดตั้งหัวเจาะนี้ก็มีสวนเกี่ยวของดวย อยางไรก็ตามเครื่องมือประเภทนี้ตองอาศัยรถแทรกเตอร
ที่มีกําลังสูงถึง 60-85 แรงมา ในการฉุดลาก โดยปกติจะลากไดไมเกิน 2 ตัว และระยะ
ระหวางไถทั้งสองก็ไมควรจะเกิน 1 ½ เทาของความลึกที่จะไถ ถาหางมากจนเกินไปหนาดินจะ
พูนขึ้นมาเปนสัน ผิวแปลงจะเปนลูกคลื่น
80

รูปที่ 2.43 ลักษณะของไถดินดาน

ไถสิ่ว
ไถประเภท (รูปที่ 2.44) นี้ใชสําหรับระเบิดดินเชนเดียวกัน แตจะตืน้ กวาไถดิน
ดาน และลึกกวาการไถธรรมดา ดังนั้นวัสดุที่ใชสรางจึงมีความแข็งแรงนอยกวา รถแทรกเตอร
ขนาดกลางก็สามารถลากไดถึงครั้งละ 8 ตัว โดยติดตั้งใหหางกัน ประมาณ 30 เซนติเมตร ตาม
หลักการแลวลักษณะของขาไถ และมุมยกของปลายหัวเจาะจะมีผลตอแรงฉุดลากมาก มุมยกนี้
คือมุมที่เอียงออกไปจากระดับดิน เมื่อไถจมลงไปในดิน โดยปกติขาไก และมุมยก 20 องศา
เปนมุมที่ใชแรงฉุดลากต่ํา ขาไถทีต่ รงยอมจะถูกตานทานจากดินคอนขางสูง สวนขาไถโคง
มักจะเกิดมีการสะสมและอัดตัวของดินในสวนโคงนั้นมาก ทําใหเสียกําลังฉุดลากสูงกวาเมื่อไถ
ดินลึก

รูปที่ 2.44 ลักษณะของไถสิ่ว


81

รูปที่ 2.45 ลักษณะการแตกตัวของดินเมื่อใชไถสิ่ว

รูปที่ 2.45 แสดงลักษณะการแตกตัวของดินในขณะใชไถสิ่ว สวนรูปที่ 2.46 นั้น แสดง


การแตกตัวของดินเมื่อใชหัวเจาะของไถสิ่ว 2 แบบ

รูปที่ 2.46 แสดงการแยกตัวของดินเมื่อใชหัวเจาะ 2 แบบ


82

คราดซี่
เครื่องมือประเภทนี้ (รูปที่ 2.47) มีความแข็งแรงนอยกวาไถสิว่ เพราะใชกับงานที่อยู
ใกลผวิ ดินเชน ยอยกอนดินที่ไดจากการใชเครื่องมือเตรียมดินครั้งที่หนึ่ง กําจัดวัชพืชที่ขึ้นอยู
ระหวางแถว หรือถอนรากวัชพืชออกจากดิน
หัวเจาะทีต่ ิดอยูกับปลายซีค่ ราดมีหลายลักษณะขึ้นอยูก ับงานที่ตองการ ดังที่แสดงไว
ในรูปที่ 2.48

พรวนซี่
เครื่องมือประเภทนี้ (รูปที่ 2.49) ไมมีหัวเจาะที่เปลีย่ นได ซี่พรวนจะสั้น มีน้ําหนัก และ
รูปรางที่แตกตางกัน ซี่พรวนที่โคงไปขางหนาจะกินดินไดลึกกวาซี่พรวนตรงและโคงไปดานหลัง
เครื่องมือประเภทนี้เหมาะสําหรับแปลงเพาะที่ตองการเตรียมดินละเอียดมาก โดยปกติซี่ฟนจะ
ยึดติดกับโครงพรวนแบบสลับฟนปลาตั้งแต 20-30 ตัว

รูปที่ 2.47 คราดซี่แบบตางๆ

รูปที่ 2.48 หัวเจาะของคราดซี่แบบตางๆ


83

รูปที่ 2.49 พรวนซี่แบบตางๆ

พรวนสปริง
เครื่องมือประเภทนี้ (รูปที่ 2.50) ใชสําหรับยอยดินใหแตกรอน ทําลายวัชพืช และ
ผสมปุยหรือวัสดุเนาเปอยใหเขากับดินไดดี พรวนแบบนี้กินดินไดลกึ และสม่ําเสมอกวาพรวนซี่
นอกจานั้นยังใชไดดีในสภาพดินที่มีหิน ขรุขระและไมเรียบไดดี

รูปที่ 2.50 พรวนสปริง

การใชเครื่องมือประเภทซี่
1. กรณีที่ใชเครื่องมือที่มีซี่หลายๆ ตัว ตองแนใจวาคาน (toolbar) อยูในแนวระดับ
ขนานกับพื้นดิน (ปรับไดที่คันปรับระดับ)
2. ระดับขางหนาและขางหลังของเครื่องมือตองไมสูงหรือต่ํา ถาไมไดระดับปรับที่แขน
กลาง
3. ความลึกและความเร็วของการทํางานเปนสิ่งที่สําคัญที่สุด ถาความเร็วเพิ่มขึ้น จะ
ทําใหยอยดินไดละเอียดขึ้น แตเมื่อความเร็วเพิ่มขึ้น ความลึกจะลดลงเพราะกําลังรถ
แทรกเตอรจํากัด ดังนั้น จึงจําเปนตองเลือกวาจะใหเครื่องมือกินดินลึกแตใชความเร็วต่ํา หรือ
กินดินตื้นแตใชความเร็วสูง
84

4. การบํารุงรักษาประจําวันที่สําคัญ คือตองตรวจเช็คสกรูและนอต นอตที่เสียดสีกับ


ดินบอยๆ จะสึกและหลวม
ตรวจสอบดูวา สวนปลายซีห่ รือหัวเจาะสึกหรอหรือเสียหายหรือไม ถาพบควรจะเปลี่ยน
ทันที เพื่อที่จะใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ
ตรวจสอบดูดวาคาน (toolbar) โคงงอหรือไม เนื่องจากวาซี่มีโอกาสที่จะกระแทกสิ่ง
กีดขวาง และกระทบกระเทือนถึงคาน ทําใหคานโคงงอได

เครื่องมือยกรอง
เครื่องมือยกรอง (ridger) แบงออกเปน 2 แบบ คือ แบบหัวหมู (moldboard) และ
แบบจาน (disc) แบบหัวหมูแบงยอยออกไดอีกเปนชนิดปกนูน (convex board) และชนิดปกเวา
(concave board)
เครื่องมือยกรองแบบหัวหมูชนิดปกนูนจะงัด และดันดินออกดานขางทั้งสองขาง (รูปที่
2.51 ก) ทําใหเกิดสันรอง ที่ดินอัดตัวกันคอนขางแนน ซึ่งเหมาะสําหรับปลูกมันฝรัง่ และถั่วลิสง
เครื่องมือยกรองแบบหัวหมูชนิดปกเวา จะงัดดินและดันเขาดานใน (รูปที่ 2.51 ข) เกิด
เปนสันรองขึ้นเชนเดียวกัน โดยแทจริงแลวการทํางานของปกทั้งสองขางก็เหมือนกับเอาไถหัว
หมู 2 ตัว มาหันหลังชนกัน แตละตัวก็ทาํ หนาที่เหมือนกับพลิกดิน เครื่องมือชนิดนี้ใชแทนไถ
ได โดยใชในการเบิกสันรองเกาซึ่งเคยปลูกพืชแลว เพื่อใหไดสันรองใหม สําหรับพืชรุนใหม
ตอไป
เครื่องมือยกรองแบบจาน (รูปที่ 2.51 ค) จะทําใหเกิดสันรองใหญแตไดดินหยาบ ซึ่ง
เหมาะสําหรับพืชหัว เชน มันสําปะหลัง มันเทศ โดยที่ชาวไรสามารถจัดจุดที่จะปลูกใหเหมาะ
สําหรับการหยอดเมล็ด และปลอยใหสันรองที่เหลือเปนดินหยาบ เพื่อปองกันการกัดเซาะ

การใชเครื่องยกรองแบบหัวหมู
การใชเครื่องมือแบบนี้มีขอที่ควรจะปฏิบตั ิตาม โดยไมคํานึงถึงวาจะเปนชนิดปนนู
หรือปกเวา ดังนี้
1. ตัวทําสันรองที่ติดกับคาน (toolbar) จะตองอยูในแนวระดับขนานกับผิวดินขณะที่ทํา
การยกรอง ถาไมไดระดับก็ปรับไดที่คันปรับระดับ (leveling box) โดยการยกหรือลดแขนลาก
ขางขวา
2. ตัวทําสันรองจะตองอยูในแนวระดับทัง้ หนาและหลัง เมื่อมองทางดานขางของ
แทรกเตอร ถาไมไดระดับก็ใหปรับทีท่ ี่แขนกลาง
3. ถามีครีบกันโคลง (stabilizer fin) ติดอยูควรจะปรับใหสูงขึ้นหรือต่ําลงตามระดับ
ความสูงของสันรองที่ตองการยก
85

รูปที่ 2.51 เครื่องมือยกรอง ก) แบบปกนูน ข) แบบปกเวา ค) แบบจาน

4. ถามีปก (board) ที่ปรับได ปกควรจะตองอยูในตําแหนงที่เมื่อยกสันรองแลว สันรอง


จะมีขนาดตามความตองการ
5. ควรจะตรวจสอบและขันนอตที่หลวมเปนประจํา สวนปลายผาล (share) ที่สึกหรอ
นั้น ควรจะซอมแซมหรือเปลี่ยนใหมทันที
86

การใชเครื่องยกรองแบบจาน
เครื่องยกรองแบบนี้มีขอทีค่ วรจะปฏิบัตติ าม ดังนี้
1. ตัวทําสันรองควรจะอยูในแนวระดับกับดิน ขณะกําลังยกรอง โดยเฉพาะอยางยิ่ง
เมื่อมีการใชจานหลายชุด การปรับก็ปรับไดที่คันปรับระดับ
2. การใชเหล็กกันโคลง (stabilizer bar) จําเปนอยางยิ่ง เพราะจะตองปองกันสันรอง
ไมใหเบนไปดานหลัง หรือบิดเบี้ยว
3. ความเร็วและความลึกขณะกําลังยกรอง มีความสําคัญมากเชนกัน ถายิ่งลึกสันรอง
ยิ่งสูง และมีดินใหพืชมาก เหมาะสําหรับพืชหัว ถาความเร็วยิ่งสูง ดินยิ่งถูกยอยมากและดินที่
สันรองจะละเอียด เพราะฉะนั้น ควรจะวิง่ รถแทรกเตอรดวยความเร็วสูง และตั้งใหกินลึก
4. ควรจะอัดจารบีที่แบริ่งของจาน และตรวจดูความแนนของนอตเปนประจํา สวน
จานที่หักหรือบิ่นควรจะเปลีย่ นใหมหรือลับใหคม
87

บทที่ 3 เครื่องปลูก
(Planters)
88

บทนํา
การปลูกพืชเปนงานที่เกี่ยวกับการนําเมล็ด ตนกลาและทอนพันธุล งสูดินที่ไถพรวนไว
แลว โดยใหไดระยะและความลึกตามทีต่ องการ ในขณะเดียวกันก็ทําการกลบดินที่อยูโดยรอบ
ดวย
โดยทั่วๆ ไป การปลูกพืชมีลักษณะ 3 ประการ คือ การปลูกบนพืน้ ราบ การปลูกใน
รอง และการปลูกบนสันรอง สําหรับการปลูกบนพื้นราบนั้น มักจะทําในบริเวณที่สภาพพื้นที่
และสิ่งแวดลอมเหมาะกับการเจริญเติบโตของพืช มีความชื้นพอเหมาะ ไมมีปญหาเรื่องน้ําทวม
สวนการปลูกพืชในรองนั้น เหมาะสําหรับพื้นที่เพาะปลูกที่คอนขางแหงแลง เพราะสามารถให
น้ําไปตามรองได และดินภายในรองยังรักษาความชืน้ ไวไดดีกวาดินที่สันรอง นอกจากนั้นสัน
รองยังทําหนาที่บังคับลมใหกับตนพืชไดอีกดวย สําหรับการปลูกบนสันรองนั้นเหมาะสําหรับ
พื้นที่ที่มีน้ํามาก เกิดน้ําทวมบอย เพราะน้ําสามารถระบายออกไปตามรองได นอกจากนั้นยัง
เหมาะสําหรับพืชที่ไมชอบความชื้นสูง

รูปที่ 3.1 ลักษณะการปลูกพืช

เครื่องปลูกสามารถจําแนกออกไดเปน 3 ประเภทตามลักษณะของสิ่งที่จะปลูกคือเมล็ด
พันธุ ตนกลา หรือทอนพันธ ดังแผนผังที่แสดงไวในรูปที่ 3.2
89

เครื่องปลูก

เครื่องปลูกที่ใชเมล็ด เครื่องปลูกที่ใชตนกลา เครื่องปลูกที่ใชทอนพันธุ

เครื่องหยอดเมล็ด เครื่องดํานา เครื่องปลูกออย

เครื่องโรยเมล็ด

เครื่องพนหวานเมล็ด

รูปที่ 3.2 แผนผังแสดงประเภทและชนิดของเครื่องปลูก

เครื่องปลูกที่ใชเมล็ด
เครื่องปลูกทีใ่ ชเมล็ดแบงออกไดตามลักษณะหรือวิธีการปลูก 3 ประเภทดังนี้
1. เครื่องหยอดเมล็ด (spacing drill) เปนเครื่องปลูกชนิดแมนยําโดยมีหลักการทํางาน
คือจับและปลอยเมล็ดพืชลงไปสูดินครั้งละเมล็ดตามระยะระหวางตน และระยะ
ระหวางแถวทีก่ ําหนดไว เชน ขาวโพด
2. เครื่องโรยเมล็ด (seed drill) เปนเครื่องปลูกชนิดเปนแถว โดยที่เครือ่ งมือประเภทนี้
จะจับและปลอยใหเมล็ดลงสูดินเปนแถว แถวหนึ่งมีหลายเมล็ด เชน ผักชี
3. เครื่องหวานเมล็ดเปนเครื่องปลูกที่กระจายเมล็ดออกไปทั่วทั้งแปลงที่ไดเตรียมดิน
ไวแลว โดยไมมีระยะระหวางแถวและระยะระหวางตน เชน การทํานาหวาน
เครื่องหยอดเมล็ดทําใหสามารถกําหนดจํานวนพืชที่ปลูกตอไรไดสูงสุด เพราะมีการ
หยอดเมล็ดใหมีระยะหางที่แนนอน ความลึกถูกตอง และกลบดินใหแนนอยางสม่ําเสมอ ทําให
พืชมีโอกาสแกพรอมกัน ซึ่งเปนเหตุใหเก็บเกีย่ วไดพรอมกันตลอดทั้งแปลง โดยอาจจะนํา
เครื่องจักรเขาไปเก็บเกีย่ วหรือกําจัดวัชพืชไดสะดวก

เครื่องหยอดเมล็ดและเครื่องโรยเมล็ด
เครื่องหยอดเมล็ดและเครื่องโรยเมล็ดประกอบดวยชิน้ สวนที่สําคัญ 5 ประการ
ดังตอไปนี้ (รูปที่ 3.3)
90

1. ถังใสเมล็ด (seed hopper) และถังใสปุย (fertilizer hopper)


2. กลไกปอน (feed mechanism) ที่ติดตัง้ อยูใตถังแตละถัง สําหรับหยอด
เมล็ด หรือปุย หรือโรยเมล็ดใหไดจํานวนตามทีต่ องการ
3. ทอ (tube) สงเมล็ดหรือปุยไปสูดิน

รูปที่ 3.3 เครื่องปลูก

รูปที่ 3.4 จานจับเมล็ด

4. อุปกรณเบิกรอง (opener) อยูที่ปลายทอ ซึ่งจะเปดดินใหเปนรองเล็กๆ


สําหรับใสปุยและเมล็ด
5. กลไกกลบเมล็ดและปุย ในรอง
91

กลไกปอน
ในบรรดาชิ้นสวนทั้งหมดที่กลาวมา กลไกปอนเมล็ดเปนชิ้นสวนที่สลับซับซอนและ
สําคัญที่สุด เครื่องปลูกสวนมากมักจะใชกลไกทีเ่ รียกวา จานจับเมล็ด (seed plate) ดังรูปที่ 3.4
ขอบนอกของจานจับเมล็ดเปนชองกลมๆ มีขนาดและจํานวนตามทีต่ องการเรียกวาชอง
จับเมล็ด (seed hole) จานจับเมล็ดนี้ถูกออกแบบมาสําหรับติดตั้งที่กน ถังใสเมล็ด
เพลาขับที่ไดรบั แรงจากลอของเครื่องปลูกจะเปนตัวหมุนจานจับเมล็ด ชองจับเมล็ดเปน
ตัวจับเมล็ดไวและหมุนไปจนกระทั่งถึงรูทกี่ นถัง เมล็ดก็จะหลนออกจากรูผานทอลงไปในดิน
ขนาดของชองจับเมล็ดที่เจาะตองมีขนาดพอดีกับเมล็ดของพืชที่จะหยอด ถึงแมวาจะ
ถูกใสไวที่กนถังใสเมล็ด โดยวางเอียงเปนมุม หรือวางในลักษณะใดๆ ก็ตาม การทํางานก็คง
เดิม
รูปที่ 3.5 ก เปนรูปของจานจับเมล็ดติดตั้งอยูที่กนถังในแนวราบ มีชองจับเมล็ดลักษณะ
กลม และเหล็กปดเมล็ดสวนเกินออกจากชอง
รูปที่ 3.5 ข เปนจานจับเมล็ดที่ติดตั้งอยูในลักษณะเอียง มีชองจับเมล็ดเปนถวยลึกไมมี
เหล็กปดเมล็ดสวนเกิน เมล็ดพืชจะถูกจับใหติดมากับจานจากสวนลาง และติดขึ้นไปกับจาน พอ
ถึงสวนบนก็จะรวงลงสูทอสงเมล็ด ตกลงไปสูรองปลูกตอไป
รูปที่ 3.5 ค เปนจานจับเมล็ดแบบตั้งที่ประกอบขึ้นดวยจาน 2 แผน ซึ่งแตละแผนจะถูก
เจาะใหเปนรูเสี้ยววงกลมเปนระยะๆ โดยรอบ เมื่อนํามาประกบเขาดวยกัน โดยสอดแผนเหล็ก
ไวระหวางกลาง จะไดชองจับเมล็ดเปนรูครึ่งวงกลมที่มีระยะหางเทาๆดันอยูตรงกลางโดยรอบ
เมื่อเครื่องปลูกทํางาน จานจับเมล็ดนี้จะหมุนนําเมล็ดจากถังลงไปสูดานลาง และรวงลงสูทอสง
เมล็ด ตกลงไปสูรองปลูก แตถาเมล็ดทีถ่ ูกจับไวแนนเกินไป ไมหลุดรวงลงไป เหล็กดีดเมล็ดซึ่ง
อยูในชองวางระหวางจานทัง้ สองจะทําการดีดออก สําหรับลูกกลิ้งที่ติดตั้งไวดานบนนั้น มี
หนาที่ปาดเมล็ดสวนเกินออกจากชองจับเมล็ด ลูกกลิ้งนี้จะหมุนในทิศทางเดียวกับจานจับเมล็ด
แตเร็วกวา
92

รูปที่ 3.5 จานจับเมล็ดแบบตางๆ

เครื่องปลูกทีต่ ดิ ตั้งจานจับทัง้ สามแบบดังกลาวขางตนนี้ เปนเครื่องปลูกชนิดแมนยํา


หรือเครื่องหยอดเมล็ด เนื่องจากหยอดเมล็ดพืชไดครั้งละ 1 เมล็ด ดังนั้น เมล็ดพืชที่จะปลูก
ควรจะมีขนาดเทากับชองจับเมล็ด เพื่อที่ชองจับเมล็ดจะไดจับเมล็ดไดเพียงเมล็ดเดียว
นอกจากนั้น เมล็ดที่จะปลูกก็ควรจะมีเปอรเซ็นตความงอกสูง เพื่อที่พืชจะงอกไดทุกตนและจะ
ไดแถวพืชที่สงู เทาๆกันอยางสม่ําเสมอ โดยไมมีชองวางเกิดขึ้นระหวางแถวพืช ในกรณีที่เมล็ด
มีเปอรเซ็นตความงอกต่ํา ก็อาจจะเปลี่ยนจานจับเมล็ดใหมีชองจับเมล็ดขนาดใหญขึ้น เพื่อที่จะ
จับเมล็ดไดมากขึ้นก็ได แตถาเมล็ดงอกขึน้ มาหลายตนก็อาจจะตองถอนทิ้งเพื่อใหเหลือเพียงตน
เดียว ซึ่งเปนการเสียเวลาและเสียเงิน
สําหรับเครื่องปลูกชนิดเปนแถวหรือเครื่องโรยเมล็ดนั้น กลไกที่ใชปอนเมล็ดมีลกั ษณะ
คลายลูกกลิ้งที่มีรองเฟองอยูโดยรอบ (รูปที่ 3.6) ซึ่งรองเฟองนี้อาจจะรองตรงหรือรองเฉียงก็ได
ขณะทีล่ ูกกลิ้งหมุนเมล็ดจํานวนหนึ่งจะถูกกักอยูในรองเฟองและถูกพาออกมา เมื่อกระทบ
กระเดื่องปดเมล็ด เมล็ดก็จะรวงหลนผานทอสงเมล็ดลงสูดินตอไป สําหรับอัตราการโรยเมล็ด
93

นั้นก็สามารถปรับไดโดยการเลื่อนลูกกลิ้งไปตามแนวขนาน หรือปรับที่ชองเปดของถังใสเมล็ดที่
ติดกับลูกกลิ้ง เครื่องปลูกแบบนี้สามารถโรยเมล็ดพืชไดอยางสม่ําเสมอ โดยที่สภาพของพื้นที่
หรือความลาดเอียงไมมีผลตอการโรย มีระบบการทํางานก็งาย แตอาจจะมีปญหาในการโรย
เมล็ดที่มีขนาดเล็กหรือขนาดใหญเกินไป

รูปที่ 3.6 หลักการทํางานของเครื่องปลูกที่มีจานจับเมล็ดแบบลูกกลิง้ เฟอง

รูปที่ 3.7 หลักการทํางานของเครื่องปลูกที่มีจานจับเมล็ดแบบลูกกลิง้ เปนปุม


94

นอกจากกลไกที่ใชปอนเมล็ดจะเปนลูกกลิ้งที่มีชองเฟองตรงแลว ยังมีลูกกลิ้งแบบที่มี
ปุมสี่เหลี่ยมอยูโดยรอบ (รูปที่ 3.7) ลูกกลิ้งชนิดนี้ปรับใหเลื่อนไปตามแนวแกนไมไดอัตราการ
หยอดเมล็ดจึงปรับไดที่ความเร็วรอบของการหมุน สวนขนาดของลูกกลิ้งนั้น ใหเลือกใชไดตาม
ความตองการขึ้นอยูกับขนาดของเมล็ดพืชที่จะปลูก ดังนั้น เครื่องปลูกที่ใชกลไกปอนเมล็ดแบบ
นี้จึงใชไดกับเมล็ดพืชไดหลายชนิด การหยอดก็สม่ําเสมอ เมล็ดไมแตก การปรับตั้งสามารถทํา
ไดสะดวกและรวดเร็ว
ทอสงเมล็ด
รูปที่ 3.8 แสดงชนิดของทอสงเมล็ดลงสูดิน ซึ่งมีหลายชนิด ทั้งนี้ทําดวยเหล็กหรือ
พลาสติก แตทุกชนิดตองมีความแข็งแรง และเปลี่ยนแปลงความยาวได เนื่องจากสวนปลายทอ
ยึดติดกับตัวเบิกรอง ซึ่งยกขึ้นลงไดเมื่อกระแทกกับหินหรือตอไม เพื่อลดความเสียหาย

1 ทอเหล็ก
2 ทอมวนที่ดึงยืดหดได
3 ทอยืดออกได

รูปที่ 3.8 ชนิดของทอสงเมล็ด

อุปกรณเบิกรอง
อุปกรณเบิกรองทําหนาที่เปดหนาดินใหเปนรองสําหรับหยอดเมล็ด สวนความลึกของ

รูปที่ 3.9 อุปกรณเบิกรองชนิดตางๆ


95

รองที่เปดนั้นปรับได ขึ้นอยูกับชนิดของเมล็ดที่จะปลูกตัวเบิกรองมีหลายชนิดดังที่ปรากฏในรูปที่
3.9 แบบสันโคง (full หรือ curved runner) เหมาะสําหรับเปดรองใหลึกปานกลาง โดยที่ดินไม
มีเศษหญาหรือเศษวัชพืช การปลูกขาวโพดและฝายก็ใชตวั เบิกรองชนิดนี้ได แตถามีกรวด
ทรายหรือวัชพืชมาก อุปกรณเบิกรองแบบสันตื้น (stub runner) จะเหมาะสมกวา สําหรับแบบ
จอบ (hoe-type) นั้น ก็ใชไดดีในดินที่มีกรวดหิน หรือรากพืชปนอยูได การเปดรองทําไดลึก
และมีสปริงชวยยกตัวเบิกรองขึ้น เพื่อลดความเสียหายจากการกระแทกดวย สวนแบบจาน
(disk-type) นั้น เหมาะสําหรับดินแข็งและมีเศษวัชพืชมาก ในดินเหนียวก็ใชไดเพราะมีเหล็ก
ขูดติดอยู จานเปดรองนี้มีทั้งแบบจานเดี่ยวและจานคู จานเดี่ยวเปดรองไดลึกและตัดเศษวัชพืช
ไดดีกวาจานคู

รูปที่ 3.10 ลอกลบดิน

ลอกลบดิน
ลอกลบดิน (รูปที่ 3.10) เปนสวนที่ทําหนาที่กลบดินฝงเมล็ดพืช และอัดดินใหสัมผัสกับ
เมล็ดพืช ลอกลบดินมีหลายชนิด ชนิดทีเ่ วาหนาลอเขาขางในเหมาะสําหรับเมล็ดขาวโพด ชนิด
ลอเรียบเหมาะสําหรับเมล็ดผัก สวนชนิดหนาลอมีสันเหมาะสําหรับพืชหัว

หลักการใชงาน
การใชเครื่องปลูกควรจะปฏิบัติดังตอไปนี้
1. เลือกใชจานจับเมล็ดใหเหมาะสมกับพืชทีจ่ ะปลูก โดยใหมีจํานวนและขนาดของ
ชองจับเมล็ดตามที่ตองการ และหมุนดวยความเร็วที่ถูกตอง เพื่อใหไดตนพืชโต
ขึ้นอยางมีระเบียบโดยมีระยะหางเทาๆ กัน ระยะของพืชในแถวขึ้นอยูกับขนาดของ
เฟองขับ (drive sprocket) และจํานวนชองจับเมล็ด ซึ่งจะระบุไวในหนังสือคูมือ
ของเครื่องปลูก
2. ชนิดเครื่องปลูกเขากับรถแทรกเตอร โดยใหมีระยะหางระหวางแถวพืชตามที่
ตองการ
3. ปรับอุปกรณเบิกรองใหกินดินลึกตามความตองการ เพื่อใหไดรองสําหรับหยอด
เมล็ดที่มีความลึกตามความตองการ
4. โครงของเครื่องปลูกควรจะอยูในแนวระดับขนาดกับพืน้ และเครื่องปลูกแตละตัว
ควรจะเปดรองไดความลึกเทากับ
96

5. ตรวจสอบความยาวของแขนกลาง เพื่อไมใหแรงกดเกิดขึ้นมากที่ดานหนาหรือ
ดานหลังของเครื่องปลูกขณะปฏิบตั ิงาน
6. ควรจะตรวจสอบสิ่งตางๆ เหลานี้ในไรเปนประจํา
6.1 เมล็ดควรจะเต็มอยูในถังใสเมล็ดเสมอ
6.2 ทอสงเมล็ดไมควรจะอุดตัน (โดยเฉพาะขณะที่ดินชื้น)
6.3 เมล็ดทุกเมล็ดควรจะถูกกลบ
7. ระยะระหวางแถวควรจะเทากันตลอด โดยการปรับอุปกรณขีดแนวใหเครื่องหมาย
เปนเสนตรงไว เพื่อขี้นําลอซายของแทรกเตอร
8. ปฏิบตั ิงานที่ความเร็วพอเหมาะ ถาเร็วเกินไปเครื่องปลูกจะกระดอนขึ้นและเมล็ด
หลนออกมามาก ทําใหอัตราการหยอดเมล็ดเสีย
9. ควรจะอัดจารบีและหยอดน้าํ มันอยางสม่ําเสมอ และขอที่สําคัญก็คอื ตองทําความ
สะอาดทุกๆ สวน กอนทีจ่ ะนําไปเก็บหลังฤดูเพาะปลูก โดยเฉพาะอยางยิ่งสวนที่
สัมผัสกับปุยจะทําปฏิกิริยาเคมีกับเหล็ก ทําใหชิ้นสวนนั้นเสียหาย

อัตราการปลูก
โดยปกติบริษทั ผูผลิตมักจะแนบหนังสือคูมือการใชเครือ่ งปลูกแจกใหมากับผูซื้อเสมอ
หนังสือคูมือดังกลาวจะบอกอัตราการปลูก และการตัง้ กลไกที่ควบคุมอัตราการปลูกใหเปนไป
ตามจํานวนทีต่ องการ อยางไรก็ตาม การทํางานในสภาพพื้นทีท่ ี่จํานําเครื่องปลูกนั้นไปใช
อาจจะแตกตางจากสภาพพื้นที่ไดทดสอบของบริษทั ผูผลิต ดังนั้น อัตราการจับเมล็ดอาจจะ
คลาดเคลื่อนไป วิธีที่ดีทสี่ ดุ ก็คือทดสอบหาอัตราการปลูกใหม ซึ่งอาจจะชวยใหประหยัดเมล็ด
พันธได สําหรับอัตราการปลูกนี้จะแสดงเปนหนวยน้ําหนักตอพื้นที่ปลูก
1. การหาอัตราการปลูกของเครื่องโรยเมล็ด
1.1 เครื่องมีลอขับ (drive wheel)
Q = L × 1000
π×n× W
Q = อัตราการจับเมล็ด (กิโลกรัม/เฮกตาร)
L = จํานวนเมล็ดที่จับและปลอยเมื่อลอขับหมุนได n รอบ
ตามกําหนด (กิโลกรัม)
n = จํานวนรอบของลอขับ
W = ความกวางของการทํางาน ซึ่งไดจาก
จํานวนแถว × ระยะระหวางแถว (เมตร)
D = เสนผาศูนยกลางที่แทจริงของลอขับ ซึ่งมีคาเทากับระยะที่วัดได
จากจํานวนที่กําหนด (เมตร) ÷ (π × จํานวนรอบที่กําหนด)
97

1.2 เครื่องที่ขับโดยเพลาอํานวยกําลัง
Q = M × 1000
V×T×W
Q= อัตราการจับเมล็ด (กิโลกรัม/เฮกตาร)
M= จํานวนเมล็ดที่จับและปลอยออกมาในระยะเวลาที่กําหนด
(กิโลกรัม)
T = ระยะเวลาที่กาํ หนด (วินาที)
W = ความกวางของการทํางาน (เมตร)
V = ความเร็วของรถแทรกเตอร (เมตร/วินาที)
2. การหาอัตราการปลูกของเครื่องหยอดเมล็ด
การกําหนดอัตราการจับของเมล็ดของเครื่องปลูกประเภทนี้ ขึ้นอยูกับการเลือก
ขนาดของจานจับเมล็ด

รูปที่ 3.11 การขับจานจับเมล็ด

ตัวอยางที่ 3.1 เครื่องปลูกพืชเครื่องหนึ่งมีลอขับเคลื่อนที่มีเสนผาศูนยกลาง 80


เซนติเมตร และมีจานจับเมล็ดขนาด 38 ชอง ถาตองการปลูกใหมีระยะระหวางตน 20
เซนติเมตร ระยะหางระหวางแถว 1.00 เมตร จงคํานวณหาขนาดของเฟองขับและเฟองตามที่
ใชเพื่อใหปลูกไดตามระยะทีต่ องการ ทั้งนี้กําหนดใหอัตราสวนความเร็วของจานจับเมล็ดเทากับ
12 ตอ 40
ระยะทีล่ อ หมุน 1 รอบ จะมีระยะ S = 2 πr
= 0.8π
= 2.50 เมตร
จํานวนเมล็ดที่จับ = S
ระยะระหวางตน
2.51
= = 12.55
0.20
จานจับจะเคลือ่ นที่ = 12.55 = 0.33 รอบ
38
98

0.33 1
อัตราสวนความเร็วของการหมุนจานจับเมล็ดกับลอขับเคลื่อน = =
1 3
หรืออัตราสวนความเร็วของลอขับเคลื่อนตอจานจับเมล็ด = 3 : 1
สมมุติ N = ความเร็ว
T = จํานวนฟน
T1 × N 2
N2 = N3 =
T2
T ×N
และ N3 = 3 3
T4
N 3
จากการคํานวณ 1 =
N4 1
T 12
จากโจทย 3 =
T4 40
T T ×N
∴N4 = 3 × 1 1
T4 T2
T 40 1 10
1
= × =
T2 12 3 9
ใชลอเฟองขับที่มีจํานวนฟน 10 ฟน และลอเฟองตามที่มีจํานวนฟน 9 ฟน
สมมุติวาการใชเครื่องปลูกเมล็ดไดระยะระหวางเมล็ดถูกตอง 100 %
จํานวนเมล็ดตอพื้นที่เพาะปลูก
1
= × 1,0000
0.2 ×1.0
= 50,000 เมล็ด/เฮกตาร

อุปกรณขีดแนว
ในขณะที่ขับรถแทรกเตอรพวงเครื่องปลูก เพื่อจับและปลอยเมล็ดลงไปในดินที่เตรียมไว
นั้น เมล็ดจะถูกกลบจนไมสามารถสังเกตเห็นแนวทีไ่ ดหยอดเมล็ดไวได ถาขับรถแทรกเตอร
วกกลับมาปลูกในแนวตอไปนี้ ลอรถอาจจะทับเมล็ดที่หยอดไวได ดังนั้น จึงตองอาศัยอุปกรณ
ขีดแนว (รูปที่ 3.12) เพื่อทําเครื่องหมายเปนเสนตรงไปตลอดความยาวของพื้นที่ขณะทํางาน
เมื่อขับรถแทรกเตอรกลับมาก็ใหลอหนาขวาทับเสนทีข่ ดี นี้ แถวทีป่ ลูกครั้งใหมจะหางจากแถว
สุดทายของการปลูกครั้งกอนเทากับระยะระหวางแถวพอดี การปลูกพืชก็จะสม่ําเสมอทั่วทั้ง
แปลง
99

รูปที่ 3.12 การใชอุปกรณขดี แนว

เครื่องพนหวานเมล็ด
การทํานาแบบที่ปลูกเมล็ดลงไปโดยตรง (direct seeding) เปนการปลูกขาวโดยไมมีการ
ตกกลา อาจจะปลูกหรือหวานเมล็ดขาวลงไปโดยตรง หรือนําเมล็ดขาวมาเพาะใหงอกเล็กนอย
แลวหวานลงในนาที่เตรียมดินไว เรียกวา นาหวาน (broadcasting) ซึ่งมีอยู 3 แบบดวยกันคือ
1. หวานสํารวย หลังจากเตรียมดินโดยไถ และคราดแลว ทําการหวานเมล็ด
ขาวแหงลงไป เมล็ดขาวจะตกลงไปอยูระหวางกอนดิน หรือรอยคราด เมื่อฝนตกลงมาขาวก็จะ
งอก
2. หวานคราดกลบ ทําเหมือนกับการหวานสํารวย แตวาหลังจากหวานเมล็ด
ขาวลงไปแลวคราดกลบอีกครั้ง ถาดินมีความชื้นเพียงพอก็อาจจะเพาะใหเมล็ดขาวงอกเล็กนอย
กอนแลวหวาน
3. หวานน้ําตม ไดแกการหวานขาวที่เพราะใหรากงอกแลวลงไปในนาที่เตรียม
ดินเรียบรอยเหมือนนาดําหลังจากเตรียมดินแลวตองรอใหดินตกตะกอนจนน้ําใสเพราะจะทําให
ขาวที่หวานลงไปไดรับแสงแดดเต็มที่ งอกไดเร็วและพนระดับน้ําขึ้นมาได โดยไมเนาตาย
เสียกอน ขณะที่หวานขาวลงไประดับน้ําในนาควรอยูระหวาง 3-5 เซนติเมตร ปจจุบันในพื้นทีท่ ี่
สามารถควบคุมน้ําไดดีไดมีการทํานาหวานน้ําตมแพรหลาย ในบางประเทศ เชน ออสเตรเลีย
และสหรัฐอเมริกา ลักษณะของการทํานาก็เปนประเภทนาหวาน อยางไรก็ตามนาหวานน้ําตมนี้
จะตองมีการปฏิบัตบิ างอยางดีกวาการทํานาดํา เชนการกําจัดวัชพืชในขณะที่เตรียมดิน เพราะ
นาประเภทนีเ้ มื่อตนขาวโตขึ้นมาแลวจะไมมีชองทางเดินไดสะดวกเหมือนกับการทํานาดํา จึง
ยุงยากในแงการเดินเขาไปทําการกําจัดวัชพืช
100

ปจจุบันไดมีการพัฒนาวิธีการปลูกขาวแบบหวานน้ําตมแผนใหมขึ้น โดยดัดแปลงจาก
การทํานาน้ําตมในอดีต การปลูกขาวแบบใหมนี้ เปนการปลูกขาวจากเมล็ดโดยตรง
เชนเดียวกับการปลูกแบบหวานขาวแหง แตมีวธิ ีการปฏิบัตทิ ี่ประณีตกวา คือ หวานเมล็ดขาวที่
เพาะใหงอกแลวลงในแปลงที่มีการเตรียมดิน ทําเทือก และปรับระดับผิวดินเปนอยางดีแลว
พรอมทั้งทํารองระบายน้ําเล็กๆ ภายในแปลงนาเพื่อระบายน้ําที่อาจขังอยูในจุดต่ําบางจุดออก
กอนที่จะหวานทําใหเมล็ดขาวงอกอยางสม่ําเสมอ ไมถูกน้ําทวมขังจนเมล็ดเนาเสีย การปลูกขาว
แบบหวานน้ําตมแผนใหม เปนวิธที ี่แพรหลายที่สุดโดยเฉพาะในพื้นทีท่ ี่มีระบบชลประทาน
เนื่องจากสามารถระบายน้ําเขาออกเพื่อควบคุมการงอกของเมล็ดขาวและวัชพืชได นาหวานน้ํา
ตมทําไดทั้งฤดูนาปและนาปรัง แตในฤดูนาปอาจเสี่ยงตอการมีฝนตกมากจนเมล็ดขาวถูกฝนชะ
ไหลไปรวมกันอยูขอบแปลง หรืออาจระบายน้ําออกไมทันทําใหตน ออนจมน้ําอยูหลายวันและ
เนากอนที่จะงอกยอดพนระดับน้ํา
การหวานขาวโดยใชแรงงานคนหวาน ตองใชเวลาหรือแรงงานในการหวาน
คอนขางมาก แรงงานที่หวานเกิดความเหน็ดเหนื่อยเมื่อยลา อีกทั้งการควบคุมความสม่ําเสมอ
ของเมล็ดที่หวานไมแนนอน ขึ้นอยูกับประสบการณและความชํานาญของแรงงานที่หวาน ทําให
ตนทุนการผลิตขาวสูงขึ้นและประสิทธิภาพการผลิตลดต่ําลง
เครื่องพนหวานเมล็ดขาวงอก (pre-germinated rice broadcaster) ที่นิยมใชกันอยูใ น
ประเทศลวนแลวแตดัดแปลงมาจากเครื่องพนสารเคมีแบบติดเครื่องยนตสะพายหลัง โดย
เพียงแตตอทอสงเมล็ดที่มีขนาดใหญจากถังบรรจุเมล็ดไปยังทอพนที่มีอยูเดิม โดยมีกระแสลมที่
เกิดจากการหมุนของเครื่องยนตเปนตัวนําเมล็ดผานปลายทอพนออกไปสูดิน สําหรับการใชงาน
นั้น ผูปฏิบตั ิจะตองเรงเครื่องยนตใหหมุนดวยความเร็วคงที่ พัดลมทีต่ ิดอยูก็จะสงลมเขาไปในทอ
พนดวยปริมาณที่คงที่เชนเดียวกัน สวนเมล็ดขาวที่ถูกปลอยออกมาจากถังบรรจุเมล็ดผานกลไก
ปรับปริมาณเมล็ดนั้นก็จะถูกกระแสลมพาออกไปดวย

รูปที่ 3.13 เครื่องพนหวานเมล็ดขาวงอก


101

เครื่องพนหวานเมล็ดขาวงอกประกอบดวยชิ้นสวนตางๆดังตอไปนี้
ถังบรรจุเมล็ด ลักษณะของถังเปนแบบทรงเหลี่ยม สวนลางของถังจะเปนมุม
เอียง เพื่อใหเมล็ดสามารถไหลออกจากถังไดสะดวก ดานบนเปนปากถังที่มีขนาดใหญเพื่อความ
สะดวกในการเติมเมล็ด
ชุดอุปกรณควบคุมปริมาณเมล็ด เปนอุปกรณที่ใชในการปรับอัตราเมล็ดที่
หวานใหมีความหนาบางตามความตองการ ซึ่งแตเดิมจะใชกระเดือ่ งซึ่งตอไปยังลิ้นเปดปดเปน
ตัวควบคุม แตปจจุบันชุดควบคุมปริมาณเมล็ดประกอบดวย คันเรง สายคันเรง ลิ้นเปดปด และ
สปริง โดนที่คันเรงจะดึงสายคันเรงทําใหลิ้นเปดมากหรือนอยตามความตองการ และสปริงจะ
พยายามดึงลิ้นใหอยูในตําแหนงที่เปดนอยลง หรืออยูในตําแหนงปดเมื่อสิ้นสุด
ชุดอุปกรณพน เมล็ด เปนอุปกรณสวนที่เมล็ดจากถังบรรจุเมล็ดมาบรรจบกับ
ทอลม ทําใหเมล็ดถูกแรงลมพัดพนหวานออกไป ประกอบดวยขอตอ 3 ทาง 45 องศาเปน
อุปกรณสวนที่เมล็ดจะมาบรรจบกับลม ตรงสวนที่เปนทิศทางการไหลของลมมีแผนกั้นลมทีว่ าง
เอียงตามมุมเอียง 45 องศา แผนกั้นลมนีจ้ ะปองกันไมใหลมที่ไหลมาตามทอลมไหลยอนขึ้นไป
ในทอสงเมล็ดปะทะกับเมล็ดที่กําลังไหลลงมา ซึ่งถาไมมีแผนกั้นลมนี้ จะทําใหเมล็ดไหลไม
สะดวก
ทอออน เปนทอพลาสติกใชสําหรับตอทอตาง ๆ เขาดวยกัน เพื่อประกอบเปน
สวนหนึ่งของทอสงเมล็ดและทอลมทีโดยมีคุณสมบัติไมบิดตัวเสียรูปทรงเวลาที่ดดั ทอเปนรูปโคง
และใชสําหรับตอทอพนเมล็ดเขากับขอตอ 3 ทาง ทําใหสามารถสายโยกทอพนเมล็ดไป-มา เพื่อ
บังคับทิศทางการพนหวานของเมล็ดไดเวลาปฏิบตั ิงาน
ทอพนเมล็ด เปนสวนที่เมล็ดจะถูกแรงลมพัดพนหวานออกไป

ทั้งนี้ในขณะทีท่ ําการพนหวานนั้น ผูปฎิบตั ิจะใชมือขางใดขางหนึ่งจับทอพนไวแลวสาย


ไปมา ซาย-ขวาเพื่อรักษาระยะหางจากผืนนาใหคงที่ในแนวระดับ เพื่อความสม่ําเสมอของการ
หวาน ไมควรใหปลายทอเงยขึ้นหรือกมลง หรือระยะสายไปมาไมคงที่ในขณะที่เดินพนหวาน
เพราะจะทําใหเมล็ดขาวกระจายออกไปสูผืนนาไมความสม่ําเสมอทั่วทั้งแปลง ทําใหมีผลกระทบ
ตอผลผลิตขาวที่อาจจะลดลง
นอกจากนั้นเครื่องพนหวานเมล็ดขาวงอกนี้ ยังสามารถนําไปใชพนหวานเมล็ดขาวแหง
ในการทํานาหวานสํารวยและการทํานาหวานคลาดกลบ สําหรับการใชเครื่องของเกษตรกรนั้น
นอกจากจะใชในการหวานเมล็ดพันธุขาวแลว ยังนําเครื่องไปใชในการหวานปุยเม็ดไดอีกดวย
เกษตรกรบางสวนมีการนําเครื่องไปรับจางหวาน ทําใหเกิดรายไดเพิ่มขึ้น สําหรับการใชเครื่องที่
เหมาะสม เกษตรกรควรใชเมล็ดพันธุที่สะอาด การใชเครื่องในการหวานขาวงอกในนาหวานน้ํา
ตม ควรใชเมล็ดที่มีรากงอกเปนตุมตา ไมควรใชเมล็ดที่มีรากงอกยาว เพราะจะทําใหเกิดปญหา
เมล็ดอุดตัน อีกทั้งควรกําหนดขอบเขตการหวานและจุดเติมเมล็ดทีช่ ัดเจน เพื่อใหการใชเครื่อง
เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด
102

เครื่องปลูกที่ใชตน กลา
พืชสําคัญที่มกี ารปลูกโดยใชตนกลาคือขาวหรือการทํานาดํา (rice transplanting) ซึ่ง
หมายถึงการทํานาที่ตองมีการตกกลาเตรียมไวกอน และเมื่อกลามีอายุพอเหมาะจึงทําการถอน
กลาไปปกดําในนาที่เตรียมดินไวแลว และตลอดฤดูปลูกไดมีการขังน้ําอยูในนา เครือ่ งมือที่
สามารถจับตนกลาไวแลวปกลงไปในดินเรียกวาเครือ่ งดํานา (rice transplanter)

เครื่องดํานา
เครื่องดํานาแบงออกไดเปน 3 ประเภทคือเครื่องดํานาใชแรงคน (manual rice
transplanter) เครื่องดํานาใชเครื่องยนตแบบเดินตาม (walking type rice transplanter) และรถ
ดํานา หรือเครื่องดํานาใชเครื่องยนตแบบนั่งขับ (riding type rice transplanter)
เครื่องดํานาใชแรงคน อาศัยแรงงานจากคนโดยตรง ทําใหกลไกเกิดการปก
ดําดวยการเข็นเดินหนาและเดินถอยหลัง เครื่องดํานาประเภทนี้แยกออกตามชนิดของตนกลาที่
ใชกับเครื่องไดดังนี้
1. เครื่องดํานาใชแรงคนชนิดใชกับตนกลาลางราก ตนกลาที่จะใชกบั เครื่องชนิด
นี้จะถูกถอนออกจากแปลงเพาะกลา เมื่ออายุได 20-25 วัน แลวนํามาลางรากเอาดินที่ติดอยูกับ
รากออกใหหมด กอนนําไปจัดวางในถาดกลาอยางเปนระเบียบ ปกดําไดครั้งละ 4-6 แถว การ
สูญเสียตนกลาระหวางการปกดําเกิดขึ้นประมาณ รอยละ 11-34 ผูใชตองเดินถอยหลังเพื่อลาก
ตัวเครื่องไปและทําการปก โดยที่สอมปกดําเปนแบบหวีซึ่งมีลักษณะคลายกับสอม และมักจะทํา
ใหตนกลาเสียหาย ความสามารถในการทํางานของเครื่องไดประมาณวันละ 3 ไร (8 ชั่วโมง 2
คน ผลัดกัน) มีใชในประเทศไทยระยะหนึ่ง
2. เครื่องดํานาใชแรงคนชนิดใชกับตนกลาเปนแผน ลักษณะของเครือ่ งคลาย
กับชนิดแรก แตกตางกันทีต่ นกลาที่นํามาใชกับเครื่อง การเพาะกลามีขั้นตอนการเพาะที่
พิถีพิถันมากกวา โดยจะตองเพาะกลาใหเปนแผนพอดีกับชองถาดใสตนกลาของเครื่อง ปกดําได
ครั้งละ 4-8 แถว ผูใชตองเดินถอยหลังเชนเดียวกัน ความสามารถในการทํางานไดวันละ 2.5-3
ไร เปนเครื่องที่ไดรับการพัฒนาจากสถาบันวิจัยขาวระหวางประเทศ (IRRI) และไดมีการ
ปรับปรุงแกไขในประเทศญี่ปุน และไตหวัน ไดมีการนํามาใชกันตามศูนยวิจัยขาวตางๆ ใน
ประเทศไทยหลายปมาแลว แตไมเปนทีน่ ิยมใชในที่สดุ เพราะยังใชสอมปกดําแบบหวี
103

รูปที่ 3.14 เครื่องดํานาใชแรงคนชนิดใชกับตนกลาเปนแผน

รูปที่ 3.15 ภาพตัดขวางของเครื่องดํานาใชแรงคนชนิดใชกับตนกลาเปนแผน

เครื่องดํานาใชเครื่องยนตแบบเดินตาม เครื่องดํานานี้มี 4 ชนิดไดแก


1. เครื่องดํานาใชเครื่องยนตชนิดใชกับตนกลาเปนแถบยาว เครื่องดํานาชนิดนี้
ตนกลาจะถูกเพาะในกระบะที่แบงเปนชองๆ เพื่อใหตนกลาที่ออกมาเปนแถวเล็กๆ แลวนําออก
จากกระบะมาใสในถาด แลวถูกอุปกรณปอนตนกลาพาเขาไปยังอุปกรณปกดํา แถวตนกลาจะ
ถูกเฉือนเปนทอนกอนการปกดํา ขนาดของทอนกลา 10-15 มิลลิเมตร ปกดําไดครั้งละ 2 แถว
เครื่องดํานาชนิดนี้ชวยลดการสูญเสียของตนกลาระหวางการปกดําไดมาก ประมาณรอยละ 1.1-
1.5 และมีราคาถูก ถึงแมจะมีขอดีที่มีการสูญเสียตนกลาในการปกดํานอยและมีราคาถูก แตก็ไม
เปนที่นิยมใชกัน เนื่องจากมีขั้นตอนและใชแรงงานในการเพาะกลายุงยาก
2. เครื่องดํานาใชเครื่องยนตชนิดใชกับกลาลางราก เครื่องดํานาชนิดนี้เปน
เครื่องดํานาเริ่มแรกที่มีการประดิษฐขึ้น เพื่อจะมาทําหนาที่ปกดําแทนคน โดยติดตั้งอุปกรณปก
104

ดําประกอบเขากับรถไถเดินตามหรือเครื่องพรวนดินแบบเดินตาม ใชเครื่องยนตดีเซลเปนตน
กําลัง ทําใหเครื่องมีน้ําหนักมาก การถอยหลังเปนไปดวยความลาชา การเลี้ยวกลับหัวงาน
ลําบาก เพราะใชวงเลีย้ วกวาง แตมีขอไดเปรียบทีข่ ั้นตอนในการเตรียมกลาไมยุงยาก เนื่องจาก
ใชกลาชนิดเดียวกันกับที่เพาะไวสําหรับการทํานาดําทั่วไป
3. เครื่องดํานาใชเครื่องยนตชนิดใชกับกลาแทงหรือกลาหลุม เครื่องดํานาชนิด
นี้ยังคงมีการใชกันอยูทางตอนเหนือของประเทศญี่ปุน แตก็มีอยูเปนจํานวนนอย กลาแทงหรือ
กลาหลุมที่จะใชตองเปนกลาแก (mature seedling) กลาที่มีอายุมากรากจะขดกันเปนกอนรูป
แทงสี่เหลี่ยมตามรูปทรงของหลุมในกระบะเพาะ ทําใหสวนของรากมีน้ําหนักมาก จึงเหมาะกับ
พื้นที่นาที่เปนดินทราย ที่กลาทั่วไปหรือกลาแผนไมสามารถตั้งตนใหตรงได กลามักจะเอนหรือ
ลมนอนราบ แตกลาแทงจะทรงตัวใหตั้งตรงไดดีในดินทรายหรือดินเปนเลนออนมาก เนื่องจาก
แทงดินกับกระจุกรากจะเปนฐานยึดติดใหอยางดี แตกลาแทงก็มีขั้นตอนในการเพาะกลาที่
ยุงยากกวาและมีปญหาในการจัดซื้อหากระบะเพาะ ซึ่งไมคอยมีจําหนายทั่วไป
4. เครื่องดํานาใชเครื่องยนตชนิดใชกับกลาแผน เครื่องดํานาประเภทนี้มีขนาด
คอนขางเล็ก ใชเครื่องยนตเบนซิน 4 จังหวะ 1-2.5 แรงมา เปนตนกําลัง ประกอบดวยลอเหล็ก
หุมยาง 2 ลอ ทําหนาที่ในการขับเคลื่อน ใหความสะดวกคลองตัวในการทํางาน ผูใชจะเดินตาม
เครื่อง การควบคุมการเลีย้ วบังคับดวยการบีบคลัตชขางที่ตองการเลีย้ วที่มือจับ ปกดําไดครั้งละ
2-6 แถว สามารถปรับระยะหางระหวางตนไดแนนอน มีระบบไฮดรอลิคเขามาชวยในการยก
ตัวเครื่องใหสงู ขึ้นขณะเลี้ยวกลับหัวงานและระหวางการเดินทาง เครื่องดํานาชนิดนี้ถูกนําเขามา
จากประเทศญี่ปุน เมื่อป พ.ศ. 2522 เปนเครื่องที่พฒ ั นาไปใชชุดสอมปกดําแบบคีบจับตนกลา
และนําไปกระทุงปลูกลงในแปลงที่มีลักษณะการทํางานเหมือนนิ้วมือคน จึงมีประสิทธิภาพการ
ปกดําตนกลา

รูปที่ 3.16 เครื่องดํานาใชเครื่องยนตชนิดใชกับกลาแผน


105

ลงดินสูงมาก การปกดําตนกลาลงไปในแปลงนาเปนไปอยางสม่ําเสมอและตนกลาไมช้ําดวย อีก


ทั้งยังมีระบบการทํางานและอุปกรณที่ชว ยอํานวยความสะดวกในการทํางานมากกวา แตการใช
ตนกลาที่เปนแผน จําเปนตองเพาะในกระบะพลาสติกที่ออกแบบมาโดยเฉพาะ ซึง่ มีราคาสูงมาก
สําหรับเกษตรกรไทยเพราะตองนําเขาจากตางประเทศ

รูปที่ 3.17 แสดงการทํางานของชุดสอมปกดํา

รถดํานา หรือเครื่องดํานาใชเครื่องยนตแบบนัง่ ขับ เครื่องดํานาประเภทนี้


มีขนาดใหญก็จริง แตมีความคลองตัวในการทํางานทีด่ ี มีประสิทธิภาพในการทํางานสูง สามารถ
ปกดําไดครั้งละ 4-8 แถว ปกดําไดตั้งแต 8 ไร ตอวัน มีทั้งแบบ 3 ลอ และ 4 ลอ เครื่องดํานา
ประเภทนีท้ ี่ใชกันอยูมี 3 ชนิด คือ
1. เครื่องดํานาใชเครื่องยนตแบบนั่งขับชนิดใชกับตนกลาลางรากเหมือนตน
กลาที่ใชคนปกดํา เปนเครือ่ งดํานารุนแรกที่นํามาจากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เมื่อป
พ.ศ. 2521 มี 3 ลอ โดยมีลอหนาเปนลอขับเคลื่อน ใชเครื่องยนตดีเซล ขนาด 3 แรงมา หรือ
เครื่องยนตเบนซิน 3-5 แรงมา เปนตนกําลัง โดยมีชุดปกดําเปนสอมปกดํามีลักษณะคลายหวี
หรือสอมกินขาว ทําใหประสิทธิภาพการปกดําตนกลาลงดินต่ํามาก ปกดําตนกลาลงในแปลงนา
ไมสม่ําเสมอ ทําใหไมมีตนกลาตรงจุดปกดําจํานวนมากเกินกวาจะยอมรับได และตนกลา
บางสวนยังช้ําเพราะถูกสอมปกดําเสียบดวย เครื่องดํานาชนิดนี้ปกดําไดครั้งละ 8 -12 แถว แตมี
ขอจํากัดของระยะปกดําตนกลาที่สามารถปรับการปกดําไดเพียง 2 ระยะ ความสามารถในการ
ทํางาน ประมาณ 10 ไร ตอวัน มีการสูญเสียของตนกลาระหวางการปกดําประมาณ รอยละ 3
โดยใชคนในการทํางานกับเครื่องนี้ 2-3 คน คนแรกนั่งขับดานหนา ทําหนาที่เปนผูขับควบคุม
เครื่อง สวนอีกคนหรือ 2 คน นั่งหันหลังอยูขางซายและขางขวาของคนขับ ทําหนาที่คอยใสตน
กลาในถาดใสตนกลาของเครื่อง จัดเปนเครื่องที่มีน้ําหนักมาก ทําใหการเลี้ยวกลับหัวงานและ
การเดินทางไมคอยคลองตัว ในการเดินทางจะตองเปลี่ยนเปนลอยาง ทําใหเสียเวลาในการถอด
ประกอบลอ ทํางานได 15-20 ไร ตอวัน
106

รูปที่ 3.18 เครื่องดํานาใชเครื่องยนตแบบนั่งขับชนิดใชกับตนกลาลางราก

2. เครื่องดํานาใชเครื่องยนตแบบนั่งขับชนิดใชกับตนกลาเปนแผนเปนเครื่อง
ดํานาที่ไดรับความนิยมใชกันทั่วไป สวนใหญเปนเครือ่ งจากประเทศญี่ปุน และมีสวนนอยที่เปน
ของประเทศเกาหลีใต โดยไดมีการนําเอาระบบอิเล็กทรอนิกสเขามาใชในการควบคุมการทํางาน
หลายดาน บางรุนติดตั้งอุปกรณใสปุยทํางานรวมดวยระหวางการปกดํา ปกดําไดครั้งละ 4-5
แถว การสตารทติดเครื่องยนตดวยระบบไฟฟา การบังคับเลี้ยวใชระบบไฮดรอลิกเขามาชวย ทํา
ใหการเลี้ยวเร็วขึ้น ไดวงเลีย้ วที่แคบและเบาแรงแกผูใช

รูปที่ 3.19 เครื่องดํานาใชเครื่องยนตแบบนั่งขับชนิดใชกับตนกลาแผน


107

รูปที่ 3.20 ดานหลังของเครือ่ งดํานา

รูปที่ 3.21 การทํางานของชุดสอมปกดํา

3. เครื่องดํานาใชเครื่องยนตชนิดใชกับตนกลาเปนแผนแบบอัตโนมัติ เปนแบบ
นั่งขับแตคนไมไดขับ โดยไดนําเอาเทคโนโลยีระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก GPS หรือการ
ประมวลผลภาพ (Image Processing) รวมกับระบบคอมพิวเตอรเขามาควบคุมในการทํางาน
เครื่องจึงสามารถทํางานไดเองโดยไมตองมีคนขับ คนมีหนาที่คอยใสแผนกลาเทานั้น

การทํานาดวยเครื่องดํานา
การทํานาดวยเครื่องดํานาตองพิถีพิถันกวาการดํานาตามปกติ เริ่มจากการไถเตรียมดิน
ใหละเอียดไมมีเศษหญาเศษวัชพืชหลงเหลือ ปรับทําเทือกใหเรียบสม่ําเสมอกันทั่วพื้นที่ ไมมี
แองมีหลุม หลังจากการเตรียมดินแลว ยังตองทําการเพาะกลา โดยเริ่มจากการคัดเลือกเมล็ด
พันธุที่สมบูรณ เปอรเซ็นตการงอกสูง ไมมีเมล็ดลีบ ดวยการแชในน้าํ เกลือเข็มขน สังเกตเมื่อใส
ลงไปไขจะลอยปริ่มน้ํา หรือใชเกลือ 1.4 กิโลกรัม ตอน้าํ 10 ลิตร ก็จะไดเมล็ดที่สมบูรณ นํา
เมล็ดใสถุงแชน้ําทิ้งไว 1-3 คืน จากนั้นก็เอาเมล็ดขึ้นมาโรยลงในกระบะเพาะ ขนาดของกระบะ
กวาง 28 เซนติเมตร ยาว 58 เซนติเมตร และสูง 3 เซนติเมตร เปนขนาดมาตรฐาน บรรจุดินได
108

4.3 ลิตร เปนกระบะเพาะกลาโดยเฉพาะ แลวรอนดินผานตะแกรงละเอียด ขนาด 4-5 ชอง ตอ


ตารางมิลลิเมตร ใสกระบะใหสูงประมาณ 2.5 เซนติเมตร ปาดใหเรียบเสมอกันกอนโรยเมล็ด
และโรยขี้เถาแกลบกลบหนา นํากระบะเก็บไวที่รม 2 คืน เมล็ดจะงอกออกมาประมาณ 1
เซนติเมตร จึงเอาออกไปไวในแปลงนาที่เตรียมไว รดน้ําใหโชกคลุมดวยซาแรนทิ้งไว 2 วัน คอย
เปดเอาซาแรนออก ปลอยน้ําเขาใหทว มกระบะ ปลอยไว 10 วัน จึงปลอยน้ําเขาสูงได แตใน
ญี่ปุนประสบปญหาในการเพาะกลา เนื่องจากเปนเมืองหนาวจึงตองเอากระบะเพาะเขาตูอบกอน
จะนําออกแดด รอจนตนกลาอายุได 20-30 วัน จึงนําไปปกดํา นาที่จะปกดําตองขังน้ําทิ้งไวใน
แปลงจนน้ําในแปลงตกตะกอนใสเสียกอน จึงใชเครื่องดํานาได ความลึกของน้ําในแปลงปกดําไม
ควรเกิน 5 เซนติเมตร ทั้งนีเ้ พื่อจะไดมองเห็นแนวจากเครื่องกาแถว ทําใหเครื่องแลนไดเปนแนว
ตรงมีระยะหางระหวางแถวที่เทากันตลอด ความยุงยากและนาเบื่อหนายจึงอยูที่การเพาะกลา
แตก็มีวธิ ีแกไขโดยการตั้งโรงงานผลิตกลาขึ้นมาขายเชนเดียวกับประเทศญี่ปุน ชาวนาไมตอง
ผลิตกลาเอง
ในการทํางาน ถาเปนรถดํานา ชาวนาจะประจําอยูที่รถ 3 คน คนแรกเปนคนขับ อีก 2
คน อยูทางซายและทางขวา ทําหนาที่ใสแผนกลาที่มว นเก็บไวบนรถลงในถาดลําเลียงแผนกลา
การใชรถดํานา 1 คัน เทากับการดํานาดวยคน 70-80 คน

เครื่องดํานากับการทํานาหวาน
ปจจุบันเกษตรกรไดหันมาทํานาหวานเพิ่มก็เพราะใชตนทุนต่ํากวาการนาดํา รวมทั้ง
ขั้นตอนการทํานาดํามีความยุงยากมากกวา ถึงแมจะใหผลผลิตที่มากกวา แตสว นใหญเลือกทีจ่ ะ
ทํานาหวานมากกวา การใชแรงงานคนปกดํามีขอดีคือ ตนกลาที่ปลูกจะมีความเปนระเบียบและ
ดูแลงายกวา ในขณะที่นาหวานสวนใหญเมื่อหวานแลวตองกลับมาหวานซ้ําอีก เนือ่ งจากบาง
พื้นที่หวานแลวไมมีตนกลางอกขึ้นมา ภาระหนักของนาดําคือเรื่องของการถอนกลาที่ตองอาศัย
แรงงาน และในปจจุบันหาแรงงานที่จะมารับจางทํายาก ทําใหเกษตรกรบางคนเกิดแนวความคิด
ในการชวยผอนแรงการถอนตนกลา ดวยการนําตาขายที่มีความถี่มากๆ มาใช หลังจากที่ชาวนา
ไดไถเตรียมดินเสร็จเรียบรอยแลว จะนําตาขายมาปูทวั่ ทั้งแปลงนาที่ตองการหวานเมล็ด
ขาวเปลือก โดยรากของขาวเปลือกจะชอนไชผานรูตาขาย และจะเจริญเติบโตทะลุรูของตาขาย
ขึ้นมา เมื่อตองการถอนตนกลาชาวนาก็สามารถดึงตาขายขึ้น เพื่อมัดเอาจํานวนตนกลาตามที่
ตองการได วิธีนี้เปนวิธที ี่สามารถชวยผอนแรงไดมากกวาวิธีอื่นๆ แตตนทุนในการซื้อตาขายสูง
ตามมา
การทํานาในประเทศไทย แบงวิธีการปลูกเปน 3 วิธี คือ การทํานาหยอด การทํานาดํา
และการทํานาหวาน สวนจะใชวธิ ีการไหนนั้นขึ้นอยูกับสภาพพื้นที่นา ชนิดพันธุขาวที่จะปลูก
การทํานาหยอด เปนวิธีทใี่ ชสําหรับการปลูกขาวนาปในฤดูกาลที่อาศัยน้ําฝน ในภูมิ
ประเทศที่ไมมนี ้ําเพียงพอสําหรับการตกกลาและปกดํา โดยการหยอดเมล็ดพันธุขาวไวในหลุม
หลุมละ 3-5 เมล็ด แลวกลบเมล็ดทิ้งไว รอใหฝนตกเพื่อการเจริญเติบโตตอไป
109

การทํานาหยอด คือการหยอดเมล็ดขาวแหงลงไปในดินเปนหลุมๆ หรือโรยเปนแถวแลว


กลบฝงเมล็ดขาว เมื่อฝนตกลงมาดินมีความชื้นพอเหมาะ เมล็ดก็จะงอกเปนตน นิยมทําในพื้นที่
ขาวไร หรือนาในเขตที่มีการกระจายของฝนไมแนนอน
การทํานาหยอดในสภาพขาวไร พื้นที่สว นใหญมักเปนที่ลาดชัน เชน ที่เชิงเขา เปนตน
ปริมาณน้ําฝนไมแนนอน สภาพพื้นที่สวนใหญไมสามารถเตรียมดินได จึงจําเปนตองหยอดขาว
เปนหลุม นาหยอดในสภาพที่ราบสูง เชน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ สวนใหญ
เปนที่ราบเชิงเขาหรือหุบเขา การหยอดอาจหยอดเปนหลุมหรือใชเครื่องมือหยอด หรือโรยเปน
แถวแลวคราดกลบ นาหยอดในสภาพนี้ใหผลผลิตสูงกวานาหยอดในสภาพไรมาก สวนนาหยอด
ในสภาพขาวนาปนั้นทํากันมากในภาคอีสานที่พื้นที่แหงแลง แตปจจุบันไดเปลี่ยนไป การทํานา
หยอดไดเพิ่มจํานวนมากขึน้ เรื่อยๆ ในนาพื้นที่ภาคเหนือ เชน ที่จังหวัดลําปาง โดยไดหันมาทํา
นาหยอดกันในสภาพดินเปยกหลังจากทําเทือกแลวปลอยใหแหงหมาดๆ เกษตรกรจะใชลูกกลิง้
ที่มีปุมโดยรอบ เมื่อลากไปจะทําใหเกิดเปนหลุมเล็กๆ พอที่จะหยอดเมล็ดขาวลงไปได 3-6
เมล็ด การที่เกษตรกรหันมาทํานาหยอดในลักษณะเชนนี้ก็เพื่อแกปญหาการขาดแคลนคนดํานา
และคาจางดํานาที่แพง
การทํานาดํา เหมาะสําหรับบริเวณที่มีฝนตก หรือมีน้ําทวม และพื้นดินเก็บกักน้ําไดดี
เตรียมดินดวยการไถและคราดใหพื้นนาเปนโคลนตม นําตนกลาที่ตกกลาไวในแปลงกลามาปก
ดํา ในระยะหางที่เหมาะสม
การทํานาหวาน สวนใหญเปนวิธีปฏิบตั ิสําหรับปลูกขาวขึ้นน้ํา แตอาจจะใชกับการปลูก
ขาวไรหรือขาวนาสวนก็ได การทํานาหวานเพิ่มพื้นที่มากขึ้นในภาคกลางและจะเพิม่ ขึ้นเรื่อยๆ
การทํานาหวานขยายตัวอยางรวดเร็วเมื่อตองประสบกับปญหาการขาดแคลนแรงงานในการ
ดํานาและคาจางดํานาที่สูง
ธุรกิจการทํานาดําไดรับการตอบรับดวยดีจากชาวนาในพื้นที่ภาคกลางตอนบน
กระบวนการเริ่มตั้งแตการคัดเลือกเมล็ดพันธุ การเพาะกลากระบะในโรงเพาะ เพื่อขายตนกลา
ใหเกษตรกรทีม่ ีเครื่องดํานาหรือรับจางปกดํานาดวยเครื่องดํานา ชาวนาใหเหตุผลวา ขาวนาดํา
มีการเจริญเติบโตที่ดีกวา เมล็ดขาวมีความสมบูรณสูง อัตราการใชปุยนอยกวานาหวาน แต
ธุรกิจการทํานาดําตองอาศัยเครื่องดํานาเปนตนกําลังสําคัญในการปกดํา เครื่องดํานายังเปนที่
ตองการอยู แตราคาที่สูงมาก ทําใหเกษตรกรที่มีรายไดนอยตัดสินใจไมถูก ระหวางการซื้อ
เครื่องดํานากับการจางเหมาเครื่องดํานามาปกดําแทนการทํานาหวาน

การเตรียมกลาแผนเพื่อใชกับเครื่องดํานา
ตนกลาที่ใชกบั เครื่องดํานาจะตองเตรียมเปนแผน ประกอบดวยดินทีม่ ีลักษณะเปนรูป
สี่เหลี่ยมผืนผา บนผิวดินจะมีตนกลาขึ้นเบียดกันแนน โดยรากของตนกลาจะเกาะยึดกันแนนอยู
ในเนื้อดินดังกลาว ทําใหเปนแผนคลายหญาแผนที่ใชปหู ญาสนามในงานจัดสวน
110

รูปที่ 3.22 แผนกลาที่ใชกับเครื่องดํานา

การเตรียมกลาแผนมี 2 วิธี คือ เตรียมในกระบะพลาสติกที่ออกแบบมาใชสําหรับเตรียม


กลาแผนเพื่อใชกับเครื่องดํานาโดยเฉพาะ ซึ่งเปนวิธีเดิมซึ่งใชกันอยูในตางประเทศที่มีการใช
เครื่องดํานา เชน ประเทศญี่ปุน และสาธารณรัฐเกาหลี สวนวิธที ี่สองคือเตรียมกลาแผนบน
พื้นดินในแปลงนา
1. วิธีเตรียมกลาแผนในกระบะพลาสติก จะใชดินรวนที่มีสว นผสมของดิน ปุยและ
วัสดุอื่น ๆ ตามสัดสวนที่พอเหมาะ และใชเมล็ดพันธุที่แชและหุมจนมีรากงอกแลวเชนเดียวกับ
เมล็ดพันธุทใี่ ชหวานกลาสําหรับปกดําดวยคน กระบะพลาสติกที่ใชจะเปนกระบะที่ออกแบบมา
สําหรับการเพาะกลาโดยเฉพาะ มีขนาด กวาง 28 × ยาว 58 ×สูง 2.5 เซนติเมตร บริเวณพื้น
กระบะจะมีรูระบายน้ําขนาด 5 มิลลิเมตร อยูทั่วพื้นกระบะ วิธีการเตรียมกลาแผนในกระบะ
พลาสติก มีขั้นตอนดังนี้
1. ตัดกระดาษหนังสือพิมพปูลงบนพื้นกระบะใหพอดีกับขอบกระบะพลาสติก
2. รดน้ําใหกระดาษชื้นเพื่อไมใหกระดาษเลื่อนใสดินรวนดินรวนผสมใสลงในกระบะ
3. ใชไมปาดผิวหนาดินจนเรียบสม่ําเสมอ ระดับดินต่ํากวาขอบกระบะ 1 เซนติเมตร
ไมสําหรับปาดหนาดิน
4. หวานเมล็ดพันธุขาวที่ผานการแชและหุมจนมีรากงอกแลว 3 -5 มม. ลงไปบนผิวดิน
จนทั่วกระบะ
5.โรยดินทับบนเมล็ดพันธุทหี่ วานไวใหเสมอขอบกระบะ และใหทั่วทัง้ กระบะ
6.ใชฝกบัวรดน้ําใหดินชุม แลวยกไปวางในพื้นที่ที่จัดเตรียมไวจะเปนพื้นแหงหรือแปลง
นาก็ได แตตองเปนพื้นที่ไดระดับไมเอียง
7. ใชฝกบัวรดน้ําจนดินชุมทุกเชาและเย็น เมื่อตนกลามีอายุ 16-24 วัน ขนยายตนกลา
พรอมกระบะเพาะไปที่แปลงนา บริเวณทีจ่ ะใชงาน
8. ถลกและลอกแผนกลาออกจากกระบะเพาะ นําไปใสลงถาดปอนกลาของเครื่องดํานา
ไดทันที อายุของตนกลาที่เหมาะสมขึ้นอยูกับสภาพของแปลงนาและสภาพแวดลอมและความ
ตองการของเกษตรกรเปนสําคัญ
นอกจากจะเตรียมแผนกลาดวยวิธีนี้แลว ยังมีการเตรียมโดยใชเครื่องเพาะแผนกลา
(seedling machine) ดังรูปที่ 3.23
111

รูปที่ 3.23 เครื่องเพาะแผนกลา

รูปที่ 3.24 กระบะเพาะกลา

เครื่องเพาะแผนกลาประกอบดวยสายพานลําเลียงที่วางอยูบนขา ดานบนมีอุปกรณ
บรรจุดินและปรับระดับ อุปกรณใหน้ํา อุปกรณโรยเมล็ด และอุปกรณโรยดินกลบ ทั้งนี้ ดินที่ใช
จะตองเปนดินรวนที่ผานการบดดวยเครื่องบดดิน (ถามี) ผสมกับปุยและวัสดุอื่นๆ ที่เหมาะสม
สวนเมล็ดพันธุนั้นก็เปนเมล็ดพันธุที่มีรากงอกเปนตุมแลว ในเบื้องตน กระบะเพาะกลา (รูปที่
3.24) จะถูกนําไปวางไวบนสายพานลําเลียงซึ่งเคลื่อนทีอ่ ยูตลอดเวลาดวยความเร็วที่คงที่ เมื่อ
ผานไปใตอุปกรณบรรจุดินและปรับระดับ ดินจะถูกปลอยลงมาในกระบะเพาะ ลูกกลิ้งจะทําการ
ปาดดินเพื่อปรับระดับใหสม่ําเสมอ หลังจากนั้นกระบะเพาะก็จะเคลื่อนที่ตอไปผานอุปกรณให
น้ํา เพื่อพนน้ําใหดินในกระบะเปยกชุม เมื่อมาถึงอุปกรณโรยเมล็ดและโรยดิน เมล็ดพันธุขาวก็
จะตกลงบนกระบะกอนที่จะถูกโรยปดดวยดินอีกครั้งหนึ่ง เมื่อเสร็จแลวก็นํากระบะเหลานี้ไป
วางไวในสถานที่ที่เตรียมไว แลวคอยรดน้ําใหชุมจนตนกลางอกออกมาไดอายุตามที่ตองการ
2. วิธีเตรียมกลาแผนในแปลงนา เปนการหวานเมล็ดพันธุที่แชและหุมจนมีรากงอก
แลวลงบนดินที่มีกรอบไมกั้นเปนแปลง ตามสัดสวนที่แนนอน กรอบไมและดินจะวางอยูบน
112

พลาสติก ดินในแปลงกลาจึงถูกตัดขาดจากดินพื้นนาเปนวิธเี ตรียมกลาที่สะดวก ประหยัด


เหมาะสมสําหรับเกษตรกรในประเทศ มีรายละเอียดดังนี้
ขั้นตอนการเตรียมกลาแผนในแปลงนา
1. ไถคราด เตรียมแปลงตามวิธีปฏิบตั ิเหมือนเตรียมแปลงเพาะกลาเพื่อใชคนปกดํา
ทั่วไป เสร็จแลวขังน้ําไวในแปลง 1 คืน
2. ในตอนเชาของวันที่จะหวานกลา ใหระบายน้ําบริเวณที่จะใชเพาะกลาออกใหหมด
3. ใชไมรูดปาดดินเลน เพื่อปรับหนาดินและปาดเอาเลนเหลวออกจากผิวหนาดิน ตาม
แนวที่จะทําแปลงกลาเปนทางยาวประมาณ 10 เมตร
4. ใชคน 2 คนคลี่แผนพลาสติกขนาด 1.40 × 8.40 เมตร ออกและดึงใหตึงปูลงตาม
แนวที่ปรับหนาดินไว
5. ใชไมหลักปกทิ่มทะลุแผนพลาสติกดานหนึ่งตามแนวขวางลงไปในดินใหแนน เพื่อยึด
แผนพลาสติกใหติดกับผิวดิน ไม เลื่อนออกจากบริเวณที่กําหนด
6. ใชไมรูดแผนพลาสติกตามแนวยาวใหแผนพลาสติกแนบติดกับผิวดินตลอดทั้งแผน
7. นําไมที่มีพื้นที่หนาตัด 2.5 × 2.5 เซนติเมตร ยาวทอนละ 2 เมตร วางลงบนแผน
พลาสติกตามแนวยาวขางละ4 ทอนจะไดความยาวรวมดานละ 8 เมตร และนําไมทมี่ ี
พื้นที่หนาตัดขนาดเดียวกันยาว 1.16 เมตรวางปดดานหัวและทายตามแนวขวางบนแผน
พลาสติก แลวใชไมหลักปกลงบนดินที่หวั ตอของไมดานนอก กรอบทุก ๆหัวตอ ทําเปนกรอบไม
รูปสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 1.16 × 8 .0 เมตรวางบนแผนพลาสติก (รูปที่ 3.25 และ3.26) การปก
ไมหลักนั้นตองปกใหสวนบนของไมหลัก เอียงกดเขาหาดานในของกรอบไม เพื่อกดยึดกรอบไม
ไวไมใหเคลื่อนที่ในขณะที่ใสดินเลนลงไปในกรอบไมเพือ่ ทําเปนแปลงกลา ไมหลักยังชวยกดยึด
กรอบไมไวไมใหหลุดลอยลอยน้ําในชวงที่ตองขังน้ําเลีย้ งแปลงกลาดวย
8. นําไมปลายแหลมทิ่มแผนพลาสติกในกรอบไมใหเปนรู เพื่อระบายอากาศและน้ําที่ยัง
หลงเหลืออยูด านใตของแผนพลาสติกใหขึ้นมาอยูดานบน ขนาดของรูไมควรโตกวา 0.5
เซนติเมตร และตองทิ่มแผนพลาสติกใหมีจํานวนรูมากๆ ทั่วแผนพลาสติก โดยมีระยะหาง
ระหวางรูเจาะประมาณ 5 เซนติเมตร
9. นําดินเลนในแปลงนา ตรงบริเวณที่อยูหางจากแผนพลาสติกไมนอ ยกวา 50
เซนติเมตร ใสลงไปบนแผนพลาสติกที่อยูใ นกรอบไม แลวใชไมปาดหนาลูบผิวดินเลนใหเรียบ
เต็มเสมอขอบของกรอบไม
10. เมื่อผิวหนาดินในกรอบไมที่เตรียมไวเริ่มหมาด คือมีผิวหนาแข็งพอที่จะรับเมล็ด
พันธุที่จะหวานลงไปไมจมดินแลว ชั่งเมล็ดพันธุที่มีรากงอกแลวโรยลงไปบนดินในแปลงกลาตาม
อัตราสวน 2.50 กิโลกรัมตอพื้นที่ขนาด 1.16 × 2 เมตร
11. นําดินเลนโปะลงตามขอบไมดานนอกจนรอบ จะชวยปองกันไมใหกรอบไมลอยน้ํา
เมื่อตอนขังน้ําเลี้ยงตนกลาไดอีกทางหนึ่ง
113

รูปที่ 3.25 แสดงลักษณะและขนาดของแปลงกลา

รูปที่ 3.26 ภาพขยายแปลงเตรียมกลาแผน

การดูแลแปลงกลา
1. หลังจากเตรียมกลาเสร็จแลวถามีฝนตัง้ เคาตองนําแผนพลาสติกทีใ่ ชทําแปลงกลามา
คลุมทับแปลงกลาตลอดแปลง และใชดินในแปลงโปะทับแผนพลาสติกเปนระยะ กันลมพัดแผน
พลาสติกปลิว ปองกันไมใหเม็ดฝนตกกระทบหนาแปลงกลาเพราะจะทําใหเมล็ดพันธุกระเด็น
เสียหาย แลวเปดขอบคันนาเปนชองไวใหน้ําในแปลงกลาไหลออกได น้ําฝนจะไดไมทวมแปลง
กลา จนถึงรุงเชา ถาฝนหยุดใหเปดแผนพลาสติกออกได แตถามีฝนตกหลังจากหวานกลาไป
แลว 2 วัน ไมจําเปนตองคลุมแผนพลาสติก เพราะเมล็ดพันธุขาวจะมีรากยึดติดดินแลว
2. หลังจากหวานเมล็ดพันธุไป 2 คืนแลว ตอนรุงเชาของวันที่ 3 ปลอยน้ําไหลเขาแปลง
ชาๆ จนเออขึ้นทวมแปลงกลาทั้งหมดจนมองไมเห็นเมล็ดขาวและกรอบ และไมขังน้ําทิ้งไวใน
แปลงกลาประมาณครึ่งวันหลังจากนั้นจึงปลอยน้ําออกจากแปลง
3. หลังจากนั้นอีก 2 คืน ตอนรุงเชาของวันที่ 5 ปลอยน้ําเขาไหลเขาแปลงชาๆ เพื่อขัง
ไวเลี้ยงตนกลา เหมือนแปลงกลาที่เตรียมสําหรับใชคนปกดํา
4. เมื่อตนกลาอายุ 16 - 24 วัน ก็สามารถตัดไปใชกับเครื่องดํานาได (รูปที่ 3.27)
114

รูปที่ 3.27 ลักษณะของแปลงกลาที่เพาะในแปลงนา

วิธีการตัดกลาเพื่อนําไปใชงาน
การเตรียมกลาแผนในแปลงนาจะเตรียมเปนแผนขนาดใหญ เมื่อจะนําไปใชงานจะตอง
ตัดเปนแผนขนาด กวาง 28 × ยาว 58 เซนติเมตร ตามแนวขวางของแปลงกลา ดังนี้
1. ระบายน้ําออกจากแปลงกลาลวงหนากอนวันที่จะตัดกลา 1 คืน (เฉพาะแปลงกลาที่
ตองการจะตัดไปใชงานในแตละวันเทานัน้ ) แปลงกลาที่ยังไมตองการตัดยังตองขังน้ําเลี้ยงตน
กลาไวตามเดิม
2. ดึงหลักไมที่ปกไวรอบแปลงกลาออก รวบรวมมัดเก็บไวใชในฤดูตอ ไป
3. ยกไมที่ใชทําเปนกรอบแปลงกลาออก รวบรวมมัดเก็บไวใชในฤดูตอไป
4. นํากรอบเหล็กตัดกลา (มีประจําเครื่องดํานา) มาวางทาบลงไปบนแปลงกลาตามแนว
ขวาง โดยจัดแตงไมใหกรอบเหล็กทับตนกลา
5.ใชมีดปลายแหลมกรีดตัดดินในแปลงกลาออกเปนแผนตามแนวดานในของกรอบ
เหล็กทุก ๆ ดาน
6.ยกกรอบเหล็กออก ใชมือจับตนกลาแลวคอยๆ ยกขึน้ ดินในแปลงกลาที่ถูกตัดเปน
แผนแลวจะหลุดจากแผนพลาสติกขึ้นมาพรอมกับตนกลา ตามขนาดที่ตัดไว ซึ่งสามารถนําไปใช
งานไดตอไป

เครื่องปลูกที่ใชทอ นพันธุ
เครื่องปลูกทีใ่ ชทอนพันธุทสี่ ําคัญที่ใชกันอยูมากในประเทศไทยคือเครื่องปลูกออย
(sugar cane planter)

เครื่องปลูกออย
ออย เปนพืชจําพวกหญา ลําตนแข็งแรง มีขอปลองเห็นไดชัดเจน สูง 2-4 เมตร เสน
ผานศูนยกลาง 2-5 ซม. ไมแตกกิ่งกาน ผิวนอกสีเขียวออกเหลือง หรือสีแดงเขมออกมวง มีขี้ผึ้ง
115

เปนฝาขาว ๆ เคลือบอยู ใบแคบ ผิวใบมีขนสั้น ๆ ทั้ง 2 ดาน เมื่อลูบรูสึกสากมือ เสนกลางใบ


ใหญสีขาวมีขน ดอกออกที่ยอดเปนชอ ดอกออกสีขาว กานชอดอกไมมีขน แตกแขนงเปนชอ
ดอกยอยมากมาย ออกดอกในฤดูหนาว เปนพืชชอบอากาศอบอุนและรอนชื้น พบปลูกเปนไร
เพื่อตัดสงโรงงานผลิตน้ําตาล และปลูกตามบานเรือนไวใชเปนยาหรือในพิธีกรรมตาง ๆ
ออยเปนพืชเศรษฐกิจของประเทศไทย โดยทั่วไปหมายถึงออยโรงงาน ใชเปนวัตถุดิบใน
อุตสาหกรรมออยและน้ําตาล ประเทศไทยบริโภคน้ําตาลปละ 1.6-1.7 ลานตัน เปนมูลคา
17,000-19,000 ลานบาท และมีการสงออกมากกวาปละ 3 ลานตัน เปนมูลคา 20,000-30,000
ลานบาท ทําใหประเทศไทยเปนผูสงออกน้ําตาลอันดับ 4 ของโลก ปริมาณผลผลิตออยในแตละ
ปไมแนนอน ขึ้นอยูกับพื้นที่ปลูก และผลผลิตตอไร พื้นที่ปลูกผันแปรระหวาง 5.6-6.6 ลานไร อยู
ในเขตภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคตะวันออก พื้นที่ปลูกออยอยูใน
เขตชลประทานประมาณ 20 เปอรเซ็นต ที่เหลืออาศัยน้ําฝน ผลผลิตออยรวมในแตละปอยู
ระหวาง 40-60 ลานตัน ผลผลิตตอไรอยูระหวาง 8-9 ตัน สามารถเพิ่มผลผลิตไดถา มีการจัดการ
ที่เหมาะสม

วิธีปลูกออย
1. ปลูกดวยแรงคน ในทางทฤษฎีแนะนําใหเปดรองแลวปลูกทันที แตในทางปฏิบตั ิ
ชาวไรมักจะเตรียมดินแลวยกรองคอยฝน เมื่อฝนตกมากพอก็จะรอจนดินหมาด แลวจึงลงมือ
ปลูก กอนปลูกก็ใสปุยรองพื้นแลวกลบกอนวางทอนพันธุ การปลูกใชวธิ ีวางทอนพันธุใหราบกับ
พื้นรองแลวกลบดินใหหนาประมาณ 5-15 เซนติเมตร ทั้งนี้ขึ้นอยูกับฤดูปลูก ถาปลูกหนาฝนกลบ
บาง หนาแลงกลบหนา ขณะปลูกตองมีการคัดเลือกทอนพันธุไปดวย ควรปลูกเฉพาะทอนพันธุท ี่
มีตาสมบูรณเทานั้น
ระยะปลูกจะแตกตางกันไปตามสถานที่ โดยทั่วไปใชระยะระหวางแถวตั้งแต 90-140
เซนติเมตรสวนระยะระหวางทอนหางกัน 30-50 เซนติเมตร วัดจากกึง่ กลางทอนหนึ่งถึงกึ่งกลาง
ของอีกทอนหนึ่ง อยางไรก็ดีเนื่องจากชาวไรขาดความระมัดระวังเกีย่ วกับทอนพันธุ ทําใหความ
งอกต่ําจึงตองใชทอนพันธุมากขึ้น เชน ปลูกโดยวางทอนพันธุเปนคูตดิ ตอกันไป หากชาวไรใช
ทอนพันธุ 3 ตา และมีการระวังในการเตรียมทอนพันธุแ ลวจะใชทอนพันธุลดนอยลง
นอกจากนี้ก็มีชาวไรบางรายที่นิยมปลูกโดยวางออยทั้งลําลงในรอง โดยไมไดสับใหขาด
จากกันเปนทอนๆ วิธีนี้ไมถูกตองเพราะออยจะงอกเฉพาะ ปลายกับโคนเทานั้น วิธที ี่ถูกคือ เมื่อ
วางออยทั้งลําแลวใชมีดสับใหขาดเปนทอนๆ ละ 2-3 ตา วิธีนี้จะชวยประหยัดแรงงานไดมาก แต
ออยที่ใชทําพันธุ ตองมีอายุระหวาง 5-8 เดือนจึงจะไดผลดี
ในกรณีที่ดินแฉะหรือมีน้ําขังเล็กนอย ควรปลูกโดยวิธปี กทอนพันธุใหเอียงประมาณ 45
องศากับแนวดิ่ง และควรฝงใหลึกประมาณสองในสามของความยาวทอนพันธุ
ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน แรงงานปลูกออยสวนใหญจะเปนแรงงานจากภาคเหนือและ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จึงมีการเคลื่อนยายโรงงานน้ําตาลไปยังพื้นที่ดังกลาว ทําใหพื้นที่ปลูก
116

ออยภาคตะวันออกเฉียงเหนือเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และยังใชแรงงานคนมาตลอด ซึ่งขาดความประณีต


ตนออยขึ้นไมสม่ําเสมอและเสียคาใชจายตอไรสูง ตนทุนการผลิตจึงสูงและผลผลิตต่ํากวาทีค่ วร
จึงมีการนําเครื่องปลูกออยแบบพวงทายรถแทรกเตอรที่ใชกันอยูในภาคกลางและภาคตะวันตก
ซึ่งเปนเครื่องที่ผลิตจําหนายในประเทศมานาน มาใชทงั้ สวนตัวและรับจาง โดยมีสถิติการใชที่
เพิ่มมากขึ้นทุกๆป เนื่องจากการใชแรงงานคนมีคาใชจายเพิ่มสูงขึ้นทุกป เพราะหาแรงงานยาก
การปลูกออยโดยใชแรงคนมีขอดอยดังนี้
1. การปลูกดวยคนคาใชจายสูงขึ้นอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะในชวงกลางถึง
ปลายฤดูจะหาคนงานยาก เนื่องจากตรงกับชวงตัดออย และมีแนวโนมสูงขึ้นอีก
2. การปลูกดวยคนจะขาดความประณีต เพราะพื้นที่ปลูกออยเปนแปลงใหญ
เปนงานหนัก การวางรายตนพันธุออยลงในรองปลูกไมคอยประณีต ถาโคนของตนพันธุที่ถูกวาง
ลงไปใหมไมตอ หรือทับกับปลายของตนพันธุทวี่ างลงไวกอนแลว จะเกิดชองวางไมมีตนออยขึ้น
ตรงชวงนั้น และมีผลทําใหผลผลิตลดลงได
3. การปลูกดวยคนจะมีระยะหางแถวปลูกไมแนนอน มากกวา 1 เมตร เปนสวน
ใหญ ทําใหเสียพื้นที่ปลูก เนื่องจากเกษตรกรตองใชรถไถเดินตามในการทํากิจกรรมในแปลงปลูก
และรถแทรกเตอรใหญรับจางยกรองจะใชระยะหางที่สะดวกตอการทํางานจะไดรวดเร็ว ทําใหมตี น
พันธุนอยเกินไป มีผลทําใหผลผลิตลดลง
2. ปลูกดวยเครื่องปลูกซึ่งเปนเครื่องมือที่นํามาติดกับรถแทรกเตอร เพื่อทําหนาที่หลาย
อยางไปพรอมๆ กัน ตั้งแตการเปดรอง ตัดลําตนออยออกเปนทอนๆ วางทอนพันธุในรอง ใสปุย
และกลบทอนพันธุ การปลูกดวยเครื่องไมตองมีการเปดรองหรือยกรองไวกอนเพียงแตไถใหดิน
รวนซุยดีเทานั้น ชาวไรรายใหญนิยมใชเครื่องปลูกเพราะทุนคาใชจา ย และมีความงอกสม่ําเสมอ
ดี เพราะความชื้นในดินสูญเสียไปนอยกวาการปลูกดวยแรงคนซึง่ ตองยกรองไวลว งหนา วันหนึ่ง
ปลูกไดประมาณ 15-20 ไร

รูปที่ 3.28 เครื่องปลูกออย


117

การปลูกดวยเครื่องตองใชแรงงาน 3 คน คนหนึ่งทําหนาที่ขับ และควบคุมการทํางาน


ของสวนตางๆ สวนอีกสองคนทําหนาที่ปอ นออยทั้งลํา ทั้งสองคนจะไมปอนเสียบทอนพันธุลง
ชองปอนพรอมกัน แตจะผลัดกันปอน คือเมื่อคนที่หนึ่งเสียบปอนทอนพันธุลงชองปอนเกือบสุด
ปลายออยแลว คนที่สองจะตองรีบเสียบทอนพันธุลงชองปอนทันทีกอนที่ปลายออยจะสุด
มิฉะนั้นจะเกิดชวงหางของทอนพันธุในรองปลูก เพราะรถปลูกจะเคลื่อนตัวไปขางหนา
ตลอดเวลา ดังนั้นถาชวงเวลาใดไมมีทอนพันธุเสียบปอนลงไป ก็จะไมมีทอนพันธุลงไปในรอง
ปลูกชวงนั้น มีผลทําใหผลผลิตลดลงได
เครื่องปลูกออยที่ใชอยูใ นประเทศเปนแบบตอพวงกับดานหลังรถแทรกเตอรโดยยึดอยู
กับอุปกรณตอ พวง 3 จุด เครื่องปลูกออยสวนใหญมีสวนประกอบทีส่ ําคัญ 5 สวน คือระบบ
ถายทอดกําลัง (power transmission system) ระบบตัดตน (stalk cutting box) ระบบเบิกรอง
(soil furrowing system) อุปกรณใสปุย (fertilizer applicator) และโครงรับออยพันธุ (frame
structure)

รูปที่ 3.29 ระบบตัดตนออย

ระบบถายทอดกําลังประกอบดวยลอสงกําลัง (rug wheel) 2 ลอ ที่ตดิ ตั้งอยูบนเพลา


เดียวกับลอฟนเฟอง (sprocket) โดยที่ลอ ทั้งสองจะถูกขับเคลื่อนโดยแรงที่กระทําจากพื้นดิน
แลวสงกําลังตอไปยังกลไกตัดผานลอฟนเฟอง และโซ นอกจากนั้นกําลังที่ไดยังถูกสงไปยัง
อุปกรณใสปุยผานมูเลและสายพาน ระบบตัดตน (รูปที่ 3.29) ถูกจัดสรางขึ้นมาจากเพลา 2 อันที่
หมุนในทิศทางที่ตรงกันขามกัน แตละเพลาตอเขากับเฟองเกียร 54 ฟน ใบมีด 2 ใบ และทอยาง
1 ชุด เมื่อเพลาทั้งสองหมุน ชุดทอยางก็จะหมุนพรอมกับหนีบ และดึงตนออยที่ถูกปอนมาจาก
ชองเปดดานบนลงมา ใบมีดที่หมุนตามมาก็จะตัดตนออยใหเปนทอนๆละ 30 ซม. หลังจากนั้น
ทอนออยก็จะหลนผานทอทีเ่ รียวลงไปในนอนอยูในรองซึ่งระบบเบิกรองที่มีผาลเปดรองแบบสัน
ทําหนาที่แหวกดินใหเปนรองปลูกรอไวกอ นแลว โดยจะดันและยกดินออกดานขางทั้งสอง
ดาน หลังจากนั้นใบกลบดินก็จะปาดดินที่ขึ้นมาจากรองกลับคืนลงไปในรองเชนเดิม โดยมีลออัด
118

ดินกลิ้งทับใหดินแนนขึ้น ในขณะเดียวกันอุปกรณใสปยุ ที่ติดอยูดานหลังของเครื่องปลูกก็จะ


หยอดปุยลงไปในรองกอนที่จะถูกกลบดวย สําหรับความยาวของทอนออยที่จะปลูกนั้นสามารถ
ปรับไดโดยการเปลี่ยนลอฟนเฟองในระบบถายทอดกําลัง สวนการกลบดินจํานวนมากเกินไป
ดินมีความชื้นไมเพียงพอ การโคงงอของตนพันธุ และอื่นๆ มักจะทําใหการงอกของตนออยมี
ปญหา
119

บทที่ 4 เครื่องพนสารเคมีปองกันกําจัดศัตรูพืช
(Pest Protection and Control Equipment)
120

บทนํา
ความเสียหายของผลผลิตทางการเกษตรจํานวนมากที่เกิดจากการทําลายของศัตรูพืช
เชนโรค แมลง และวัชพืช ซึ่งจะเกิดขึ้นเสมอทุกๆป โดยเฉพาะในเขตรอน ซึ่งมีสภาพแวดลอมที่
เหมาะสมตอการเพิ่มปริมาณ และความหนาแนนของศัตรูพืช นอกจากนั้นการเพิ่มผลผลิตทาง
การเกษตรในปจจุบัน เกษตรกรมักมีจะมีการใชปุยรวมกับสารกําจัดศัตรูพืช เนื่องจากพันธุพืชที่
ใหผลิตตอไรสงู สวนใหญมักจะใชปุยในอัตราสูง แตจะออนแอตอโรคและแมลง การใชสารกําจัด
ศัตรูพืชที่ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูง นอกจากจะเปนการลดคาใชจายแลว ยังเปนการลด
ปริมาณการใชสารกําจัดศัตรูพืชเกินความจําเปน ทําใหเกิดความปลอดภัยตอผูบริโภค และ
รักษาสิ่งแวดลอม
สําหรับภาวการณในปจจุบัน แรงงานภาคการเกษตรกรรมเริ่มลดนอยลง จนทําใหเกิด
ปญหาการขาดแคลนแรงงานซึ่งมีผลตอคาจางแรงงานที่สูงขึ้น ในขณะที่การระบาดของโรค
แมลงวัชพืช และการใชสารฮอรโมนเรงฉีดเรงการเจริญเติบโตของตนพืชนั้น มีความจําเปน
เพิ่มขึ้นตามลําดับ ดังนั้นการใชเครื่องพนสารกําจัดศัตรูพืช จึงเปนสิ่งจําเปนเพื่อแกไขปญหา
แรงงาน และการระบาดดังกลาว ตลอดจนเพื่อลดความสูญเสียผลผลิตทางดานการเกษตร และ
ประหยัดแรงงานในระบบการผลิตปริมาณมาก
สารเคมีที่ใชปอ งกันกําจัดศัตรูพืชมีราคาสูง การใชสารเคมีไมถูกหลักการขาดความรู
และความเขาใจถึงวิธีการใชสารอยางถูกตอง ทําใหเกิดผลกระทบกับสภาพแวดลอม ซึ่งเปน
อันตรายตอสิง่ ที่มีชีวิต สัตวเลี้ยง รวมทั้งแมลงศัตรูธรรมชาติที่เปนประโยชนตอพืช หรือ
สิ่งมีชีวิตอื่นๆ ดังนั้น การใชสารเคมีอยางถูกวิธีจึงมุงทีค่ วามประหยัด โดยการทําใหสารเคมีไป
เปาหมายมากที่สุด โดยไมมีการสูญเสียเนือ่ งจากการตกลงดิน หรือปลิวหายไปกับอากาศนอย
ที่สุด
การใชสารเคมีปองกันกําจัดศัตรูพืชมักจะกระทําเมื่อพืชกําลังไดรับความเสียหาย หรือ
กอนที่จะเสียหาย ซึ่งก็คือการปองกันนั้นเอง แตการใชสารเคมีปองกันกําจัดศัตรูพืชใหไดผล
ตามความมุงหมายนั้น ผูปฏิบัตติ องคํานึงถึงสิ่งตอไปนี้
1. ชนิดของสารปองกันกําจัดศัตรูพืช
2. ชนิดของศัตรูพชื
3. ชวงจังหวะหรือระยะเวลาการใชสารปองกันกําจัดศัตรูพืช
4. เทคนิคการใชสารปองกันกําจัดศัตรูพืช
5. เครื่องพนสารเคมีและวิธีใช
เครื่องพนสารเคมีปองกันกําจัดศัตรูพืช หมายถึงเครื่องมือที่ใชทําใหสารเคมีซึ่งอยูในรูป
ของของเหลว หรือผงแตกตัวเปนละอองเม็ดเล็กๆ มีขนาดพอเหมาะที่จะกระจายไปยังตนพืชให
ถูกสวนตางๆ ของพืชอยางสม่ําเสมอ โดยใชปริมาณสารเคมีนอยที่สุด ดังนั้น เครื่องมือกําจัด
ศัตรูพืชจึงมีหลายชนิดใหผูใชเลือกใชไดตามความเหมาะสมของพืชทีป่ ลูก ไมวาจะเปนพืชสวน
ครัวที่มีเนื้อทีน่ อย หรือสวนผลไมที่มีเนือ้ ขนาดใหญ
121

เครื่องพนสารเคมี
ปองกันกําจัดศัตรูพืช

เครื่องพนสารเคมี เครื่องพนสารเคมี เครื่องพนสารเคมี


ที่เปนของเหลว ที่เปนผง ที่เปนเม็ด

เครื่องพนสารเคมี เครื่องพนสารเคมี เครื่องพนสารเคมี


แบบแรงดันน้ํา แบบแรงดันลม แบบแรงดันลม

เครื่องพนสารเคมี
แบบสูบชัก

เครื่องพนสารเคมี
แบบสะพาย

เครื่องพนสารเคมี
ชนิดอัดลม

เครื่องพนสารเคมี
ชนิดสูบโยก

เครื่องพนสารเคมี
แบบติดรถแทรกเตอร

เครื่องพนสารเคมี
แบบลมพา

เครื่องพนสารเคมี
แบบแรงดันลม

เครื่องพนสารเคมี
แบบแรงเหวี่ยงหนีศูนย

เครื่องพนสารเคมี
แบบหมอก

รูปที่ 4.1 แผนผังการแบงประเภทของเครื่องพนสารเคมี


122

เครื่องพนสารเคมีปองกันกําจัดศัตรูพืชสามารถแบงออกไดตามลักษณะของสารเคมีที่ใช
ถานําสารเคมีไปละลายน้ําใหเปนของเหลวแลวนําไปใชเปนสารเคมีทนี่ ิยมใชกันมากที่สุดใน
ประเทศ สวนสารเคมีทผี่ ลิตขึ้นมาเปนผงหรือเปนเม็ดแลวนําไปใชโดยตรงนั้นมีใชกันอยูนอย
เครื่องพนสารเคมีปองกันกําจัดศัตรูพืชจึงแบงออกไดเปน 3 กลุม คือเครื่องพนสารเคมีที่เปน
ของเหลว เปนผงและเปนเม็ด ดังที่แสดงไวในรูปที่ 4.1 ซึ่งจะเห็นวากลุมเครื่องพนสารเคมีที่
เปนของเหลวประกอบดวยเครื่องพนสารเคมีแบบแรงดันน้ํา (hydraulic sprayer) แบบลมพา
(airblast sprayer) แบบแรงดันลม (pneumatic sprayer) แบบแรงเหวี่ยงหนีศนู ย (centrifugal
sprayer) และแบบหมอก (fog machine หรือ aerosol generator) ซึ่งบางครั้งก็เรียกวาเครือ่ ง
พนหมอก อยางไรก็ตามเครื่องพนสารเคมีแบบแรงดันน้ํายังสามารถแบงยอยลงไปไดอีก 3 ชนิด
คือเครื่องพนสารเคมีชนิดอัดลมแบบสูบชัก แบบสะพายหลัง และแบบติดรถแทรกเตอร

เครื่องพนสารเคมีที่เปนของเหลว
สารเคมีปองกันกําจัดศัตรูพชื สวนใหญจะอยูในรูปน้ํามัน และผง โดยนําไปผสมกับน้ํา
เปนของเหลวดังนี้
1. แบบผงผสมน้ํา มีชื่อยอ WDP หรือ WP ติดมากับภาชนะทีบ่ รรจุ สารเคมีแบบนี้
ประกอบดวยสารออกฤทธิแ์ ละสารพาหะหรือสารที่ทําใหเจือจาง ซึ่งไดแกผงดินขาว แปงฝุน
หรือสารอื่นที่เหมาะสมซึ่งจะชวยใหใบเปยกงายและชวยในการกระจายตัว
2. แบบน้ํามัน มีชื่อยอ EC ติดมากับภาชนะทีบ่ รรจุ สารเคมีแบบนี้ประกอบดวยสารออก
ฤทธิ์กบั ตัวทําละลายที่ไมสามารถเขากับน้าํ ได ตอมามีการเติมสาร emulsifier เพื่อชวยใหสาร
ออกฤทธิ์ผสมกับน้ําไดและยังชวยใหเกาะใบพืช หรือติดตัวแมลงไดดี เวลาใชนําไปผสมกับน้ําให
ไดความเขมขนตามตองการ จะไดสวนผสมสีขาวขุนสารเคมีแบบนีม้ ีใชแพรหลาย
3. แบบน้ําเขมขนหรือน้ํา มีชื่อยอ SC, WSC, SCW หรือ LC ติดมากับภาชนะที่บรรจุ
สารเคมีแบบนี้ประกอบดวยสารออกฤทธิ์และตัวทําละลายที่ผสมน้ําได ไมมี emulsifier เวลาผสม
น้ําแลวจะไมมสี ีขาวขุน
4. แบบน้ําเขมขนแขวนลอยหรือน้ําขน มีชื่อยอ F หรือ FL ติดมากับภาชนะที่บรรจุ
สารเคมีแบบนี้ทําไดโดยบดสารออกฤทธิ์กับพาหะ เชน ผงดินขาวแลวนําสวนผสมที่ไมออกฤทธิ์
เชน น้ํามาผสม มีลักษณะคลายกับสารเคมีแบบผงผสมน้ําเวลาใชนํามาใสน้ําลงไปแลวคนใหเขา
กัน สารเคมีกําจัดแมลงแบบนี้ใชสะดวกและละลายน้ําไดดีกวาแบบผสมน้ํา
5. แบบผงละลายน้ํา มีชื่อยอ WSP หรื SP ติดมากับภาชนะทีบ่ รรจุ สารเคมีแบบนี้ผลิต
ออกมาในรูปเม็ดหรือเกล็ด สามารถละลายน้ําไดทันที อาจมีการเติมสารชวยเกาะพื้นผิว สารเคมี
กําจัดแมลงแบบนี้ละลายน้าํ ไดงายและไมตกตะกอนแตเมื่อเก็บไวนานๆ จะดูดความชื้น มักจะ
จับตัวเปนกอนแข็ง
123

6. แบบยู แอล วี มีชื่อยอ ULV ติดมากับภาชนะทีบ่ รรจุ สารเคมีแบบนี้ประกอบดวยสาร


ออกฤทธิ์ ผสมกับน้ํามันที่มีความหนืดและอัตราการระเหยต่ําเวลาใชตองใชกบั เครื่องพน ยู แอล
วี เทานั้น
เครื่องพนสารเคมีที่เปนของเหลวเหลานี้จงึ สามารถใชไดกับเครื่องพนสารเคมีแบบ
แรงดันน้ํา เครื่องพนสารเคมีแบบลมพา เครื่องพนสารเคมีแบบแรงดันลม เครื่องพนสารเคมี
แบบแรงเหวี่ยงหนีศูนย เครื่องพนสารเคมีแบบหมอก

เครื่องพนสารเคมีแบบแรงดันน้ํา
เครื่องพนสารเคมีแบบแรงดันน้ําแบงออกได 3 ชนิด คือ เครื่องพนสารเคมีแบบสูบชัก
(piston pump) เครื่องพนสารเคมีแบบสะพาย (knapsack sprayer) และ เครื่องพนสารเคมีชนิด
ติดรถแทรกเตอร
เครื่องพนสารเคมีแบบสูบชัก (รูปที่ 4.2)
เครื่องแบบนีป้ ระกอบดวยกานชัก ซึ่งเปนทอกลวง มีหัวฉีดติดอยูตรงปลายขาง
หนึ่ง สวนอีกขางหนึ่งมีลูกสูบติดอยู ลูกสูบน้ําถูกใสไวภายในกระบอกสูบ ซึ่งก็เปนทอกลวง
เชนกันแตขนาดใหญกวา และทําหนาที่เปนดามจับดวย ที่ปลายกระบอกสูบเหลือเอาไวใหตอ
ทอพลาสติกออกไปจุมอยูในถังน้ํายาเคมี เวลาฉีดสารละลายเคมีตองใชมือจับที่กานชักออก
เครื่องพนสารเคมีแบบนี้ใชงานงาย สวนประกอบไมยงุ ยาก ราคาถูกและมีจําหนายทั่วไป แต
เหมาะสมสําหรับพื้นที่เพาะปลูกขนาดเล็ก ซึ่งตนพืชไมสูงจนเกินไป สําหรับอัตราการไหลของ
น้ํายาเคมีที่พน ขึ้นอยูกับความเร็วของการเดิน โดยปกติประมาณ 5 ชั่วโมงตอเฮกตาร
หลังจากใชงานเสร็จแลว ควรจะลางทําความสะอาดเครื่องพนสารเคมีทุกๆ
สวน นําไปเก็บไวในสถานที่แหงและสะอาด ถามีสารเคมีตกคางอยู สารเคมีเหลานี้จะกัดกรอน
สวนที่เปนโลหะ ทําใหเครือ่ งพนสารเคมีเสียหายได
124

รูปที่ 4.2 เครือ่ งพนสารเคมีแบบสูบชัก

เครื่องพนสารเคมีแบบสะพาย
เครื่องพนสารเคมีแบบนี้แบงเปน 2 ชนิด ชนิดอัดลม และชนิดสูบโยก เครื่องทั้ง
สองชนิดนี้มีสายสะพาย 2 เสนติดอยู ใชสาํ หรับสะพายเครื่องพนสารเคมีไวดานหลังหรือ
ดานขางขณะทําการพนสารเคมี
เครื่องพนสารเคมีชนิดอัดลม (compression sprayer) (รูปที่ 4.3) เปนเครื่อง
ที่มีขนาดบรรจุสารละลายเคมีประมาณ 8-10 ลิตร เหมาะสําหรับพนสารเคมีในนาขาว ในสวนผัก
หรือพืชที่มีความสูงไมมาก เพราะพนไดสูงประมาณ 4-5 เมตร สวนอัตราการพนสารเคมีนั้น
ประมาณ 3-5 ไรตอวัน แตถาเนื้อที่เพาะปลูกมีขนาดใหญก็อาจจะเดินพนสารเคมีกันเปนกลุมๆ
หรืออาจจะตอทอและเพิ่มหัวฉีด เพื่อพนสารเคมีไดครัง้ ละหลายแถว
เครื่องพนสารเคมีแบบนี้มีถงั บรรจุน้ํายาเคมีเปนรูปทรงกระบอก มีกระบอกสูบ
สําหรับอัดอากาศที่อยูภายใน ถังน้ํายาเคมีนี้ปดสนิทเพื่อเก็บอากาศ และทําหนาที่เปนหองเก็บ
ความดันน้ํายาเคมีที่ใสลงไปในถังตองไมเต็ม เพราะตองเหลือที่วางไวสําหรับอัดอากาศ ปกติ
จะเหลือไว 30 % ของปริมาตรถังกอนทีจ่ ะพนสารเคมีตองสูบอัดลมกอน เมื่ออัดลมจนเต็มถัง
แลวจึงจะพนสารเคมีได เมื่อเห็นวาความดันในถังลดลงจนพนสารเคมีออกไปไมไกล ก็อาจจะ
อัดลมใหมไดอีก
เครื่องพนสารเคมีชนิดอัดลม ประกอบดวย 3 สวน ไดแก
1. สวนตัวถังประกอบดวยตัวถัง ฝา ทอสงสาร และสายสะพาย
2. สวนปมลมประกอบดวยกระบอกสูบ กานสูบ ลูกสูบ และเช็ควาลว
125

3. สวนสงน้ํายาประกอบดวยสายยาง กรอง กานพน วาลวควบคุม และหัวฉีด


ตัวถังของเครือ่ งพนสารเคมีแบบนี้สว นใหญจะเปนรูปทรงกระบอก หรือทรงปาน
ที่มีฐานใหญเปนวงกลม เพือ่ ใหตั้งอยูบนพื้นแลวไมลม ทํามาจากเหล็กไรสนิม หรือพลาสติก
สังเคราะห (polyethylene) ซึ่งมีน้ําหนักเบา ถาโปรงแสงดวยก็สามารถมองเห็นปริมาณของ
สารละลายเคมีที่เหลืออยูภายในได สวนปากถังนั้นจะมีขนาดใหญพอที่จะเอามือลวงเขาไปทํา
ความสะอาด และฝาถังก็จะมีเกลียวสําหรับหมุนปดไดแนนไมมีการรั่วซึม ฝาปดบางยี่หอก็จะมี
ปมลมติดตั้งอยูดวย พอหมุนฝาออกปมลมก็จะออกมาดวย โดยปกติถังนี้จะปดสนิท สําหรับเก็บ
อากาศ และทําหนาที่เปนหองเก็บความดัน อากาศไมสามารถรั่วไหลได สารละลายเคมีจะถูก
บรรจุลงไปในถังประมาณ 70 % ของปริมาตรถัง การทีใ่ สสารเคมีไมเต็มถังก็เพราะตองการใหมี
ที่วางสําหรับอัดอากาศโดยปมลม
ปมลมทําหนาที่สบู อากาศนอกถังแลวสงเขาไปอัดสารละลายที่มีปริมาตรคงที่ ที่
อยูภายในถัง โดยปกติจะมีการปมลมใหเต็มเพียงครั้งเดียวเทานั้น เพื่อที่จะพนสารกําจัด
ศัตรูพืชจนหมดถัง แตในทางปฏิบัติจะไมเปนเชนนั้น เพราะความดันของสารละลายจะคอยๆ
ลดลงแตยังมีสารละลายเคมีเหลืออยูในถัง จึงอาจจะมีการหยุดพน แลวทําการอัดลมเพิ่มเขาไป
ใหม ซึ่งเปนเหตุทําใหสารละลายที่ถูกพนออกมามีปริมาณที่ไมสม่ําเสมอ และเพิม่ เวลาในการพน
สาร เพราะตองปลดเครื่องพนลงวางกับพืน้ แลวจึงทําการอัดอากาศเขาไปในถัง
สําหรับการอัดลมนั้นเมื่อวางเครื่องไวกับพื้นแลวปลดกานสูบและชักขึ้น ซึ่งทํา
ใหลูกสูบเคลื่อนที่ขึ้นดวย โดยปกติลูกสูบจะทําจากยางหรือถูกหุมดวยยาง ในจังหวะนี้อากาศจะ
เขาไปในกระบอกสูบ แตสารละลายเคมีภายในถังจะถูกปดไมใหเขาไปตรงฐานของกระบอกสูบ
โดยเช็ควาลว ซึ่งทําจากแผนยางที่เผยิบขึ้นลงได หรือเปนแผนยางกลมมีสปริงกดอยู เมื่อดัน
ลูกสูบลง อากาศในกระบอกสูบจะเคลื่อนที่ผานเช็ควาลวเขาไปภายในถัง ทําใหเกิดความดัน
ขึ้นในถัง
ในจังหวะตอไป เมื่อชักลูกสูบขึ้น ความดันในถังจะชวยปดเช็ควาลว และ
อากาศก็จะเขาไปเชนเดิม โดยปกติจะตองสูบ 40-60 ครั้ง จึงจะมีความดันพอที่จะพนได เมื่อผู
พนบีบที่มือบีบ วาลวควบคุมจะเปด อากาศที่ถูกอัดตัวอยูภายในถังก็จะขยายตัวดันสารละลาย
เคมีใหเขาไปยังทอสงสาร ผานสายยาง กานพน และกรองไปออกที่หัวฉีดเปนละออง ซึ่ง
หมายความวาเมื่อบีบ ความดันในถังจะลดลง แตในเวลาเดียวกันก็มีสารละลายเคมีออกมาจาก
หัวฉีดจนหมดถัง ซึ่งเปนขอดีของเครื่องพนสารชนิดนี้เพราะถาไมมีการปมลมโดยชักลูกสูบขึ้น
ลงอยางตอเนื่องก็จะทําใหผูพนสนใจอยูกับการเล็งหัวฉีดไปยังเปาหมายที่ตองการ แตถา
คํานวณปริมาณสารละลายเคมีกับความดันไมสัมพันธกัน ความดันอาจจะหมดกอนก็ตองชัก
ลูกสูบขึ้นแลวอัดอากาศเขาไปใหมจึงจะฉีดพนสารละลายเคมีไดตอไป
สายยางที่สงสารละลายเคมีไปยังหัวฉีดมักจะทํามาจากพลาสติกสังเคราะหที่ทน
ตอการกัดกรอนของสารเคมี สวนกรองนั้นสวนใหญไสกรองจะเปนตะแกรงไนลอน ติดอยูใกลกับ
มือบีบ ถอดลางได กรองจะทําหนาที่ปองกันสารเคมีทแี่ ขวนลอย หรือละลายน้ําไมหมด หรือสิ่ง
126

สกปรกไมใหไหลหลุดรอดเขาไปอุดตันรูของหัวฉีดซึ่งมีขนาดเล็กมาก สําหรับวาลวควบคุมนั้นก็
มีหนาที่เปด ปดสารละลายเคมีทีไหลออกจากสายยางไปยังหัวฉีดตามปริมาณที่ตองการ

รูปที่ 4.3 สวนประกอบและการทํางานของเครื่องพนสารเคมีชนิดอัดลม

เครื่องพนสารเคมีชนิดสูบโยก (รูปที่ 4.4) เปนเครื่องพนสารเคมีที่มีคัน


โยกติดตั้งอยูเวลาพนสารเคมีตองโยก คันโยกขึ้นลงตลอดเวลา เพือ่ ทําใหเกิดแรงดันขึ้นภายใน
กระบอกสูบ ดันน้ํายาเคมีขึ้นมาสูหัวฉีดและพนออกมาเปนละออง เครื่องชนิดนี้มีขนาดบรรจุ
น้ํายาเคมี 10-15 ลิตร และพนไปไดไกล 4-10 เมตร เหมาะสําหรับพนสารเคมีในนาขาว ไร
ขาวโพด ไรฝา ย

รูปที่ 4.4 สวนประกอบและการทํางานของเครื่องพนสารเคมีชนิดสูบโยก


127

รูปที่ 4.5 เครือ่ งพนสารเคมีชนิดติดรถแทรกเตอร

เครื่องพนสารเคมีชนิดติดรถแทรกเตอร (รูปที่ 4.5) เครื่องพนสารเคมี


ชนิดนี้ สวนใหญอาศัยกําลังจากรถแทรกเตอรมาใชในการพนน้ํายาเคมี สําหรับสวนประกอบที่
สําคัญนั้นไดแกถังใสน้ํายาเคมี ปม ลิ้นบังคับความดัน แขนพน และหัวฉีด
ถังใสน้ํายาเคมีที่ใชอาจจะทําจากโลหะ หรือพลาสติก แตขอสําคัญคือไมเปน
สนิม สําหรับขนาดนั้นตองไมใหญเกินกวาที่รถแทรกเตอรจะรับน้ําหนักได สวนใหญจะติด
ตั้งอยูดานหลังรถ แตอาจจะติดตั้งไวดานหนา หรือดานขางไดเพื่อเปนการกระจายน้ําหนัก
ออกไป เพื่อใหรถแทรกเตอรทรงตัวไดดี สวนปากถังนั้นควรจะใหญพอที่จะใชมอื ลวงลงไปทํา
ความสะอาดไดถาจําเปน นอกจากนั้นก็ควรจะมีตะแกรงกรองแขวนแนบไวกบั ปากถัง เพื่อ
กรองสิ่งสกปรกออกจากน้ําที่เติมเขาไปในถัง แตสิ่งทีข่ าดไมไดก็คือที่กานถังควรจะมีรูระบาย
น้ํายาเคมี ซึ่งจําเปนตองใชเมื่อมีการลางถัง ภายในถังน้ํายาเคมีสวนใหญจะกลไกสําหรับกวน
น้ํายาเคมีติดตั้งไว กลไกนี้อาจจะสรางขึ้นมาโดยอาศัยหลักทางกล เชน ใบพัด (รูปที่ 4.6 ก.)
ซึ่งไดรับกําลังขับหมุนจากเพลาอํานวยกําลัง หรืออาศัยหลักของไฮดรลิก (รูปที่ 4.6 ข.) ซึ่ง
ประกอบดวยหัวฉีดชนิดพิเศษที่พนน้ํายาเคมีออกมากวน โดยที่น้ํายาเคมีนี้เปนสวนหนึ่งที่แยก
ออกมาจากปม
ปมที่นิยมใชกบั เครื่องพนสารเคมีชนิดนี้มีหลายแบบ การเลือกใชขึ้นอยูกับ
ปริมาณ และความดันที่หัวฉีด รวมทั้งปริมาณและความดันที่สงน้ําวกกลับไปพนกวนน้ํายาเคมี
ภายในถังดวย
ก. ปมลูกสูบ (รูปที่ 4.7) ไมเหมาะสําหรับน้ํายาเคมีที่มีความเขมขนสูง ปริมาณ
น้ํายาเคมีที่ไดออกมาจากปมแบบนี้ขึ้นอยูก ับความเร็วของลูกสูบ แตไมขึ้นอยูกบความดัน
ดังนั้น ความตองการใชจึงนอย เวนแตวาจะตองการความดันสูง เครื่องพนสารเคมีที่ใชปมแบบ
นี้มักจะติดตั้งถังเก็บความดันไวดวยเพื่อลดแรงกระโชกที่เกิดขึ้นในจังหวะอัดของปม
128

ข. ปมหอยโขง (รูปที่ 4.8) เหมาะสําหรับเครื่องพนสารเคมีที่ตองการอัตราการ


ไหลของน้ํายาเคมีสูงที่ความดันต่ํา ปมแบบนี้ใชไดกับน้ํายาเคมีที่มีความเขมขนสูง หรือน้ํายา
เคมีที่มีสารเคมีแขวนลอยอยู ปญหาสวนใหญที่เกิดขึน้ คือ ซีลที่เพลาขับมักจะรั่วและความเร็ว
รอบที่สงออกมาจากเพลาอํานวยกําลังก็ไมพอ ดังนั้น จึงมีการใชมูเล และสายพานชวยเพิ่ม
รอบ และขอสําคัญอีกประการหนึ่งก็คือปมแบบนี้ตองการลอน้ํากอนที่จะทํางาน เพราะฉะนั้นจึง
ตองติดตั้งปมไวต่ํากวาระดับน้ํายาเคมีภายในถังเสมอ ปมแบบนี้สามารถใชอัตราการไหลของ
น้ํายาเคมีสูงถึง 550 ลิตร/นาที ที่ความดันไมถึง 10 บาร

รูปที่ 4.6 กลไกกวนน้ํายาเคมี

รูปที่ 4.7 ปมลูกสูบ


129

รูปที่ 4.8 ปมหอยโขง

รูปที่ 4.9 ปมเกียร

รูปที่ 4.10 ปมลูกกลิ้ง


ค. ปมเกียร (รูปที่ 4.9) เปนปมที่ใชกันทัว่ ๆ ไป แบบหนึ่งเมื่อตองการอัตราการ
ไหลของน้ํายาเคมีต่ํา ปมแบบนี้ไมเหมาะสําหรับใชกบั น้ําที่สกปรก หรือสารเคมีผงที่ไมละลาย
น้ํา เพราะถาเฟองเกียร หรือเรือนสูบเกิดความเสียหาย จะดูดน้ํายาเคมีไมขึ้น ความดันทีไ่ ด
จากปมเกียรคอนขางต่ํา ดังนั้น วัสดุท่ใี ชทําปมจึงอาจจะเปนทองเหลือง หรือไนลอน ปมแบบ
นี้ใหอัตราการไหลของน้ํายาเคมี 5-200 ลิตร/นาที ที่ความดันไมเกิน 7 บาร
ง. ปมลูกกลิ้ง (รูปที่ 4.10) เปนปมที่ถูกออกแบบมาใหหมุนที่ความเร็ว 540 หรือ
1000 รอบตอนาที ซึ่งเทากับความเร็วของเพลาอํานวยกําลงของรถแทรกเตอร อัตราการไหล
ของน้ํายาเคมีที่ไดมีคาตั้งแต 20 ถึง 140 ลิตร/นาที ที่ความดันไมเกิน 20 บาร ปมแบบนี้คงทน
130

กับน้ํายาเคมีที่มีสารเคมีแขวนลอยอยู แตถามีทรายหลุดลอดเขาไปภายในปมก็จะเกิดความ
เสียหายไดงาย เพราะฉะนัน้ จึงจําเปนตองมีหมอกรองติดตั้งไวกอนที่น้ํายาเคมีจะไหลเขาปม

รูปที่ 4.11 กราฟเปรียบเทียบอัตราการไหลและความดันระหวางปม 3 แบบ

จ. ปมไดอะแฟรม (รูปที่ 4.12) เปนปมที่มีสวนประกอบทีส่ ําคัญคือแผนไดอะ


แฟรมลิ้นน้ํายาเคมีเขาและออกจากปม โดยปกติ แผนไดอะแฟรมมีจังหวะสูบชักสั้นมาก
ดังนั้น จึงมีบางปม ดังนั้นจึงมีบางปมที่ออกแบบใชแผนไดอะแฟรมหลายๆ แผนทํางาน
ตอเนื่องกัน เพื่อทําใหอัตราการไหลของน้ํายาเคมีเปนไปอยางสม่ําเสมอ สวนความดันที่
ตองการจากปมแบบนี้ มักจะไมเกิน 10 บาร

รูปที่ 4.12 ปมไดอะแฟรม


131

ลิ้นปรับความดัน (รูปที่ 4.13) เปนลิ้นที่ใชควบคุมความดันภายในระบบเครื่องพน


สารเคมีใหคงที่ โดยมีความดันเทากับแรงดันของสปริง ถาความดันของน้ํายาเคมีสูงขึ้นกวา
แรงดันของสปริง สปริงจะถูกอัดตัวและปลอยใหน้ํายาเคมีไหลกลับเขาไปภายในถัง จนกวา
ความดันจะลดลงเทากับหรือนอยกวาสปริง ลิ้นนี้ทําหนาที่เปนลิ้นนิรภัยที่สําคัญของเครื่องพน
สารเคมี

รูปที่ 4.13 ลิ้นปรับความดัน


หัวฉีดเปนอุปกรณที่ทําใหนา้ํ ยาเคมีกระจายออกเปนละออง ซึ่งแบงออกเปนชนิดตางๆ
.ดังนี้
ก. หัวฉีดแบบกรวยกลวง (รูปที่ 4.14 ก) ใชสําหรับพนน้ํายาเคมีออกมาเปนรูป
กรวยกลวง คือตรงกลางไมมีละอองน้ํายาเคมี
ข. หัวฉีดแบบกรวยตัน (รูปที่ 4.14 ข.) หัวฉีดแบบนี้ทําใหลักษณะของการ
กระจายน้ํายาเคมีเปนรูปกรวย โดยที่ทุกๆ สวนเต็มไปดวยละอองสารเคมี สวนใหญใชในการ
ปองกันและกําจัดโรคแมลง ราตางๆ ของพืชที่ปลูกเปนรองแถว
ค. หัวฉีดแบบรูปพัด (รูปที่ 4.15) หัวฉีดแบบนี้พนสารเคมีออกมาในลักษณะรูป
คลายกับพัด เหมาะสําหรับพนสารเคมีที่ใชปองกันและกําจัดวัชพืช แมลง หรือพนปุยใหแกพืช
ง. หัวฉีดแบบกระทบ (รูปที่ 4.16) หัวฉีดแบบนี้ปลอยใหน้ํายาเคมีไหลพุงออกมา
จากรูเปด และกระทบกับตัวกั้นทําใหน้ํายาเคมีแตกออกเปนละออง สําหรับการติดตัง้ นั้น
อาจจะติดหัวฉีดไดทั้งในแนวนอน และในแนวตั้ง สวนใหญจะใชพนปุย หรือสารเคมีกําจัด
วัชพืชที่เจริญเปนตนออนแลว

รูปที่ 4.14 หัวฉีดแบบกรวยกลวงและกรวยตัน


132

รูปที่ 4.15 หัวฉีดรูปพัด

รูปที่ 4.16 หัวฉีดแบบกระทบ


แขนพน (รูปที่ 4.17) เปนทางเดินของน้ํายาเคมีที่มาจากถังไปยังหัวฉีดทีต่ ิดตั้งไวตาม
แขนพนเปนระยะ ๆ แขนพนนี้มีความยาวตั้งแต 6 ถึง 15 เมตร และพับเก็บไดเปนทอนๆ เพื่อ
ความสะดวกในการเดินทาง โดยปกติแขนพนนี้จะถูกออกแบบใหอยูในลักษณะขนานกับพื้นอยู
ตลอดเวลา ไมวารถแทรกเตอรจะตกหลุมหรือสะดุดตอ ทั้งนี้ เพื่อทําใหการกระจายของน้ํายา
เคมีลงสูพื้นที่เพาะปลูกสม่ําเสมอ สําหรับการติดตั้งหัวฉีดใตแขนพนนั้น ควรจะจัดระยะให
พอเหมาะ ซึ่งก็ขึ้นอยูกับขนาดความดันของหัวฉีดดวย โดยที่เมื่อทําการพนสารเคมีแลว
ละอองน้ํายาเคมีที่พนออกมาจากหัวฉีดที่อยูใกลกันจะเหลือมทับกันอยางพอเหมาะ โดยสังเกต
จากความสม่ําเสมอ ของการกระจายของน้ํายาเคมีบนพื้นเปนหลัก ทั้งนี้ ความสูงของแขนพน
ตองสัมพันธกับระยะติดตั้งหัวฉีดดังกลาวดวย
133

รูปที่ 4.17 การจัดระยะหัวฉีดและความสูงของแขนพน


รูปที่ 4.18 แสดงใหเห็นเครื่องพนสารเคมีที่ไดรับกําลังขับหมุนจากเพลาอํานวยกําลัง
และวงจรของเครื่องพนสารเคมี โดยปกติ เครื่องพนสารเคมีใชปมหอยโขง ปมลูกกลิ้งและปม
เกียรมักจะใหความดันตั้งแต 40 ถึง 100 ปอนดตอตารางนิ้ว โดยที่ปมลูกกลิง้ และปมเกียร
สามารถสงน้ํายาเคมีออกไปได 5 ถึง 25 แกลลอนตอนาที ปมหอยโขงสามารถสงออกไปได 50
ถึง 75 แกลลอนตอนาที ทีค่ วามดัน 40 ปอนดตอตารางนิ้ว สวนปม ลูกสูบนั้นเปนปมที่ใหความ
ดันสูงที่สุด โดยอาจจะสูงถึง 250 ปอนดตอตารางนิ้ว ดังนั้น จึงเหมาะสําหรับสวนผลไม

องคประกอบที่มีผลตอการพนสารเคมี
องคประกอบที่สําคัญที่มีผลกระทบตออัตราการพนน้าํ ยาเคมีลงบนแปลงเพาะปลูก
เพื่อใหตนพืชไดรับละอองน้ํายาเคมีอยางเสมอ มีดังนี้
ก. ความดันของน้ํายาเคมี ถาน้ํายาเคมีถูกพนออกมาจากแขนพนสารเคมีดวย
แรงดันสูง โดยที่ขนาดของหัวฉีดไมเปลีย่ นแปลง น้ํายาเคมีจะถูกพนออกมามาก และขนาด
ของละอองน้ํายาเคมีจะเล็กลง
ข. ความเร็วในการขับเคลื่อน ความเร็วในการเคลื่อนที่ของรถแทรกเตอรสามารถ
ทําใหอัตราการพนสารเคมีเปลี่ยนแปลงไป ตามปกติปมของเครื่องพนสารเคมีจะหมุนอยูดวย
ความเร็ว 540 รอบตอนาที โดยไดรับกําลังจากเพลาอํานวยกําลัง เพื่อพนน้ํายาเคมีออกไปสู
ตนพืช ดังนั้น ความเร็วรอบของเครื่องยนตจะตองคงที่ (ประมาณ 2,000 รอบ/นาที) แต
ความเร็วของรถแทรกเตอรไดมาจากการเปลี่ยนเกียร โดยปกติความเร็วในการพนน้ํายาเคมีจะ
134

มีคาประมาณ 5-7 กิโลเมตร/ชั่วโมง ถาลดความเร็วในการเคลื่อนที่ลงครึ่งหนึง่ อัตราการพน


น้ํายาเคมีก็อาจจะสูงขึ้นถึง 2 เทา

ก) วงจรปมลูกกลิ้ง

ข)วงจรปมหอยโขง
135

ค) วงจรปมลูกกลิ้ง
รูปที่ 4.18 วงจรทางเดินน้ํายาเคมีของปมลูกสูบ ปมลูกกลิ้ง และปม หอยโขง

ค. ความเขมขนของน้ํายาเคมี น้ําที่ผสมกับสารเคมีดวยอัตราสวนทีแ่ ตกตางกัน


ยอมมีความเขมขนที่แตกตางกัน เครื่องพนสารเคมีจึงใชความดันในการพนน้ํายาเคมีที่มีความ
เขมขนสูงออกไปมากกวาน้ํายาเคมีที่มีความเขมขนต่ํา นอกจากนั้นแลวอัตราการพนก็ยังต่าํ อีก
ดวย
ง. ความสูงของแขนพน และระยะของหัวฉีด องคประกอบทั้งสองนี้มีสวนสําคัญ
ตออัตราการพนสารเคมีเชนเดียวกัน ดังที่ไดแสดงใหเห็นในรูปที่ 4.17
จ. ขนาดและชนิดของหัวฉีด หัวฉีดมีหลายชนิด ซึ่งแตและชนิดมีรูทใี่ หน้ํายาเคมี
ผานออกมาเปนละอองอยูหลายขนาด ละอองน้ํายาเคมีที่กระจายตัวออกมานั้นมีขนาดตั้งแต 1
ถึง 100 ไมครอน ละอองน้ํายาเคมีขนาดใหญมีแรงประทะกับตนพืชไดดี แตพนออกไปไมได
ไกลเทากับละอองน้ํายาเคมีที่มีขนาดเล็กกวา

การปรับอัตราการพนน้ํายาเคมี
วิธีปรับอัตราการพนน้ํายาเคมีที่ใชในการกําจัดศัตรูพืช มี 2 วิธี
136

1. ปรับขณะรถแทรกเตอรอยูกบั ที่ ซึ่งเริ่มดวยการตอสายยางบรรจุน้ําลงในถังใส


น้ํายาเคมีใหเต็มอยูตลอดเวลา และเดินเครื่องพนน้ําออกไปหลังจากที่ไดปรับขนาดของหัวฉีด
และความดันแลว เมื่อทดลองพนน้ําออกไประยะหนึ่ง จนเห็นวาระดับน้ําในถังที่ใสลงไปในถัง
กับน้ําที่พนออกคงที่แลว ก็เริ่มจับเวลาโดยการดึงสายยางออก ปลอยใหพนน้ําออกมาจาก
หัวฉีดชั่วระยะเวลาหนึ่ง(หนวยนาที) กอนที่จะปดเครื่องใหหยุดพน แลวจึงวัดปริมาณน้ําที่ใช
ไป ซึ่งก็คือปริมาณน้ําที่เติมลงไปใหมใหเต็มถัง ถาสมมุติวา Q คือ อัตราการพนสารเคมีตอ
เวลา (ลิตร/นาที) L คือความยาวของแขนพน (เมตร) V คือความเร็วของการเคลือ่ นที่จริงของรถ
แทรกเตอร (กิโลเมตร/ชัว่ โมง) V คืออัตราการพนน้าํ ยาเคมีตอพืน้ ที่ (ลิตร/เฮกตาร) ก็สามารถ
คํานวณไดจากสูตร
600 × Q
V=
L×V
ตัวอยางเชน เครื่องพนสารเคมีเครื่องหนึ่งมีแขนพนยาว 12 เมตร ใหอัตราการพน
น้ํายาเคมี 40 ลิตร/นาที โดยติดตั้งอยูกับรถแทรกเตอร ที่มีความเร็วในการเคลื่อนที่จริง 4
กิโลเมตรตอชัว่ โมง อัตราการพนน้ํายาเคมีตอพื้นที่คือ
600 × 40
V=
12 × 4
= 500 ลิตร/เฮกตาร
สําหรับกรณีที่ V มีคามากเกินไปก็สามารถแกไขได โดยการเปลี่ยนความเร็วในการ
เคลื่อนที่จริงของรถแทรกเตอร หรืออาจจะเปลี่ยนขนาดของหัวฉีดและความดันเพื่อใหไดคา Q
ตัวใหมก็ได
สวนความเร็วในการเคลื่อนที่จริงของรถแทรกเตอรนั้น ก็สามารถทดลองหาไดโดยการ
เรงเครื่องยนตใหหมุนไดรอบคงที่ (ความเร็วนี้จะทําใหเพลาอํานวยกําลังหมุนไดรอบตาม
มาตรฐาน) แลวจับเวลาที่รถแทรกเตอรเคลื่อนที่ไปในพื้นที่จริงยาว 100 เมตร ความเร็วในการ
เคลื่อนที่จริงของรถแทรกเตอร ก็คํานวณไดจากสูตร
360
V=
n
ในที่นี้ V คือ ความเร็วมีหนวยเปนกิโลเมตร/ชัว่ โมง
n คือ เวลาทีจ่ ับมีหนวยเปนวินาที
2. ปรับขณะที่รถแทรกเตอรเคลื่อนที่ โดยการเติมน้ําลงไปในถังใสนา้ํ ยาเคมีให
เต็มแลวพนสารเคมีในแปลงเพาะปลูกใหไดระยะทางยาวเทียบเทากับ 1/10 เฮกตาร หรือ 1,000
ตารางเมตร ซึ่งระยะทางดังกลาวนี้ก็คือ
1,000
ความยาวของแขนพน
137

เชนถาแขนพนยาว 9 เมตร ระยะทางที่เครื่องพนสารเคมีเคลื่อนที่ก็คือ 111 เมตร หลังจาก


นั้นก็วัดปริมาณน้ําในถังที่หมดไป ถาอัตราการพนน้ํายาเคมียังไมเปนที่ตองการก็อาจจะปรับ
ขนาดของหัวฉีด และแรงดันที่ใช แลวก็เริ่มทดลองพนน้ําใหมอีกครั้งหนึ่ง

วิธีพนสารเคมี
1. เครื่องพนสารเคมีแบบสูบชักและแบบสายสะพาย เครื่องพนสารเคมีทั้งสอง
แบบนี้ใชกําลังคน ดังนั้น วิธีการพนจึงเหมือนกัน กลาวคือ เริ่มพนสารเคมีทางดานใตลม
โดยการหันหัวฉีดไปทางใตลมเสมอ อยาเดินพนไปขางหนา เมื่อสุดพื้นที่แลวก็ตั้งตนแนวใหม
โดยหันหัวฉีดไปทางดานใตลม เชนเดียวกัน ดังนั้น ลักษณะการพนสารเคมีแบบนี้จึงหันหัวฉีด
ไปทางดานขางเสมอ และการเดินก็ตั้งฉากกับทิศทางลมขณะพนสารเคมี ดังในรูปที่ 4.19
นอกจากนั้น ถาทําการพนสารเคมีไปยังแถวพืชที่ 2 หรือ 3 ใตลมจากที่ที่กําลังเดินอยูเสมอ ก็
จะปลอดภัยจากสัมผัสกับละอองน้ํายาเคมีที่พนไปยังตนพืชที่อยูชิดตัว สําหรับพืชตนเตี้ยนัน้
ควรจะสายหัวฉีดไปมาในแนวราบ ถาพืชตนสูงก็ควรจะสายหัวฉีดเปนวงกลม เพื่อที่ใบพืชจะ
ไดรับละอองน้ํายาเคมีอยางทั่วถึง ในกรณีที่ลมเกิดเปลี่ยนทิศทาง ตองหยุด และทํา
เครื่องหมายไว หลังจากนั้นก็เริ่มพนสารเคมีใหมจากแถวแรกของแปลงทางทิศใตลม
จนกระทั่งถึงเครื่องหมายที่ทําไว

รูปที่ 4.19 วิธเี ดินพนสารเคมี

2. เครื่องพนสารเคมีชนิดติดรถแทรกเตอร เครื่องพนสารเคมีชนิดนี้มีแขนพนซึ่ง
เปนทอยาวอยูดานหลังรถแทรกเตอรตลอดเวลา ขณะที่ทําการขับรถแทรกเตอรเพื่อพนสารเคมี
นั้น จึงควรจะมีวิธีการที่ถกู ตอง ดังที่ไดแสดงไวในรูปที่ 4.20 ในรูปดานซายมือเปนการขับรถ
เพื่อพนสารเคมีแบบที่ผิด วิธีนี้จะเกิดปญหาขณะเลี้ยวกลับรถซึ่งเปนชวงที่ชา บริเวณทีเ่ ลี้ยว
กลับนั้น จะไดรับน้ํายาเคมีมากกวาบริเวณอื่นๆ ดังนั้นวิธีนี้จึงไมเหมาะสม สําหรับวิธีขับรถรูป
ดานขวามือนั้นเปนวิธีที่ถูกตองโดยการขับวนเพื่อพนสารเคมีในแปลงเพาะปลูกกอน 2 รอบ
เมื่อมาถึงปลายรอบที่ 2 ก็ใหปดสวิตชหรือหยุดการทํางานของเครื่องพนสารเคมีกอนที่จะเลีย้ ว
วกกลับ หลังจากเลี้ยวกลับตั้งลํารถแทรกเตอรแลวก็เปดสวิตช หรือปลอยใหเครื่องพนสารเคมี
138

เริ่มทํางานเมื่อลอหลังของรถอยูบนรอยลอดังรูปแลวจึงขับรถทําการพนสารเคมีเชนนี้เรื่อยไปจน
หมดแปลง วิธีพนสารเคมีแบบนี้ทําใหการกระจายน้ํายาเคมีสม่ําเสมอไปทั่วทั้งแปลง

รูปที่ 4.20 วิธขี ับรถแทรกเตอรในการพนสารเคมี

เครื่องพนสารเคมีแบบลมพา
การทํางานของเครื่องพนสารเคมีแบบนี้ อาศัยสวนประกอบที่สําคัญ 2 สวน คือ ปม
และลม โดยที่ปมจะทําหนาที่ดูด และดันสารเคมีกําจัดศัตรูพืชที่ละลายน้ําแลวจากถังน้ํายาเคมี
มาออกที่หัวฉีด ซึ่งหัวฉีดนีจ้ ะติดตั้งอยูในทิศทางของลมที่เกิดจากการหมุนของพัดลม สําหรับ
จํานวนหัวฉีดนั้นอาจจะมีหลายหัวแลวแตการออกแบบ เมื่อน้ํายาเคมีถูกดันออกจากหัวฉีด
กระแสลมที่เกิดจากพัดลมจะพาละอองสารเคมีเหลานี้ไปยังเปาหมาย (รูปที่ 4.21) ดังนั้น ขนาด

1 ปริมาณลมมาก 2 น้ํายาเคมีถูกปมดันไปยังหัวฉีด 3 ละอองน้ํายาเคมีขนาดเล็ก 4 ระยะทางไกล 5 ลม

รูปที่ 4.21 หลักการทํางานของเครื่องพนสารเคมีแบบลมพา


139

ของละอองสารเคมีที่ผานหัวฉีดออกมาจึงสามารถกําหนดใหมีขนาดเล็กได โดยการเลือกใช
ขนาดของหัวฉีดและแรงดันที่เหมาะสม ซึ่งทําใหปริมาณสารเคมีที่ใชตอไรลดลง นอกจากนั้น
กระแสลมยังทําหนาที่เปาใบพืชใหพลิกไปมา ทําใหละอองสารเคมีแทรกตัวเขาไปภายในพุมได
สะดวก ใบพืชสามารถรับละอองสารเคมีไดอยางทั่วถึง

1 ถังน้ํายาเคมี 2 ปม 3 วาลวปรับความดัน 4 วาลวควบคุม 5 มาตรวัดความดัน 6 กรอง 7 ทอใสบอกระดับ

รูปที่ 4.22 สวนประกอบของเครื่องพนสารเคมีแบบลมพา

เครื่องพนสารเคมีแบบนี้ สวนใหญอาศัยกําลังจากรถแทรกเตอรมาใชในการลากจูงและ
สงกําลังไปหมุนปมเพื่อดูดน้ํายาเคมีในถัง แลวสงผานทอน้ํายาไปยังหัวฉีด พนออกเปนละออง
ดังนั้นสวนประกอบที่สําคัญของเครื่องพนสารเคมีแบบนี้จึงไดแกถังน้ํายาเคมี ปม วาลวปรับ
ความดัน วาลวควบคุม หัวฉีด และพัดลม (รูปที่ 4.22)
ถังน้ํายาเคมีที่ใชอาจจะทําจากโลหะ หรือพลาสติก แตขอ สําคัญคือไมเปนสนิม
สําหรับขนาดนั้นตองไมใหญเกินกวาที่รถแทรกเตอรจะรับน้ําหนักได สวนใหญจะติดตั้งอยู
ดานหลังรถ แตอาจจะติดตั้งไวดานหนาหรือดานขางได เพื่อเปนการกระจายน้ําหนักออกไป
เพื่อใหรถแทรกเตอรทรงตัวไดดี สวนปากถังนั้นควรจะใหญพอที่จะใชมือลวงไปทําความสะอาด
ได ถาจําเปน นอกจากนั้นก็ควรจะมีตะแกรงกรองแขวนแนบไวกบั ปากถัง เพื่อกรองสิ่งสกปรก
ออกจากน้ําที่เติมเขาไปในถัง แตสิ่งที่ขาดไมไดก็คือที่กนถังควรจะมีรรู ะบายน้ํายาเคมี ซึ่ง
จําเปนตองใชเมื่อมีการลางถัง ภายในถังน้ํายาเคมีสวนใหญจะมีกลไกสําหรับกวนน้ํายาเคมี
ติดตั้งไว เพื่อไมใหสารเคมีตกตะกอน
ปมที่นิยมใชกับเครือ่ งพนสารเคมีแบบนี้มีหลายชนิด การเลือกใชขึ้นอยูกบั ปริมาณและ
ความดันที่หัวฉีด ปมสวนใหญที่นิยมใชและเหมาะสําหรับเครื่องพนสารเคมีแบบนีค้ ือ ปมหอย
โขง ที่ใหอัตราการไหลของน้ํายาเคมีสูง แตความดันต่ํา ปมแบบนี้ใชไดกับน้ํายาเคมีที่มีความ
เขมขนสูง หรือน้ํายาเคมีที่สารเคมีแขวนลอยอยู ตัวปมมักจะทําจากพลาสติก อลูมิเนียม
เหล็กหลอ หรือทองเหลืองที่ทนทานตองานหนัก ปญหาสวนใหญทเี่ กิดขึ้นคือ ความเร็วรอบที่
สงออกมาจากเพลาอํานวยกําลังของรถแทรกเตอรเพื่อหมุนปมมักจะไมพอ ดังนั้น จึงมีการใช
มูเล และสายพาน หรือเกียรชวยเพิ่มรอบ และขอสําคัญอีกประการหนึ่งก็คือปมแบบนี้ตองมีการ
140

ลอน้ํากอนที่จะทํางาน เพราะฉะนั้นจึงตองติดปมไวตา่ํ กวาระดับน้ํายาเคมีภายในถังเสมอ ปม


แบบนี้สามารถใชอัตราการไหลของน้ํายาเคมีสูงถึง 550 ลิตร/นาที ที่ความดันไมถึง 10 บาร โดย
ที่ใบพัดของปม หมุนดวยความเร็ว 1,000-5,000 รอบ/นาที การดูดน้ํายาเคมีเกิดขึ้นจากใบพัดที่
หมุนดวยความเร็วสูงและเหวี่ยงของเหลวออกจากปม เมื่อของเหลวถูกเหวี่ยงออกไป บริเวณ
กลางใบพัดจะเกิดความกดดันต่ํากวาความกดดันของบรรยากาศนอกปม ความกดดันของ
บรรยากาศก็จะดันน้ํายาเคมีจากถังเขาไปแทนที่บริเวณกลางใบพัด ใบพัดก็จะหมุนเหวี่ยงน้ํายา
เคมีออกไปจากปมอีกเปนอยางนี้เรื่อยไปจนกวาจะหยุดปม หรือน้ํายาเคมีหมดถัง ปมหอยโขง
เปนที่นิยมใชกันมากเพราะใบพัดกับเรือนสูบไมสัมผัสกัน ดังนั้น การสึกหรอจึงแทบจะไมมี
ถึงแมวาจะมีสารเคมีที่ละลายน้ําไมหมดกลายเปนตะกอนแขวนลอยอยูในน้ําบาง นอกจากนั้น
การซอมแซมและบํารุงรักษาก็งาย
วาลวปรับความดัน วาลวที่อาศัยสปริงในการปรับความดันของของเหลวที่ไหลไปยัง
หัวฉีดใหคงที่ โดยปกติจะถูกติดตั้งอยูระหวางปมกับหัวฉีด การเพิ่มแรงกดใหสปริงสามารถ
ทําไดโดยการหมุนที่คันปรับ ทําใหความดันของน้ํายาเคมีเพิ่มขึ้น เมื่อความดันของน้ํายาเคมี
สูงกวาแรงตานทานของสปริง วาลวจะเปดใหน้ํายาเคมีบางสวนไหลกลับไปยังถัง เพื่อปองกัน
ความดันในระบบพนสารเคมีไมใหสูงเกินไป วาลวนี้จะชวยรักษาความดันใหคงที่ ถาความดัน
ของปมลดลง ในกรณีที่ใบพัดของปมหมุนชาลง วาลวนี้จะลด หรือหยุดอัตราการไหลของ
ของเหลวทีไ่ ปยังถัง เพื่อรักษาความดันของน้ํายาเคมีที่ไหลไปยังหัวฉีดใหคงที่ ในกรณีที่มีการ
ปดไมใหน้ํายาเคมีไหลไปยังหัวฉีด หรือเกิดการอุดตันขึ้นในทอ ความดันในระบบจะเพิ่มขึ้นจน
ชนะแรงสปริง สปริงจะถูกอัดตัวและปลอยใหน้ํายาเคมีทั้งหมดไหลกลับเขาไปภายในถัง ดังนั้น
วาลวนี้ยังทําหนาที่เปนวาลวนิรภัยทีส่ ําคัญของเครื่องพนสารเคมีอีกดวย
วาลวควบคุม วาลวนีใ้ ชสําหรับปด หรือเปดใหของเหลวทีถ่ กู ดันออกจากปมไปยัง
หัวฉีด วาลวนี้อาจจะทํางานไดดวยการใชมือโยก หรือใชไฟฟา ชุดหัวฉีดของเครื่องพน
สารเคมีแบบแอรบลาสมักจะตอมาจากทอรวม 2 ทอ เชน 5 หัวตอ 1 ชุดตอ 1 ทอ ถามี 2
ทอก็แสดงวามี 10 หัว 5 หัวแรกพนน้ํายาเคมีปกซาย 5 หัวที่เหลือพนปกขวา แตละทอมีวาลว
ควบคุมติดตั้งอยู ทําใหผูปฏิบัติงานสามารถเลือกเปดใหน้ํายาเคมีพน ออกจากเครื่องพนสารเคมี
ทางดานใดดานหนึ่ง หรือทั้งสองดานในเวลาเดียวกัน
มาตรวัดความดัน มาตรวัดความดันจะแสดงความดันของน้ํายาเคมีในระบบ ถา
ความดันเปลีย่ นแปลงไปก็แสดงใหเห็นวาชิ้นสวนบางชิ้นทํางานผิดปกติ โดยปกติมาตรวัดนี้จะ
ติดตั้งอยูระหวางวาลวควบคุมความดัน และหัวฉีด ซึ่งจะเปนตําแหนงที่แสดงความดันของ
ของเหลวทีไ่ หลผานหัวฉีด อยางไรก็ตามคาที่อานไดจากมาตรวัดควรจะมีการเปรียบเทียบกับ
มาตรวัดความดันอันอื่นอยูเสมอ
หัวฉีด เปนอุปกรณที่ทําน้ํายาเคมีกระจายออกเปนละออง หัวฉีดมีหลายชนิด แต
หัวฉีดที่ใชกับเครื่องพนสารเคมีแบบนี้ซึ่งตองใชความดันสูง และอัตราการไหลของน้ํายาเคมี
มาก คือหัวฉีดแบบกรวยกลวง (รูปที่ 4.23) เมื่อน้ํายาเคมีไหลผานหัวฉีดจะกลายเปนละออง
141

ขนาดเล็ก พนออกมาเปนรูปกรวย ถาพนลงบนพืน้ เรียบจะเห็นละอองน้ํายาเคมีเปนวงขนาด


ใหญ คลายวงแหวน คือบริเวณตรงกลางไมมีละอองน้ํายาเคมี หัวฉีดแบบนี้เหมาะสําหรับใชพน
สารเคมีปองกันกําจัดแมลง และเชื้อรา

รูปที่ 4.23 หัวฉีดแบบกรวยกลวง

สําหรับพัดลมนั้น แกนเพลาของพัดลมจะไดรับกําลังมาจากเพลาอํานวยกําลังของรถ
แทรกเตอร ซึ่งตอมาจากเฟองเกียร เพื่อทดรอบใหใบพัดหมุนเร็วขึ้น ใบพัดที่ใชสวนใหญจะมี
ลักษณะบิดงอ คลายใบพัดของพัดลมตั้งพื้น โดยที่กระแสลมจะไหลผานแนวแกนของใบพัด ซึ่ง
สามารถทําใหเกิดปริมาณลมสูงประมาณ 10,000-70,000 ลูกบาศกเมตร/ชั่วโมง หรือทําใหเกิด
ความเร็วลม 30-40 เมตร/วินาที หรือ 100-150 กิโลเมตร/ชั่วโมง ดังนั้น ระยะทางที่ละอองสารเคมี
เดินทางไปถึงเปาหมายจึงขึ้นอยูกับปริมาณลมที่เกิดจากพัดลม

รูปแบบของสารเคมีทพี่ น
เครื่องพนสารเคมีแบบนี้จะมีการจัดวางตําแหนงของหัวฉีดใหเหมาะสมกับทิศทางของ
ลมที่ถูกเปาออกมาจากพัดลม เพื่อที่ละอองสารเคมีจะไดเดินทางไปสูเปาหมายไดอยางมี
ประสิทธิภาพ โดยทั่วไปน้ํายาเคมีจะถูกลมพาออกมาได 2 รูปแบบ ดังนี้
1. แบบวงกลม (รูปที่ 4.24) เครื่องพนสารเคมีชนิดนี้จะมีการติดตั้งหัวฉีดเปนระยะๆ
รอบๆ ใบพัด เมื่อพัดลมหมุนใบพัดก็จะเปาลมออกมาในแนวรัศมี น้ํายาเคมีจะกระจายออก
โดยรอบ แตควรจะใชหัวฉีดที่มีขนาดแตกตางกัน และจัดวางใหบางตําแหนงมีจํานวนหัวฉีด
มากกวาตําแหนงอื่น เพื่อใหปริมาณน้ํายาเคมีประมาณ 2 ใน 3 สวน พนออกไปยังครึ่งหนึ่งของ
สวนบนของตนพืช ดังรูปที่ 4.25
142

ก. รูปแบบขณะทํางาน

ข. รูปดานหนา

ค. รูปดานหลัง

รูปที่ 4.24 เครื่องพนสารเคมีแบบอาศัยลมพา (แบบวงกลม)


143

รูปที่ 4.25 การปรับปริมาณน้ํายาเคมีที่พน สารเคมีไปยังตนพืช


2. แบบเปนลํา (รูปที่ 4.26) เครื่องพนสารเคมีชนิดนี้มีลักษณะเปนทรงกระบอกคลาย
ปนใหญ หรือเครื่องผสมปูน โดยจะติดตั้งหัวฉีดไวบริเวณขอบโดยรอบ ภายในมีพัดลมขนาด
ใหญ ติดตั้งอยู เมื่อพัดลมเปาลมออกมา ลมสามารถพาละอองสารเคมีไปไดไกลกวา 50 เมตร

ก) ขณะกําลังพนสารเคมี

ข) สวนประกอบ

รูปที่ 4.26 เครื่องพนสารเคมีแบบอาศัยลมพา (แบบเปนลํา)


144

เครื่องพนสารเคมีแบบแรงดันลม
การทํางานของเครื่องพนสารเคมีแบบนี้ อาศัยสวนประกอบที่สําคัญ 2 สวน คือ ลม
และหัวฉีด ไมมีปม สําหรับลมนั้นไดมาจากพัดลมที่มีเครื่องยนตเปนตนกําลัง เมือ่ ลมเคลื่อนที่
ผานไปบริเวณหัวฉีด ซึ่งถูกออกแบบมาใหเปนคอคอด (venturi) (รูปที่ 4.27) ความเร็วของลมจะ
สูงขึ้นเพื่อรักษาปริมาณของอากาศใหคงที่ทั้งกอนและหลังคอคอดตามหลักฟสิกส เมื่อความเร็ว
สูงขึ้น ความดันของจะลดลง เมื่อความดันบริเวณคอคอดลดลง ความดันของบรรยากาศโดยรอบ
เครื่องพนก็จะดันสารละลายเคมีเขาไปในทอ ผานวาลวควบคุมปริมาณ ไปออกตรงบริเวณคอ
คอด สารละลายเคมีที่ออกมาจากทอก็จะถูกลมที่มีความเร็วสูงตี (air-shear) จนเปนละออง
ละเอียดและถูกพัดพาไปกับกระแสลม ไปยังเปาหมายที่ตองการพน

รูปที่ 4.27 การทํางานของเครื่องพนสารเคมีชนิดแรงดันลม

เครื่องพนสารเคมีชนิดแรงดันลม (รูปที่ 4.28) เปนเครือ่ งที่ออกแบบมาเพื่อใชกับ


สารเคมีที่ผสมกับน้ํา ถังบรรจุน้ํายาเคมีมีขนาด 10-12 ลิตร ติดตั้งอยูทางสวนบนของ
เครื่องยนต น้ํายาเคมีจะไหลลงจากถังดวยแรงดึงดูดของโลก ผานลิ้นบังคับการไหลไปสูหัวฉีด
ซึ่งก็คือปลายทอลมนั้นเอง น้ํายาเคมีจะถูกลมตีจนเปนฝอยละเอียดพนออกไปสูตนพืช สําหรับ
แหลงกําเนิดลมก็คือเครื่องยนต ซึ่งมีพัดลมตออยู เมื่อเครื่องหมุนพัดลมจะดูดอากาศเขาไปใน
ทอลม และพุงออกปลายทอที่เปนหัวฉีด อากาศสวนหนึ่งจะผานกลับเขาไปในถังบรรจุน้ํายาเคมี
เพื่อทําใหเกิดแรงดันขึ้นภายใน และดันน้ํายาเคมีในถังใหไหลลงไปสูหัวฉีดเร็วขึน้ ซึ่งเปนผล
ทําใหผูพนสารเคมีสามารถยกหัวฉีดขึ้นไดสูงกวาระดับน้ํายาเคมีภายในถังบรรจุ
ความเร็วของลมที่ออกมาตามทอของเครื่องพนสารเคมีชนิดนี้มีผลตอขนาดของละออง
สารเคมีมาก ความเร็วยิ่งสูงแรงปะทะน้ํายาเคมียิ่งมาก ละอองสารเคมียิ่งเล็ก ความดันของ
อากาศภายในถังยิ่งมาก ทําใหน้ํายาเคมีไหลไปยังหัวฉีดไดเร็ว และเปนผลใหละอองสารเคมี
145

พนออกไปไดไกล โดยทั่วๆ ไป ความเร็วของลมขึ้นอยูกับความเร็วรอบที่เครื่องยนตหมุน ซึ่ง


มีคาประมาณ 6000 รอบ/นาที
เครื่องพนสารเคมีแบบนี้ใชเครื่องยนต 2 จังหวะ ดังนั้นการดูแลรักษาที่สําคัญคือน้าํ มันที่
ใชกับเครื่องยนต 2 จังหวะ เปนน้ํามันผสม ไมใชน้ํามันเบนซินลวนๆ การผสมน้ํามันเครื่องกับ
น้ํามันเบนซินควรจะเปนไปตามสัดสวนทีร่ ะบุไวในหนังสือคูมือของเครื่อง

รูปที่ 4.28 เครื่องพนสารเคมีชนิดแรงดันลม

เครื่องพนสารเคมีแบบแรงเหวี่ยงหนีศูนย
เครื่องพนสารเคมีแบบแรงเหวี่ยงหนีศูนย (รูปที่ 4.29) มีชื่ออีกอยางหนึ่งวาเครือ่ งพน
สารเคมี ULV โดย ULV ยอมาจากคําวา Ultra Low Volume เครื่องพนสารเคมีชนิดนี้ใชสารเคมี
ชนิดไมผสมน้ําเพียงจํานวนเล็กนอย ก็สามารถที่จะพนสารเคมีคลุมพื้นที่ไดกวางขวาง และให
ละอองสารเคมีขนาดเล็กมาก ซึ่งมีเสนผาศูนยกลางโดยทั่วๆ ไป ระหวาง 70-120 μm
สารเคมีฆาแมลงสูตร ULV ที่มีความหนืดมากจะมีอัตราการไหลต่ํากวานี้ และกานน้ํายา
เคมีสีเดียวกันแตละอันอาจมีอัตราการไหลตางกันประมาณ 10 % กอนจะใชจึงควรหาอัตราการ
146

ไหลของน้ํายาเคมีแตละชนิด และถารูทนี่ ้ํายาเคมีออกชํารุดดวยเหตุใดก็ตามควรจะตองหาอัตรา


การไหลกอนใชเชนกัน
“ทอระบายอากาศ” อยูติดกับกานน้ํายาเคมีในขณะที่นา้ํ ยาเคมีไหลออกจากขวดอากาศ
ภายนอกจะเขาไปแทนที่ ถาหากไมมีทางใหอากาศเขาไปแทนที่น้ํายาเคมีหรือทอถูกอุดตัน
ภายในขวดน้าํ ยาเคมีจะเกิดสุญญากาศซึ่งทําใหน้ํายาเคมีหยุดไหล
สารเคมีฆาแมลงจะไหลออกที่ปลายกานลงสูตรงกลางระหวางจานพลาสติก ฉะนัน้ ขณะ
พนสารเคมีกานน้ํายาเคมีจะตองตั้งฉากกับพื้นดินเสมอเพื่อน้ํายาเคมีจะไดไหลลงระหวางจานได
สะดวก
จานพลาสติกจะหมุนดวยความเร็วสูงโดยมอเตอร และสารเคมีฆาแมลงจะไหลจานและ
ปะทะฟนซึ่งอยูรอบจานพลาสติก ทําใหเปนฝอยละเอียด ฟนรอบๆ จานพลาสติกตอง
ระมัดระวังใหดี เนื่องจากฟนละเอียดรอบๆ จานมีผลทําใหขนาดของเม็ดน้ํายาเคมีผิดไป
เหตุผลดังกลาว เมื่อเสร็จสิ้นการพนสารเคมีจะตองใชฝาครอบปดจานพลาสติก และถอดฝา
ครอบออกกนเปดสวิทช หรือกอนมอเตอรจะทํางาน ซึ่งจะแตะกับขั้วของแบตเตอรี่ในตําแหนง
ที่สวิทช “ปด” แกนของสวิทชซึ่งเปนทองเหลือจะแตะกับแบตเตอรี่ในตําแหนงที่สวิทช “เปด” ทํา
ใหกระแสไฟไหลผานไปตามสายสีแดงจากแผนทองเหลือไปยังมอเตอร

รูปที่ 4.29 เครื่องพนสารเคมีแบบแรงเหวี่ยงหนีศูนย


147

เครื่องพนสารเคมีแบบหมอก ( Fogging machine)


สวนใหญเรียกวาเครื่องพนหมอก (รูปที่ 4.30) เปนเครื่องพนที่ใชความรอนทําใหน้ํายา
เคมีแตกตัวเปนละออง อุณหภูมิที่ใชจะสูงหรือต่ําขึ้นอยูกับชนิดของสารตัวทําละลายและจุด
เดือด หรือจุดระเหิด ( boiling point หรือ evaporating point ) ซึ่งสวนใหญมักนิยมใชสารตัวทํา
ละลายที่มีอุณหภูมิสูง 100 องศาเซลเซียส เพราะถาอุณหภูมิสูงกวานี้จะมีผลในการทําลาย
คุณภาพของสารเคมีซึ่งมักจะมีความเขมขนต่ํา สารตัวทําละลายที่นิยมใชไดแก น้ํามัน
ดีเซล เมื่อสารเคมีแตกตัวจะถูกแรงลมเปาทําใหฟุงกระจายในรูปของหมอกควัน ขนาดเม็ด
น้ํายาเคมี ( droplets ) มีเสนผาศูนยกลางระหวาง 10- 60 ไมครอน ( micron )

รูปที่ 4.30 เครื่องพนหมอกควัน


ในป พ.ศ.2537 Pan American Health Organization หรือ PAHO กําหนดวาการพน
สารเคมีแบบฟุงกระจายในอากาศ (space spray) เพื่อควบคุมแมลงบินพาหะนําโรคนั้น ควรมี
ขนาดเม็ดน้ํายาเคมี 5 -27 ไมครอน
เครื่องพนหมอกควันจะใชน้ํามันเบนซินเปนเชื้อเพลิงในการทํางาน การจุดระเบิดใช
พลังงานจากถานไฟฉายทีต่ อแบบอนุกรม ขนาด 6-12 โวลต และมีคอยลจดุ ระเบิดสัญญาณ
อิเล็กทรอนิกสที่เพิ่มแรงดันไฟฟาใหสูงขึ้นแลวสงกระแสไฟไปยังหัวเทียน เพื่อจุดใหไอดีหรือ
สวนผสมของน้ํามันเชื้อเพลิงกับอากาศลุกไหม ไดกาซไอเสียที่มีความรอนผานออกไปตามทอ
เมื่อน้ํายาเคมีที่ถูกปลอยออกมากระทบดวยอัตราการไหลตั้งแต 8 - 30 ลิตร / ชัว่ โมง น้ํายาเคมี
ก็จะแตกตัวเปนละอองขนาดเล็กฟุงกระจายออกไป สําหรับถังใสน้ํายาเคมีนนั้ มีทั้งชนิดที่เปน
โลหะ และพลาสติก ที่มีความจุประมาณ 5 ลิตร น้ําหนักเครื่องพนเปลา 7- 8 กิโลกรัม หาก
รวมน้ําหนักน้ํายาเคมีจะมีน้ําหนักประมาณ 15 กิโลกรัม
148

การเตรียมความพรอมในการใชงานเครื่องพนหมอกควัน
1. ตรวจสอบหัวเทียนวามีไฟหรือไม โดยวิธถี อดหัวเทียนออกมาจากเครื่อง แลว
เสียบปลั๊กหัวเทียนแตะกับบริเวณที่เปนโลหะ สตารทเครื่องจะมีกระไฟวิ่งผานหัวเทียน หากไม
มีกระแสไฟวิ่งผาน หรือกระแสไฟไมแรงใหทําความสะอาดเขี้ยวหัวเทียน แตหากพบวาไมมี
กระแสไฟใหเปลี่ยนหัวเทียนใหม ปกติเขีย้ วหัวเทียนจะหางประมาณ 2 มิลลิเมตร
2. ตรวจสอบวามีถานไฟฉายในรังถานหรือไม และถานมีไฟหรือไม
3. ใสน้ํามันเชื้อเพลิงในถังน้ํามันใหเหลือชองวางประมาณ 3 / 4 ของถัง เพื่อใหมี
อากาศสําหรับระบบการไหลเวียนน้ํามันเชื้อเพลิง สวนใหญเครื่องพนหมอกควันจะใชน้ํามัน
เบนซิน 91 และหากน้ํามันเบนซินคางอยูในเครื่องพนนานหลายเดือน ควรเททิ้ง เนื่องจากคา
ออกเทนของน้ํามันจะเหลือนอย ทําใหเครื่องสตารทไมติด
4. ตรวจสอบวาหัวพนอุดตันหรือไม
5. ใสน้ํายาเคมี ปดฝาใหสนิท
6. ปดกอกน้ํายาเคมี และกอกน้ํามันเชื้อเพลิง
7. ตรวจสอบสายสะพายใหเรียบรอย
การติดเครื่องพนหมอกควัน
1. สูบลมกระบอกสูบเบาๆ 4-5 ครั้ง เพื่อใหมีแรงดันในระบบน้ํามันเชื้อเพลิง
2. เปดกอกน้ํามันเชื้อเพลิงโดยหมุนทวนเข็มนาฬิกาใหสุดและสูบลมจนกวาเครื่องจะติด
3. เมื่อเครื่องติดแลว ปลอยใหเครื่องทํางาน 1- 2 นาที เพื่อใหเครื่องรอน ควรฟงเสียง
เครื่องวาดังสม่ําเสมอหรือไม หากเสียงไมสม่ําเสมอใหปรับอัตราการไหลของน้ํามันเชื้อเพลิง
4. เปดกอกน้ํายาเคมีเพื่อพนสารเคมี หลังจากพนสารเคมีนาน 40 นาที ควรพักเครื่อง
ประมาณ 10-15 นาที ขณะที่พักควรเติมน้ํามันเชื้อเพลิง และน้ํายาเคมีใหพรอมที่จะใชทํางาน
ตอไป
การปดเครื่องพนหมอกควัน
1. ปดกอกน้ํายาเคมี ปลอยใหเครื่องพนทํางานตอไป จนกระทั่งหมอกควันหายไปจาก
ปลายทอพนจึงปดกอกน้ํามันเชื้อเพลิง
2. คลายฝาถังน้ํามันเชื้อเพลิง เพื่อปลอยความดันในถังออกมา
3. คลายฝาถังน้ํายาเคมี เพื่อปลอยความดันในถังออกมา
4. หากเครื่องพนดับอยางกะทันหัน จะมีไฟลุกที่ปลายทอพน ใหปดกอกน้ํายาเคมีแลว
สูบลมกระบอกสูบ เพื่อใหเกิดแรงลมเปาน้ํายาเคมีออกมา จนไมมีเปลวไฟแลว จึงปดเครื่อง
หรือหากเกิดไฟลุกไหมที่เครื่องพนใหใชผาหนา ๆ คลุมทับใหไปดับ
ปญหาที่มักพบในการใชเครื่องพนหมอกควันและวิธีการแกไข
1. เครื่องไมติด
- ตรวจสอบระบบไฟ โดยทดสอบวาหัวเทียนมีไฟหรือไม
- ตรวจสอบถานไฟฉายที่อยูในรังถาน
149

- ตรวจสอบน้าํ มันเชื้อเพลิง ควรเติมใหเกือบเต็ม ประมาณ ¾ ของถังน้ํามัน


เชื้อเพลิงหากน้ํามันเชื้อเพลิงตกคางอยูในถังนานแลว ควรเททิ้ง เนื่องจากจะมีคาออกเทนต่ํา
- ตรวจสอบระบบน้ํามันเชื้อเพลิง โดยการถอดแผนไดอะแฟรม เปดฝาถัง
น้ํามัน สูบ หลาย ๆ ครั้ง สังเกตการดูดของน้ํามันภายในตัวคารบเู รเตอร ถาไมเห็นน้ํามันให
ถอดลิ้นควบคุมน้ํามันแลวทําความสะอาด

2. เครื่องติด แตทํางานไมปกติ หรือติดแลวดับ


- ปรับปุมปรับอากาศและน้ํามัน จนเสียงเครื่องดังปกติ ไมสะดุด วิธีการปรับ
ปุมปรับอากาศหากหมุนตามเข็มนาฬิกา อากาศจะเขามากขึ้น และหากหมุนทวนเข็มนาฬิกา
อากาศจะเขานอยลง
- หากเครื่องทํางานออนลง เกิดจากมีเขมาเกาะจับภายในทอพน แกไขโดยใช
แปรงทองเหลืองทําความสะอาดที่ปลายทอพน
3. เครื่องไมปลอยหมอกควัน หรือปลอยหมอกควันนอย
- ตรวจสอบฝาถังน้ํายาเคมีวาผิดแนนหรือไม
- ตรวจสอบทอน้ํายาเคมีวาอุดตันหรือไม
- ตรวจสอบวาหัวพนวาอุดตันหรือไม
- ตรวจสอบวากอกน้ํายาเคมีวาอุดตันหรือไม

เครื่องพนสารเคมีที่เปนผง
สารเคมีปองกันกําจัดที่อยูในรูปของผงฝุน มีชื่อยอ D ติดมากับภาชนะที่บรรจุ สารเคมี
แบบนี้ ผลิตโดยนําสารออกฤทธิ์มาบดละเอียดแลวผสมกับผงของสารไมออกฤทธิ์ เชน ผงทัลค
และเบนโธไนท ซึ่งสวนผสมเหลานี้จะทําใหเปอรเซนตของสารออกฤทธิ์ลดลง สามารถใชพน
ดวยเครื่องพนผงไดทันที มักใชในแหลงทีข่ าดน้ํา แตมีขอ เสียที่เวลาใชจะมีการฟุงกระจาย
เครื่องพนสารเคมีแบบนี้สามารถนําเครื่องพนสารชนิดแรงดันลม (รูปที่ 4.28) มาใชได
โดยการติดตั้งอุปกรณพนผง (รูปที่ 4.31) เขาไปภายในถังสารเคมีบริเวณกันถังดังรูปที่ 4.32
แลวนําสารเคมีที่เปนผงใสเขาไปภายในถังสารเคมี เมื่อสตารทเครื่องยนต เกิดกระแสลมจากพัด
ลมออกไปที่ทอ พน ในขณะเดียวกันก็จะมีลมสวนหนึ่งเขาไปในอุปกรณพนผงผานตัวกวนออกไป
ทางทอลม ผงเคมีที่อยูดานบนก็จะผานรูดูดเขาไปในทอดูด ผสมไปกับลมออกไปยังทอลมดวย
ดังนั้นหัวฉีดแบบคอคอดที่ใชในการพนสารเคมีที่เปนของเหลวเดิมก็ไมจําเปนตองใช
150

รูปที่ 4.31 อุปกรณพนผง

รูปที่ 4.32 การติดตั้งอุปกรณพนผงภายในถังสารเคมี

เครื่องพนสารเคมีที่เปนเม็ด
สารเคมีปองกันกําจัดศัตรูพชื ที่อยูในรูปเม็ด มีชื่อยอ G ติดมากับภาชนะที่บรรจุ สารเคมี
แบบนี้คลายกับแบบผง แตมีขนาดใหญกวา สวนประกอบไดแกสารออกฤทธิ์และสารพาหะหรือ
สารที่ทําใหเจือจาง เชน ทราย สารเคมีแบบนี้ ใชไดทนั ที โดยใชทางดินเทานั้น ซึ่งจะออกฤทธิ์
ซึมขึ้นไปทางระบบราก หามนําไปละลายน้ํา เพราะนอกจากละลายยากแลวยังมีอันตรายสูง
สําหรับเครื่องพนสารเคมีแบบนี้สามารถนําเครื่องเครื่องพนหวานเมล็ดขาวงอก (รูปที่
3.13) ซึ่งไดมีการนําเครื่องพนสารชนิดแรงดันลม (รูปที่ 4.28) ที่ดัดแปลงแลวไปใชไดโดยตรง
เนื่องจากรูปรางของเมล็ดขาวกับเม็ดปุยมีลักษณะใกลเคียงกัน
151

บทที่ 5 เครื่องมือเก็บเกี่ยวพืชอาหารสัตว
(Forage Harvesting Machinery)
152

บทนํา
การเลี้ยงโคและแพะในประเทศไทยในอดีตเปนการเลี้ยงตามธรรมชาติใหสตั วแทะเล็ม
หญาสดตามธรรมชาติ สวนในชวงฤดูแลงก็มีการจัดเตรียมฟางขาวเก็บเอาไวเพือ่ ใหสัตวบริโภค
ทดแทนหญาสดที่หาไดยากขึ้น ทําใหสตั วไดรบั คุณคาทางอาหารไมเพียงพอตอการ
เจริญเติบโต เพราะฟางขาวเปนเพียงเศษเหลือของพืชที่มีคุณคาทางอาหารต่ํา ในปจจุบัน
เกษตรกรที่เลีย้ งโคมีจํานวนมากขึ้น เพราะความตองการเนื้อสัตวของประชากรที่เพิ่มขึ้นทั้ง
ภายในและภายนอกประเทศ การเลี้ยงจึงมีพัฒนาขึ้นเพื่อใหไดคุณภาพพืชที่ดีขึ้น โดยเฉพาะ
หนวยงานของรัฐที่ไดมีการนําเทคโนโลยีการผลิตพืชอาหารสัตวเขามาปรับปรุง และสงเสริมให
เกษตรกรมีการวางแผนจัดการเกี่ยวกับทุงหญาใหมากขึ้น โดยมีหนวยงานเอกชนที่หันมาเลี้ยง
สัตวแบบฟารมขนาดใหญ มีการนําเครื่องจักรกลในการเพาะปลูกและการเก็บเกีย่ วเขามาผลิต
พืชอาหารสัตวเพิ่มมากขึ้น สวนใหญจะมุงในการผลิตหญาแหงกอน บางแหงก็ตัดหญาสดแลว
นําไปใหสตั วกิน แตก็มีบางแหงผลิตหญาหมักเพื่อการเลี้ยงสัตว เพราะมีคุณคาทางอาหารสูง
และสามารถเพิ่มผลิตตอไรได

หญาแหง (hay)
หญาแหง หมายถึงตนและใบพืชที่นํามาทําใหแหงเพื่อเก็บไวใชเปนอาหารสัตว หญา
แหงจะมีคุณคาทางอาหารในระดับปานกลาง แตทั้งนี้ก็ขึ้นอยูกับพืชที่ใชทําดวย โดยจะตัดพืชที่
มีความชื้น 75-85 เปอรเซ็นต แลวทิ้งเอาไวในพื้นทีใ่ หแหงโดยแสงแดดและลมกอนที่จะนําไป
เก็บรักษา ความชื้นที่เหมาะสมในการเก็บรักษาขึน้ อยูกับชนิดของพืช ซึ่งโดยทั่วไปจะอยู
ระหวาง 10-15 เปอรเซ็นต ถาเปนพืชที่มีปริมาณน้ําตาลอยูนอ ยก็สามารถจะเก็บรักษาไวที่
ความชื้นระหวาง 15-18 เปอรเซ็นต แตถาเปนพืชที่ตัดขณะทีย่ ังออนและมีใบมาก ปริมาณ
น้ําตาลยังมีอยูสูง จึงตองทําใหหญาแหงลงจนความชืน้ ต่ํากวา 12 เปอรเซ็นต จึงจะปลอดภัยใน
การเก็บรักษา
การตัดหญาทีย่ ังออนเพื่อทําหญาแหง หญาที่ตัดจะมีความชื้น 80 เปอรเซ็นตหรือ
มากกวา เมื่อนําไปทําหญาแหงจํานวนหนึ่งตันที่มีความชื้น 15 เปอรเซ็นต จะตองนําน้ําออกไป
จากพืชประมาณ 3.25 ตัน แตถาปลอยใหพืชแกมากขึ้นและตัดเมื่อมีความชื้นประมาณ 75
เปอรเซ็นต จะตองนําน้ําออกไปจากพืชเพียง 2.4 ตัน เทานั้น แมวาการตัดพืชที่มีอายุมากจะ
ทําใหสามารถทําหญาแหงไดเร็วขึ้นและมีการสูญเสียนอย
พืชที่ใชทําหญาแหงจะแตกตางกันไปตามสภาพภูมิอากาศ และสภาพภูมิประเทศของ
แตละแหง นอกจากนั้น วิธีการเก็บเกี่ยวและการเก็บรักษาก็แตกตางกันไป พืชตระกูลถั่ว
จัดเปนพืชที่ใชทําหญาแหงที่มีคุณภาพสูง แตไดผลผลิตตอไรต่ํา จึงมีการใชพืชพวกหญาหรือ
พืชไร หรือแมกระทั่งเศษพืชที่เหลือจากการเก็บเกีย่ วเอาเมล็ดออกไปแลวมาทําเปนหญาแหง
เพราะฉะนั้นคุณภาพของหญาแหงจึงขึ้นอยูกับชนิดของพืช อายุของพืช วิธีการในการเก็บ
เกี่ยวและการเก็บรักษา
153

ในอดีตการทําหญาแหงตองใชแรงงานจํานวนมากมาย โดยเฉพาะในการขนสงจาก
พื้นที่เพาะปลูกมายังสถานที่เก็บรักษา ซึ่งเปนปญหากับประเทศซึ่งมีคาจางแรงงานสูง แต
ปจจุบันไดมีการพัฒนาเครื่องมือตางๆ ในการเก็บเกีย่ วและการขนสง โดยใชแรงงานเพียงคน
เดียวก็สามารถทํางานในการเก็บเกี่ยวพืชอาหารสัตว เพื่อทําหญาแหงได

คุณภาพของหญาแหง
หญาแหงที่ดีควรมีลักษณะตางๆ ดังนี้
1. มีคุณคาทางอาหารสูง หมายถึงมีโปรตีนสูง มีวิตามินและแรธาตุสงู
2. มีลําตนออน ทําใหสัตวสามารถยอยไดงาย และมีกากเหลือจากการยอยนอย
3. มีสีเขียวจัด ซึ่งแสดงถึงจํานวนแคโรทีนในหญาแหงนั้น
4. ไมมีเชื้อราและวัสดุอื่นเจือปน ซึ่งเปนสาเหตุทําใหสตั วไดรับอันตรายได
5. มีกลิ่นหอมชวนใหสัตวกิน
การทําใหหญาแหงมีคุณภาพสูงนั้น ตองใชพืชที่ดี เก็บเกีย่ วในชวงระยะเวลาที่
เหมาะสม และทําใหแหงโดยวิธที ี่ถูกตองและรวดเร็ว

การทําหญาแหง
1. การตัด (cutting) การตัดมักจะทําในวันที่อากาศแหงไมมีเคาฝน ควรคาดคะเนวา
จะไมมีฝนในระยะ 3-4 วันขางหนา โดยเริ่มตัดในตอนเชาภายหลังจากที่น้ําคางแหงแลว ไม
ควรตัดในตอนบายเพราะมีเวลานอยในการทําใหแหง ซึ่งถาหญาไมแหง การหายใจจะเกิดขึ้น
แปงในพืชไปจะสูญเสียไป
2. การตาก (curing) หลังจากตัดหญาดวยเครื่องแลว หญาจะวางกระจายใหเต็ม
แปลง ถาจะตากในลักษณะนี้จนแหง หญาจะแหงเร็วมากแตจะมีการสูญเสียใบมากถาเปนพืชที่
ใบรวงงาย นอกจากนั้นใบพืชจะถูกเผาโดยแสงแดดอยางเต็มที่ ทําใหคุณคาทางอาหารลดลง
ทางที่ดีควรตากหญาใหกระจายอยูระยะหนึ่ง ใหหญาแหงพอสมควรแตใบพืชยังไมทันเปราะ
แลวคราดเดินกวาดหญามากองรวมเปนแถวๆ ใหหญากองสุมกันอยางหลวมๆ และทิ้งไวจน
แหงพอเก็บได การพลิกกองหญาบางก็จะทําใหหญาแหงเร็วขึ้น การตากเปนแถวประมาณไม
เกิน 2 วันก็จะทําใหหญาแหงพอเก็บได สําหรับพืชทีม่ ีลําตนแข็งและใหญควรใชเครื่องบีบอัดลํา
ตนพืชใหแตก เพื่อทําใหลําตนและใบแหงในเวลาใกลเคียงกัน จะทําใหเวลาในการตากลดลงได
มากถึงประมาณ 50 เปอรเซ็นต
3. การเก็บ (bale) เมื่อหญาแหงมีความชื้นประมาณ 20 เปอรเซ็นต ก็จะทําการเก็บ
ได ถาเก็บไวใชเองในบริเวณใกลเคียงมักไมอัดฟอน คือ เอาไปเก็บกองอยางหลวมๆ ในยุงฉาง
โดยเฉพาะหญาทีแหงไมเต็มที่ การกองอยางหลวมๆ จะทําใหหญาแหงลงไดอีก ถาจะนําไปใช
ที่อื่นที่ไกลออกไปก็อัดเปนฟอน ซึ่งตองรอใหหญาแหงมากขึ้น
154

การสูญเสียในการทําหญาแหง
1. การสูญเสียเนือ่ งจากการหายใจของเซลทีย่ ังมีชีวิตอยู (metabolic losses) การ
หายใจจะทําใหแปงและน้ําตาลถูกทําลาย ถาระยะเวลาในการตากหญาเนิ่นนาน เชน อากาศชืน้
ไมมีแสงแดดจะทําใหหญามีการสูญเสียสูง การหายใจของเซลลจะดําเนินไปเรื่อยๆ จน
ความชื้นของหญาลดลงเหลือประมาณ 35 เปอรเซ็นต การสูญเสียชวงนีป้ ระมาณ 2-13
เปอรเซ็นต ของน้ําหนักแหงของผลผลิต
2. การสูญเสียเนือ่ งจากการหลุดรวงของใบและสวนเล็กๆ ของตนพืช (shattering
losses) กานและใบจะหลุดรวงเมื่อแหงจนเปราะ การหลุดรวงในขณะขนเก็บมักจะเปนใบ
โดยเฉพาะพืชตระกูลถั่วซึ่งสวนใบเปนสวนที่มีคุณคาทางอาหารสูง การสูญเสียจะมีมากขึ้นเมื่อ
ทําการคราดรวมกอง กระจายกอง และการอัดฟอนขณะที่พืชมีความชื้นต่ํา ซึ่งประมาณวาการ
สูญเสียจากการหลุดรวงของใบในชวงนี้ 5, 10 และ 20 เปอรเซ็นต ที่ความชื้นของหญา 50, 35
และ 20 เปอรเซ็นต ตามลําดับ โดยคิดเปนการสูญเสียขณะคราด 5-15 เปอรเซ็นต และการ
สูญเสียขณะอัดฟอนแบบเหลี่ยมประมาณ 3-8 เปอรเซ็นต ดังนั้น จึงควรเก็บหญาอยาง
ระมัดระวัง พยายามเก็บในขณะที่พืชยังไมแหงเปราะหรือควรหาวิธีทําใหใบและลําตนแหง
พรอมๆ กัน
3. การสูญเสียโดยการบูดเนาและถูกแดดทําลาย (fermentation losses and
bleaching losses) น้ําตาลและแปงอาจเกิดจากการสลายตัวเปนแกสและน้ําไดถาตากแตดนาน
เกินไป แสงแดดจะทําลายแคโรทีนพรอมๆ กับสีเขียวของพืช การบูดเนาจะสูญเสียโภชนาการ
ตางๆ รวมทั้งแคโรทีนดวย
4. การสูญเสียโดยถูกฝนชะ (leaching losses) ถาหญาที่ตากเกือบแหงถูกฝนชะจะ
เกิดการสูญเสียมากทั้งปริมาณและคุณภาพของหญา การสูญเสียในชวงนี้ประมาณ 8-10
เปอรเซ็นต

เครื่องจักรกลที่ใชในการทําหญาแหง
เพื่อที่จะลดแรงงานและเวลาที่ใชในการผลิตพืชอาหารสัตว ปจจุบันไดมีการผลิต
เครื่องมือตางๆ ในการทําหญาแหงเพื่อใหเกษตรกรเลือกใชใหเหมาะสมกับสภาพกิจการของ
ตนเอง ซึ่งแบงประเภทของเครื่องมือที่ใชในการทําหญาแหงไดดังนี้
1. เครื่องตัดหญา (mower)
1.1 เครื่องตัดหญาแบบใบมีดเคลื่อนไปมา (reciprocating knife mower)
1.2 เครื่องตัดหญาแบบมัลติดิส (multi disc mower)
1.3 เครื่องตัดหญาแบบดรัม (drum mower)
1.4 เครื่องตัดหญาแบบใบมีดหมุนเหวี่ยงแนวนอน (rotary mower or slasher)
1.5 เครื่องตัดหญาแบบหมุนเหวี่ยงแนวตั้ง (flail mower)
2. เครื่องบีบขอและลําตนหญา (hay conditioner)
155

2.1 เครื่องบีบขอและลําตน (conditioner)


2.2 เครื่องตัด บีบขอและลําตน (mower conditioner)
3. เครื่องคราดหญา (rake)
3.1 เครื่องคราดแบบหมุนเหวี่ยง (rotary or radial rake)
3.2 เครื่องคราดแบบวงลอ (finger wheel hay rake)
4. เครื่องอัดฟอนหญา (baler)
4.1 เครื่องอัดฟอนหญาแบบสี่เหลี่ยม (rectangular baler)
4.2 เครื่องอัดฟอนแบบกลม (round baler)

เครื่องตัดหญา
เครื่องตัดหญาเปนเครื่องมือที่ใชในการตัดตนพืชอาหารสัตวเพื่อวัตถุประสงคในการ
นําไปใหสัตวกินสด หรือทําหญาแหงและหญาหมัก เครื่องตัดหญามีหลายแบบแตละแบบ
เหมาะสมที่จะใชกับงานที่แตกตางกัน

เครื่องตัดหญาแบบใบมีดเคลื่อนที่ไปมา
เครื่องตัดหญาแบบใบมีดเคลื่อนที่ไปมา (รูปที่ 5.1) เปนเครื่องตัดหญาแบบใบมีดที่
เคลื่อนที่สวนกัน หรือใบหนึ่งอยูกับที่อีกใบหนึ่งเคลื่อนที่ตัดตนพืชใหขาดออก ใชสําหรับตัดหญา
ที่ขึ้นเบาบางไดดี หญาอาหารสัตวที่ถูกตัดจะคงสภาพเดิมไมแหลกละเอียด เหมาะสําหรับนําไป
เลี้ยงสัตวโดยตรง หรือนําไปทําหญาแหง (hay) เพราะตัดไดเรียบรอย ไมชอกช้ํา คุณคาทาง
อาหารจะคงเดิม

รูปที่ 5.1 เครือ่ งตัดหญาแบบใบมีดเคลื่อนที่ไปมาชนิดติดทายรถแทรกเตอร


156

เครื่องตัดหญาชนิดนี้ อาจจะติดตั้งไวขางหลังรถแทรกเตอร หรือติดตั้งอยูกลางรถ


แทรกเตอร เพื่อใหผูปฏิบัติงานมองเห็นไดงายและสามารถที่จะหยุดรถไดทันทีในกรณีที่เครือ่ ง
ตัดหญาเกิดขัดของ
ถึงแมวาเครื่องตัดหญาแบบใบมีดเคลื่อนที่ไปมานี้ จะเปนที่นิยมใชสําหรับตัดหญาที่จะ
นําไปทําหญาแหง แตก็มีขอเสียคือสึกหรอเร็ว เพราะมีชิ้นสวนที่เสียดสีกันมาก และก็ไม
เหมาะที่นําไปตัดหญาชนิดที่ขึ้นหนาแนน
โดยทั่วไปมีขนาดความกวางการตัดประมาณ 1.5-2.7 เมตร เครื่องตัดหญาแบบนี้
ประกอบดวยชิ้นสวนทีส่ ําคัญคือกลไกนิรภัย (Safety mechanism) ซึ่งประกอบดวยกลไกชัก
ใบมีด (knife drive) และชุดใบมีด (cutter bar assembly) เครื่องกลไกนิรภัยนี้จะชวยปองกัน
ความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นกับใบมีด โดยที่เครื่องกลไกนี้จะยกชุดใบมีดขึ้น เมื่อกระแทกกับสิง่
กีดขวาง
นอกจากนั้นยังมีสวนประกอบตางๆ (รูปที่ 5.2) ดังนี้
1. เหล็กยึดชุดใบมีด (cutter bar) เปนแกนใหชิ้นสวนอื่นๆ ยึดประกอบเปน
เครื่องตัดหญา บนแกนจะเจาะรูไวเพื่อใหสวนกันใบมีดยึดติดอยู
2. ซี่กันใบมีด (guards) ทําหนาที่เปนรางบังคับใบมีด ปองกันและพยุงรับ
ใบมีด นอกจากนั้นยังทําหนาที่เปนสวนคมอีกดานหนึ่งตานกับใบมีด โดยมีแผนชวยตัด (ledger
plate) ย้ําติดอยู หนาที่อีกประการหนึ่งของซี่กันใบมีดคือชวยแบงตนพืชใหเขาหาใบมีดเทาๆกัน
นอกจากนั้นซี่กันใบมีดยังมีหลายแบบขึ้นอยูกับลักษณะงานที่นําไปใช เชนแบบปองกันหิน (rock
guard) แบบปกติ (regular guard) เปนตน
3. แผนชวยตัด ปกติจะมีขอบเปนรอยบากคลายฟนปลา เมื่อสึกสามารถถอด
เปลี่ยนได โดยแผนนี้จะยึดติดอยูกับซี่กันใบมีด
4. ใบมีด (knife) อาจจะมีขอบเรียบหรือเปนรอยบากคลายฟนปลา มีลักษณะ
เปนรูปสี่เหลี่ยมคางหมู ใบมีดจะยึดติดอยูกับแผนยึดชุดใบมีด

รูปที่ 5.2 ชุดใบมีด


5. แผนกันสึก (wearing plates) ทําหนาที่รองสวนทายของใบมีดและรับแรง
ผลักจากใบมีดขณะทํางาน พรอมทั้งปองกันเหล็กยึดชุดใบมีดสึก
157

6. แผนกดใบมีด (knife clips) จะวางอยูบ นใบมีดเพื่อกดใหใบมีดติดกับแผน


ชวยตัด
7. ขารองเลื่อนใน (inner shoe) อยูปลายชุดใบมีดดานในติดอยูกับบริเวณที่
ถายกําลังมาจากรถแทรกเตอร ทําหนาที่ปรับความสูงต่ําของชุดใบมีด
8. ขารองเลื่อนนอก (outer shoe) อยูปลายดานนอกของชุดใบมีด ทําหนาที่
แบงบริเวณหญาหรือพืชที่ถูกตัดออกจากบริเวณพืชทัง้ หมดที่ยังไมถูกตัด

การใชเครื่องตัดหญาแบบชักไปมา มีสิ่งควรจะตองดูแลอยูเปนประจํา ดังตอไปนี้


1. ใบมีดมีลักษณะเปนรูปสามเหลี่ยม มี 2 แบบ คือ แบบที่มีคมเรียบและแบบที่มีคม
เปนหยัก ใบมีดเปรียบเสมือนขากรรไกรขางหนึ่ง ใบมีดควรจะตองคมอยูเสมอ เมื่อทื่อก็ถอด
ออกมาลับใหม ถาบิ่นหรือหักควรจะเปลีย่ นใหมทันที
2. ซี่กันใบมีดทําหนาที่ปองกันใบมีด โดยมีแผนชวยตัด ซึ่งเปนสวนประกอบการตัด
ทําหนาที่เสมือนขากรรไกรอีกขางหนึ่ง ควรจะมีการตรวจเช็ค อยาใหทื่อหรือสึกหรอ
3. แผนกันสึก ซึ่งทําหนาที่รองรับสวนทายของใบมีด และควบคุมใหใบมีดกลับไปสู
แผนชวยตัดขณะที่ชักใบมีดกลับ อาจจะสึกหรอ เพราะเสียดสีกับบางสวนของใบมีด ก็ควรจะ
เปลี่ยน ถาไมเชนนั้นใบมีดจะไมสัมผัสกับแผนรองมีด
4. แผนกดใบมีด(knife clip) ควรจะกดลงบนใบมีดเบาๆ ตลอดเวลา ถาสึกก็ใหใช
คอนคอยๆ เคาะลงอยางระมัดระวัง
5. แผนแยกหญาและแทงกวาดหญาทําหนาที่แยกหญาทีต่ ัดแลวออกจากหญาที่ยังไม
ตัด เพื่อกันไมใหรถแทรกเตอรย่ําจนช้ํา ดังนั้น จึงควรจะยึดแผนแยกหญาไวไมใหแนนมาก
เกินไป และควรจะตั้งแทงกวาดหญาไมใหสูงหรือต่ําตามความสูงของหญา
6. สวนปลายของชุดใบมีดควรจะอยูในลักษณะที่หางจากแนวลอดังในรูปที่ 5.3
มากกวาสวนที่อยูใกลกับตัวรถประมาณ ¼ นิ้ว ตอความยาวของชุดใบมีด 1 ฟุต (20
มิลลิเมตรตอความยาว 1 เมตร)
7. ขารองเลื่อนดานในและดานนอกมีหนาที่รับน้ําหนักของชุดใบมีด อีกทั้งยังทําหนาที่
แหวกหญาและแบงหญาที่จะตัดอีกดวย ดังนั้น ถาสึกก็ควรจะซอมแซมหรือเปลี่ยนใหม
158

รูปที่ 5.3 การติดตั้งชุดใบมีดตัด


8. เครื่องตัดหญาควรจะทํางานไดประมาณ 5 เฮกตาร/เมตร/วัน นั้นคือ ถาใชเครื่อง
ตัดหญายาว 2 เมตร ก็จะทํางานไดประมาณ 11 เฮกตาร/วัน
9. หยอดน้ํามันและอัดจารบีทุกสวนที่เคลื่อนที่เปนประจํา เพื่อลดความสึกหรอที่
เกิดขึ้น สําหรับสวนทีเ่ คลื่อนที่เร็ว เชน แบริ่ง (bearing) และสวนของใบมีดที่
เสียดสีกันตลอดเวลา ควรจะหยอดน้ํามันวันละหลายๆ ครั้ง

เครื่องตัดหญาแบบดรัม
เครื่องตัดหญาแบบดรัม (รูปที่ 5.4) เปนเครื่องตัดหญาแบบใชใบมีดแบบหมุนเหวี่ยง
โดยมีชุดอุปกรณการขับเคลื่อนอยูดานบนของใบมีด โดยถายทอดกําลังมาจากเพลาอํานวย
กําลังผานเพลาขับและเกียรลงไปยังจานตัด ทําใหใบมีดของจานตัดแตละจานหมุนสวนทางกัน
โดยทั่วไปขนาดความกวางการตัด 2 เมตร จะมีชุดใบมีด 2 ชุด สามารถเคลื่อนทีใ่ นการทํางาน
ไปขางหนาไดเร็ว ชุดใบมีดแตละชุดจะประกอบดวยใบมีด 2 ใบ มีสวนประกอบที่สาํ คัญคือ
1. ชุดเกียรขับ (gear box)
2. ชุดเพลาขับ (drum rotor)
3. ใบมีด (knife)

รูปที่ 5.4 เครื่องตัดหญาแบบดรัม


159

การปรับตั้งความสูงของหญาที่ตัดสามารถทําไดโดยการปรับมุมเอียงของใบมีด ดวยการ
ปรับแขนกลางของรถแทรกเตอรใหสั้นลง หรือยาวขึ้น นอกจากนั้นยังอาจจะปรับไดที่ชุดปรับ
ของเครื่องตัดหญา ถาปรับใหเอียงไปดานหลังมากจะตัดไดหญายาว ถาปรับใหเอียงไปดานหนา
มากจะตัดไดหญาสั้น แตก็ตองปรับเลื่อนผาใบมาคลุมเพื่อปองกันหินกระเด็น

เครื่องตัดหญาแบบมัลติดิส
เครื่องตัดหญาแบบมัลติดิส (รูปที่ 5.5) เปนเครื่องตัดหญาแบบใชใบมีดหมุนเหวี่ยง
เชนกัน แตมีชุดเฟองขับอยูดานลางของใบมีด แชอยูในน้ํามันหลอลื่นเพื่อลดการสึกหรอและหลอ
ลื่น จานตัดมีลักษณะเปนรูปวงรี (รูปที่ 5.6) ติดใบมีดที่สวนปลาย 2 ใบ ทําใหมีการเหลื่อมกัน
ของใบมีด กองหญาที่ตัดไดจะแผกระจายเทากับความกวางของชุดใบมีด ชุดใบมีดจะมี
เสนผาศูนยกลางเล็กกวาแบบดรัม ทําใหการตัดหญาไดนุมนวลกวา หญาที่ถกู ตัดจะไมถูกหั่น
เปนทอนสั้น ๆ สวนความกวางในการตัดหญาขึ้นอยูกับจํานวนจานตัดที่อาจจะมีตั้งแต 2-6 จาน

รูปที่ 5.5 เครือ่ งตัดหญาแบบมัลติดิส

รูปที่ 5.6 จานตัดและใบมีดมองจากดานลาง


ปจจุบันเครื่องตัดหญาแบบดรัมและแบบมัลติดิส ไดถูกนํามาใชมากขึ้น แมจะใชกําลัง
ขับสูงระหวาง 7-15 กิโลวัตตตอความกวางการทํางาน 1 เมตร การตัดตนพืชจะใชแรงเหวีย่ ง
160

ตัดพืชใหขาดดวยความเร็วปลายใบมีดประมาณ 80 เมตรตอวินาที เครื่องแบบนี้จะทํางานได


เร็วกวาแมในสภาพที่ตนพืชลม โดยใชความเร็วในการทํางานถึง 15 กิโลเมตรตอชั่วโมง
สามารถทํางานไดประมาณ 3– 10 ไรตอชั่วโมง ตอความกวางการทํางาน 1 เมตร

เครื่องตัดหญาแบบหมุนเหวี่ยงแนวนอน
เครื่องตัดหญาแบบหมุนเหวี่ยงแนวนอนเปนเครื่องตัดหญาแบบใบมีดหมุนเหวี่ยงที่มี
เพลาขับอยูใ นแนวดิ่ง และมีชุดใบมีดอยูในแนวนอน การตัดใบมีดจะเหวี่ยงในแนวระดับชิดกับ
พื้นดิน ปกติใบมีดตัดจะมีอยูเพียงชุดเดียว จํานวน 2 ใบ แตบางแบบจะมีชุดใบมีดตั้งแต 1-3
ชุดที่วางซอนกันเปนชั้นๆ ตามแนวขนานกับพื้นดินหรือวางเยื้องกันในระดับเดียวกัน ความ
กวางของแนวการตัดหรือเสนผาศูนยกลางใบมีดของเครื่องตัดหญาแบบใบมีดชุดเดียวประมาณ
1.5 เมตร แตในเครื่องตัดขนาดใหญๆ อาจจะมีความกวางในการตัดถึง 3.5 เมตร นิยมใชใน
การตัดวัชพืชใหสั้นแตไมเก็บไปใชเลี้ยงสัตว เพราะตนพืชที่ตัดจะถูกตีจนแหลก นอกจากนั้นยัง
ใชในการตัดยอยตอเศษพืชที่เหลือจากการเก็บเกี่ยว เชน ตัดตอออย เปนตน โดยมี
สวนประกอบที่สําคัญดังนี้
1. หองเกียร (gear box)
2. แกนใบมีด (rotor) ตอกับแผนจานกลม
3. ใบมีด (blade)
เครื่องตัดหญาแบบนี้สว นใหญติดตั้งอยูด านหลังรถแทรกเตอร (รูปที่ 5.7) และหมุนโดย
อาศัยกําลังจากเพลาอํานวยกําลัง (รูปที่ 5.8) ที่ถายทอดมายังหองเกียร ซึ่งเปลี่ยนการหมุนของ
เพลาอํานวยกําลังมาหมุนขับใบมีดในแนวราบ สวนการควบคุมความสูงในการตัดโดยใชสกีหรือ
ลอดานทายของเครื่อง

รูปที่ 5.7 เครือ่ งตัดหญาแบบหมุนเหวี่ยงแนวนอนติดหลังรถแทรกเตอร


สําหรับกลไกในการทํางาน ประกอบขึน้ ดวยใบมีด 2 ใบ ทีย่ ึดติดกับแผนจานกลม
(disc) ซึ่งอยูในแนวระดับ และใบมีดทั้งสองนี้สามารถแกวงไปมาไดอิสระโดยรอบจุดที่ยึดติดกับ
แผนจานกลมนั้น
161

รูปที่ 5.8 เครือ่ งตัดหญาแบบหมุนเหวี่ยงแนวนอน


เมื่อแผนจานกลมหมุน ใบมีดจะเหวี่ยงตัวออกทําการตัดหญาได ถาใบมีดบังเอิญหมุน
ไปกระแทกกับตอไม หรือกิ่งไมก็จะเดงตัวกลับหลัง (รูปที่ 5.9) เพื่อลดความเสียหายที่อาจจะ
เกิดขึ้นกับใบมีด
การทํางานของเครื่องมือชนิดนี้ไมซับซอนแตก็มีขอที่ควรจะตองบํารุงรักษา และ
ระมัดระวัง ดังตอไปนี้
1. เรงเครื่องยนตใหไดรอบทีส่ ามารถทําใหเพลาอํานวยกําลังหมุนดวยความเร็ว 540
รอบตอนาที
2. ใบมีดควรจะคมอยูเสมอ ถาเสียหายก็ซอมแซมหรือเปลี่ยนเสียใหม ถาบิดงอก็ดัด
ใหตรง

รูปที่ 5.9 รูปดานลางที่แสดงใหเห็นใบมีดที่เหวี่ยงตัวกลับเมื่อกระแทกเศษหิน


3. ทําความสะอาดและหยอดน้ํามัน หรือทาจารบีเพลาอํานวยกําลัง พรอมทั้ง
ตรวจสอบระดับน้ํามันในหองเกียร (gear box) ทุกๆ วัน
4. ดานหลังของเครื่องตัดหญาควรจะสูงกวาดานหนา เพื่อใหเปนทางออกของหญาที่
ตัดแลว ซึ่งจะทําไดโดยการปรับแขนกลางใหสั้นลง
162

5. ไมควรใชเกียรเดินหนาสูงเกินไปในการตัดหญาที่ขึ้นอยูอยางหนาแนน หรือมีลํา
ตนยาว สูง และเหนียว เพราะใบมีดจะตัดไมทัน ทําใหหญาพันรัดใบมีดจนไมสามารถหมุนได
6. ควรจะสังเกตวา ใบมีดทีห่ มุนดวยความเร็วสูง ถาเกิดหลุดหรือขาดออกจากแผน
จานกลมจะกระเด็นออกไปไกลหลายสิบเมตร และทําอันตรายตอผูท ี่อยูใกลเคียง ถาใบมีดนั้น
ไปกระแทกหินหรือตอไม เศษหินหรือเศษไมจะกระเด็นออกมาทําใหเกิดอันตรายขึน้ ได
เชนเดียวกัน เพราะฉะนั้นขณะที่กําลังตัดหญาไมควรจะใหผูใดยืนอยูขางหลังรถแทรกเตอรเปน
อันขาด
7. ดับเครื่องกอนที่จะลงมาจากรถแทรกเตอร หรือกอนที่จะการปรับตั้งเครื่องตัดหญา
8. ไมควรใหผูใดโดยสารไปดวยขณะทํางาน
9. ขณะเดินทางอยาใหเพลาอํานวยกําลังหมุน

เครื่องตัดหญาแบบหมุนเหวี่ยงแนวตั้ง
เครื่องตัดหญาแบบหมุนเหวี่ยงแนวตั้ง (รูปที่ 5.10) เปนเครื่องตัดหญาแบบใบมีดหมุนที่
มีเพลาขับอยูในแนวราบและมีใบมีดเหวี่ยงไดในแนวดิ่ง (flail) (รูปที่ 5.11) ตลอดความยาวของ
เพลาขับที่หมุนดวยความเร็วสูงในทิศทางตรงขามกับลอรถแทรกเตอร เมื่อตนหญาเขาไปอยู
ระหวางใบมีดกับแผนตัด (shear plate) ก็จะถูกตัดขาด และถูกใบมีดที่หมุนตัดนั้นพนหญาที่
ขาดขึ้นไปดานบนผานทอพน (spout) ตกลงไปยังรถเทลเลอรที่พวงอยูขางหลัง สวนการตัดหญา
ใหสั้นหรือยาวนั้น ปรับไดที่ลอปรับความสูง ดังนั้น เครื่องตัดหญาชนิดนี้ จึงเหมาะสําหรับตัด
หญาที่จะนําไปทําหญาหมัก (silage) และหญาคลุมดิน (mulching)

รูปที่ 5.10 เครื่องตัดหญาแบบหมุนเหวี่ยงแนวตั้ง


163

รูปที่ 5.11 ใบมีดแบบหมุนเหวี่ยงแนวตั้ง


โดยปกติเครื่องตัดหญาแบบหมุนเหวี่ยงแนวตั้งจะใชเมือ่ ตองการตัดพืชที่ตองการใหแหง
เร็วขึ้น ขณะทํางานจะตองปรับใหความเร็วรอบของใบมีดและความเร็วในการเคลื่อนที่สัมพันธ
กับกําลังที่ใชในการขับที่ไดมาจากเพลาอํานวยกําลังของรถแทรกเตอร เพื่อปองกันใบมีดเหวี่ยง
ขามพืชโดยไมตัด เครื่องแบบนี้จะทํางานไดดีในสภาพที่พืชลมโดยสามารถทํางานได 2.5-7.5
ไรตอชั่วโมง เมื่อใบมีดไปกระแทกสิ่งกีดขวาง เชน ตอไม ใบมีดจะเคลื่อนตัวกลับเพื่อลดความ
เสียหายที่จะเกิดขึ้น ปกติมคี วามกวางในการตัดประมาณ 1.5-3.0 เมตร สําหรับเครื่องขนาด 1.5
เมตรใชกําลังขับระหวาง 12-24 กิโลวัตตตอความกวางของการทํางาน 1 เมตรที่ความเร็วในการ
ทํางาน 8 กิโลเมตรตอชั่วโมง ถาตองการตัดหญาเพื่อทําหญาแหงจะตองใชความเร็วรอบของ
ใบมีดประมาณ 800 รอบตอนาที แตถาตองการตัดหญาเพื่อทําหญาหมักจะตองใชความเร็วรอบ
ใบมีดประมาณ 1200 รอบตอนาที
การดูแลรักษาเครื่องเก็บเกีย่ วหญานี้ก็ทําเชนเดียวกับการดูแลรักษาเครื่องตัดหญาแบบ
หมุนเหวี่ยงแนวนอนดังที่ไดกลาวมาแลวคือ ใบมีดควรจะคมและอยูในภาพดีอยูเสมอ การอัด
จารบี และการหยอดน้ําหลอลื่นก็ควรจะทําเปนประจําเชนเดียวกัน

เครื่องบีบขอและลําตนหญา
เครื่องบีบขอและลําตนหญาเปนเครื่องมือปรับสภาพทําใหลําตน และใบหญาแหงใน
เวลาที่ใกลเคียงกัน เพื่อลดการสูญเสียจากการหลุดรวงของใบที่แหงกรอบ ซึ่งปกติถาตากแดด
ไวตามธรรมชาติ ลําตนจะเปนสวนที่แหงเปนอันดับสุดทาย โดยใบจะแหงกอนสวนอื่น เมื่อทํา
164

การเก็บจะทําใหใบที่แหงกรอบเกิดการหลุดรวงสูญเสียคุณคาทางอาหารไป การทําใหหญาแหง
พรอมกันและแหงเร็วขึ้น สามารถทําไดโดยการบีบอัด (crushing หรือ crimping) และการนวด
ตี (flailing) ซึ่งวิธีการเหลานี้มีขอไดเปรียบกวาวิธีการตากใหแหงโดยแสงแดดเพียงอยางเดียว
คือ
1. ลดเวลาในการทําใหหญาแหงประมาณ 30 เปอรเซ็นต
2. ลดความเสียหายอันอาจเกิดขึ้นจากสภาพอากาศ
3. ประหยัดเวลาจากการกลับพลิกหญา
4. ชวยรักษาคุณคาทางอาหาร
เครื่องบีบขอและลําตนหญาสามารถแบงออกไดตามลักษณะของการทํางาน คือ
1. เครื่องบีบขอและลําตน
2. เครื่องตัด บีบขอและลําตน
เครื่องบีบขอและลําตนหญามีสวนประกอบหลักที่สําคัญคือลูกกลิ้ง ที่มีอยูหลายแบบ (รูป
ที่ 5.12) สวนใหญจะใชงานเปนคูๆ มีทั้งแบบที่เปนโลหะทั้งคู เปนโลหะหนาเรียบและยางเปน
รอง หรือยางเปนรองทั้งคู

รูปที่ 5.12 ลูกกลิ้งแบบตางๆและการทํางาน

เครื่องบีบขอและลําตน
เครื่องบีบขอและลําตน (รูปที่ 5.13) เปนเครื่องที่ไมมีลอโนม ชุดใบมีด และชุดเกลีย่ หญา
ใชรถแทรกเตอรลากจูง โดยที่ลูกกลิ้งตัวที่วางติดกับดินจะทําหนาทีเ่ ปนตัวเกลีย่ และดึงหญาขึ้น
ไปบีบกับลูกกลิ้งอีกตัวหนึ่งที่อยูดานบน ขอและลําตนของหญาจะแตก ทําใหคายความชื้น
ออกไปไดเร็วเทาๆกับทีใ่ บ เครื่องแบบนี้เปนที่นิยมใชในฟารมขนาดเล็ก

รูปที่ 5.13 เครื่องบีบขอและลําตน


165

เครื่องตัด บีบขอและลําตน
เครื่องตัด บีบขอ และลําตนเปนแบบที่มีลอโนม และอุปกรณในการตัดหญาแลวสงขึ้นไป
บีบดวยลูกกลิง้ กอนที่จะทิ้งออกมากองไวเปนแถวดานหลัง ดังหลักการทํางานที่แสดงไวในรูปที่
5.14 โดยกําลังที่ใชในการขับลอโนม ลูกกลิ้งและใบมีดตัดนั้นไดมาจากรถแทรกเตอรที่สงผานมา
ทางเพลาอํานวยกําลัง ขณะที่รถแทรกเตอรเคลื่อนที่ไปขางหนาและลากจูงไปพรอมๆกัน
สวนประกอบที่สําคัญของเครื่องตัด บีบขอและลําตนประกอบดวย
1. ลอโนม (reel) ทําหนาที่โนมตนพืชเขาไปตัดและสงพืชตอไป แบงตาม
ลักษณะการทํางานเปนหลายแบบ คือ
1.1 แบบซี่ฟนเกลีย่ (pick up reel) เปนแบบที่โนมตนพืชไปทางดานหลังโดย
ซี่ฟนเกลี่ย พยุงตนพืชใหอปุ กรณตัด หลังจากนั้นก็จะยกสงไปใหลูกกลิ้งบีบขอตอไป
1.2 แบบแผนโนม (bat reel) เปนแบบแผนไมหรือโลหะวางขวางกับทิศ
ทางการเคลื่อนที่ ทําหนาที่กดตนพืชลงแลวสงไปใหสว นตัด

รูปที่ 5.14 หลักการทํางานของเครื่องตัด บีบขอและลําตน


1.3 แบบแกนดัน (lean bar) เปนแกนโลหะวางขวางการเคลื่อนที่ ทําหนาที่
โนมดันตนพืชไปขางหนาในการตัดพืชที่มลี ําตนสูงหรือมีเมล็ดดวย เพื่อสงสวนโคนตนเขาไปตัด
และบีบอัดตอไป
2. อุปกรณในการตัด (mowing device) ทําหนาที่ตัดตนพืชใหขาดที่นยิ มใชกันมี
3 แบบ คือ
2.1 แบบใบมีดเคลื่อนที่ไปมา
2.2 แบบมัลติดิส
2.3 แบบดรัม
3. ลูกกลิ้งบีบอัด (rolls) เปนสวนสําคัญที่สดุ ในการบีบหรือนวด ซึ่งแบงออกได
เปนหลายแบบตามลักษณะของพืช คือ
3.1 ลูกกลิ้งพื้นเรียบ (smooth roll) ทําดวยเหล็กหรือยาง 2 ลูก วางชิด
กัน การบีบจะทําไดตอเนื่องและทุกสวนของหญาโดยไมมีสวนใดของพืชที่ไมถูกบีบ
166

3.2 ลูกกลิ้งแบบเปนเกลียว (crusher) จะเปนฟนแบบเฟองบิดเปนเกลียว


รอบลูกกลิ้งเพือ่ ทําใหสามารถดึงจับหญาสงเขาบีบไดดีขนึ้
3.3 ลูกกลิ้งแบบเปนจีบ (crimper) สวนมากจะเปนเหล็กหลอเปนรองหรือ
จีบคลายฟนเฟองหมุนบีบเขาหากัน
3.4 ลูกตี (flail type) จะเปนซี่ฟนนวดตีซึ่งอาจเปนซี่เหล็กหรือพลาสติก
ตัววี หรือแบบขนแปรงติดบนเพลาหมุน นิยมใชกับอุปกรณการตัดแบบดรัม
4. แผนรวมกอง (windrow forming shields) เปนแผนเหล็กกั้นตนพืชให
รวมกันเขามาเปนกองแคบๆ มากขึ้น เพื่อใหสะดวกในการจัดเก็บ ความกวางของกอง
สามารถควบคุมไดโดยการปรับระยะของแผนรวมกองหลังการของเครื่องตัดและบีบขอ เปนการ
รวมเอาเครื่องตัดหญากับเครื่องบีบขอและลําตนมาใชรว มกัน เพื่อลดจํานวนครัง้ ในการทํางาน
ใหนอยลง ในระยะเริ่มแรกเปนการนําเอาเครื่องตัดหญาแบบใบมีดเคลื่อนที่ไปมามาเปนอุปกรณ
ในการตัดตามดวยลูกกลิ้งบีบขอ ซึ่งเหมาะกับหญาที่มผี ลผลิตไมหนาแนนมากนัก ปจจุบนั ไดมี
การพัฒนาโดยนําเอาอุปกรณในการตัดเแบบมัลติดิสและดรัมมาใช ซึ่งมีความกวางการทํางาน
1.5 - 3 เมตร โดยอุปกรณมัลติดิสจะเหมาะกับลูกกลิ้งบีบอัด (crusher) ซึ่งทํางานไดผลดีกับ
สภาพของพืชที่มีผลผลิตตอไรปานกลาง และไดผลนอยกับพืชทีม่ ีผลผลิตตอไรมาก เพราะ
อาจจะทําใหหญาปอนเขาไปมีปริมาณมากเกินความสามารถของลูกกลิ้งบีบขอ สวนอุปกรณตดั
แบบดรัมจะทํางานรวมกับลูกตี (tine or beater) ซึ่งติดอยูดานหลังของดรัมที่ทาํ หนาที่ตัดพืชที่
มีความหนาแนนมาก นอกจากนั้นไดมีการพัฒนาลูกตีใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น ทําอันตรายตอ
พืชนอยลง ทั้งนี้ไดมีการศึกษาพบวา การทําใหพืชแหงเร็วขึ้นนั้น ไมจําเปนตองทําให
โครงสรางของพืชทั้งหมดเปลี่ยนไป เพียงแตทาํ ใหผิวนอกของสวนของพืชเปดออกก็เพียง
พอที่จะใหความชื้นออกจากพืชไดแลว จึงมีการพัฒนาลูกตีแบบซี่ตวั วีติดบนแกนเพลาหมุน
ออกมาใชแลว

เครื่องคราดหญา
ภายหลังจากการตัดหญา หญาจะถูกวางกระจัดกระจายไวบนพื้นเพื่อตากใหแหงเร็วขึ้น
แตไมสะดวกในการเก็บหรือนําเครื่องมือเขามาทํางานตอ โดยเฉพาะการใชเครื่องอัดฟอนหญา
ถาหากปลอยใหหญากระจัดกระจาย การอัดหญาใหไดหนึ่งฟอนก็ตองใชเวลานาน เพราะ
ปริมาณหญาที่ปอนเขาไปไมเพียงพอ เครื่องคราดหญาจึงเปนสิ่งจําเปนสําหรับวางรายหญา
เอาไวเปนกองในปริมาณที่มากพอที่เครื่องอัดฟอนจะทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ การคราด
หญาที่ตากเอาไวมารวมกองจะทําใหลดเวลาในการทํางานลง แตจะตองคราดเมื่อหญามี
ความชื้นมากกวา 40 เปอรเซ็นต เพื่อลดการสูญเสียสวนใบของหญา เครื่องคราดหญาสามารถ
คราดหญาที่ถกู ตัดวางกระจายไวแลวหรือคราดหญาที่กองไวเปนกองเล็กๆ จากการใชเครื่องตัด
บีบขอและลําตน มารวมเปนกองที่ใหญขึ้นก็ได นอกจากนั้น ยังสามารถใชเกลี่ยหรือกระจาย
167

กองหญาหรือพลิกกลับหญาที่อยูขางลางขึ้นมารับแสงแดด โดยเฉพาะเมื่อมีฝนตกขณะทีต่ าก
หญา เครื่องคราดหญาที่นิยมใชกันมากมี 2 แบบ คือ
1. เครื่องคราดแบบหมุนเหวี่ยง (rotary or radial rake)
2. เครื่องคราดแบบวงลอ (finger wheel rake)

เครื่องคราดแบบหมุนเหวี่ยง
เครื่องคราดแบบหมุนเหวี่ยงทํางานโดยซี่เกลี่ยจํานวน 2-10 ซี่ ที่ติดอยูกับแกนหมุนที่อยู
ในแนวดิ่งรวมกันเปนชุดหมุน โดยอาจจะมี 1-6 ชุด ซี่เกลี่ยจะหมุนในแนวราบดวยความเร็วสูง
เพื่อรวมหญาใหเปนกองและเปนแถว พลิกกลับ เกลี่ยหรือกระจาย ทั้งนี้บางเครื่องก็ถูกออกแบบ
มาใหมีหนาที่เพียงอยางเดียว ถามีซีเกลีย่ 2 ซี่อยูบนแขน มักจะใชไดเฉพาะกระจายกอง แตถา
มีมากกวาก็จะทําหนาที่รวมกองไดดว ย เครื่องคราดแบบหมุนเหวี่ยงนี้แบงออกไดอีก 2 ชนิด คือ
ชนิดแกนหมุน 1 แกน (one rotor type) และชนิดแกนหมุน 4 แกน (four rotors type)

รูปที่ 5.15 เครื่องคราดแบบหมุนเหวี่ยงชนิดแกนหมุน 1 แกน

เครื่องคราดแบบหมุนเหวี่ยงชนิดแกนหมุน 1 แกน
เครื่องคราดชนิดแกนหมุน 1 แกน (รูปที่ 5.15) นี้ประกอบดวยชุดหมุน 1 ชุด ที่
ไดรับการถายทอดกําลังมาจากเพลาอํานวยกําลัง และมีลอพยุงทีท่ ําใหเครื่องคราดนี้เคลื่อนไป
ตามลักษณะของพื้นที่อยางสม่ําเสมอ นอกจากนั้นยังสามารถเปลี่ยนลักษณะการทํางานจากการ
กระจายกองหญาเปนรวมกองหญาใหเปนแถวได โดยการเปลี่ยนมุมหรือความเร็วของซี่เกลี่ย
และติดตั้งแผงผาใบรวมกองเพิ่มเติม
168

รูปที่ 5.16 เครื่องคราดแบบหมุนเหวี่ยงชนิดแกนหมุน 4 แกน

เครื่องคราดแบบหมุนเหวี่ยงชนิดแกนหมุน 4 แกน
เครื่องคราดชนิดแกนหมุน 4 แกน (รูปที่ 5.16) นี้มีลักษณะคลายกับเครื่องคราด
ชนิดแกนหมุนเดี่ยว มักจะใชสําหรับการกระจายกองมากกวาเครื่องชนิดอื่นๆ แกนหมุนแตละ
แกนจะมีลอพยุงสําหรับรองรับน้ําหนัก จึงทําใหการกระจายและพลิกกองหญาไดดี ถึงแมวาพื้นที่
ที่ทํางานจะเปนที่ขรุขระ หรือไมเรียบ นอกจากนั้นถาแกนหมุนมีจํานวนมากขึ้น ความกวางหรือ
หนากวางของงานก็เพิ่มขึ้น การกระจายกองหญาจึงรวดเร็ว เกษตรกรจึงมักจะนําไปใชในการ
กระจายหญามากกวาการรวมกองแถวหญา ทั้งนี้ในขณะเดินทางตองพับขึ้นในตําแหนงขนยาย
ถายิ่งมีแกนหมุน 6 แกน หนากวางของการทํางานก็ยิ่งเพิ่มขึ้น การเดินทางก็ยิ่งตองระมัดระวัง
มากขึ้น

รูปที่ 5.17 เครื่องคราดแบบวงลอ

เครื่องคราดแบบวงลอ
เครื่องคราดแบบวงลอ (finger wheel rake) (รูปที่ 5.17) ประกอบดวยลอเกลี่ย 4-6 ลอ
ติดตั้งอยูในลักษณะซอนกัน จะมีซี่เกลี่ยติดอยูที่เสนรอบวงของวงลอ ซี่เกลีย่ จะสัมผัสกับดิน
อยางเบาๆ และเมื่อเคลื่อนที่ไปขางหนา ลอเกลี่ยจะหมุนดวยตัวเอง โดยไมอาศัยอุปกรณใน
169

การขับเคลื่อนอื่นชวย ซี่เกลี่ยจะเกลีย่ หญาไปขางหนาและสงออกทางดานขางเปนแถวขนานกับ


เพลาของลอเกลี่ย ลอเกลี่ยจะติดอยูกบั โครงอยางอิสระทําใหสามารถยืดหยุนไดในพื้นที่ขรุขระ
โดยไมกระแทกกับพื้นและสามารถเคลื่อนที่ในการทํางานไดเร็วประมาณ 8-15 กิโลเมตรตอ
ชั่วโมง เครื่องคราดแบบนีส้ วนใหญจะประกอบดวยชุดโครงหลักสองชุด วงลอจะอยูติดกับโครง
ทั้งสองชุดสามารถหมุนพลิกกลับขางได เพื่อเปลี่ยนลักษณะการทํางานจากการคราดรวมกอง
เปนการกระจายกองหรือพลิกกลับหญา ทําใหสะดวกในการทํางานยิ่งขึ้น นอกจากนั้นยัง
สามารถตั้งมุมของวงลอแตละวง หรือทั้งชุดได เครื่องคราดหญาแบบนี้เหมาะสําหรับรวมกอง
หญาเปนแถวเพื่ออัดฟอน เพราะหญาจะมวนรวมตัวกันเปนกอน อยางไรก็ตาม ถาหญามี
ปริมาณมากและความชื้นสูง การเคลื่อนยายเพื่อรวมกองไมคอยไดผล กองแถวหญาจะมวนเปน
เกลียว ซึ่งยากตอการกระจายกองภายหลัง

เครื่องอัดฟอนหญา
เครื่องอัดฟอนหญาใชในการเก็บหญาแหงหรือฟางซึ่งถูกตัด หรือกองเรียงไวเปนแถว
อยางมีระเบียบมาทําการอัดใหเปนรูปทรงตามตองการแลวอาจผูกมัดดวยเชือก หรือลวดก็ได
เพื่อไมใหฟอนหญาเสียรูปทรง เหมาะสําหรับการขนสงไปไกลๆ ความแนนของฟอนหญายิ่ง
มากเทาใดก็จะทําใหเปลืองเนื้อที่ในการขนสงและเก็บรักษานอยลง
ชนิดของเครื่องอัดฟอนหญา จําแนกตามลักษณะของฟอนหญาไดดังนี้
1. เครื่องอัดฟอนหญาแบบสี่เหลี่ยม
2. เครื่องอัดฟอนหญาแบบกลม
การเก็บหญาแหงแตละแบบมีขอไดเปรียบ เสียเปรียบกัน แลวแตความสะดวก ซึ่งแต
ละแบบมีรายละเอียดดังนี้

เครื่องอัดฟอนหญาแบบสี่เหลี่ยม
เครื่องอัดฟอนหญาแบบสี่เหลี่ยม (รูปที่ 5.18) เปนเครื่องที่อัดฟอนหญาใหออกมาเปน
รูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผาสะดวกในการจัดวางและการขนยาย ฟอนหญามาตรฐานจะมีขนาด 360
x 460 x 900 มิลลิเมตร และมีน้ําหนักระหวาง 15-25 กิโลกรัม ซึ่งเปนขนาดที่เหมาะสําหรับ
วัวนม จํานวน 4 -10 ตัว ความหนาแนนของฟอนหญาขึ้นอยูกับชนิดของพืช และความชื้น
ซึ่งมีคาระหวาง 80 - 220 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร โดยสามารถปรับความหนาแนนไดขณะ
อัดฟอน
สวนประกอบของเครื่องอัดฟอนหญาแบบสี่เหลี่ยม (รูปที่ 5.19)
1. อุปกรณยกหญา (pick up reel) ทําหนาที่ในการเกี่ยวเอาหญาที่ถกู ตัดวางกอง
ไวสงไปใหเกลียวลําเลียง ประกอบดวยซี่ยก (tine) ซึ่งจะหมุนดีดเอาหญาขึ้นไปวางบนแผน
แซะ (stripper plate) แลวหมุนสงไปยังเกลียวลําเลียง อุปกรณยกหญาจะตองมีความกวาง
เพียงพอสําหรับแถวหญาทีก่ องไวแลว และปรับความสูงได เพื่อใหสามารถทํางานในสภาพที่
170

แตกตางกันได โดยไมทําใหซี่ยกขูดกับพื้นดิน และเกิดความเสียหาย การทํางานที่เผอเรอปลอย


ใหวัสดุแปลกปลอมปะปนเขาไปกับหญา จะทําความเสียหายแกเครื่องและเปนอันตรายตอสัตว
จึงมีการติดคลัตชนิรภัยเขาที่เพลาขับดวย

รูปที่ 5.18 เครื่องอัดฟอนหญาแบบสี่เหลีย่ ม


2. เกลียวลําเลียง (feeder auger) เปนเกลียวลําเลียงสําหรับสงหญาที่มาจาก
อุปกรณยกหญาไปใหสอมปอน (packer arm) เพื่อสงเขาสูหองอัด (bale chamber) ในขณะ
ทํางานตองปรับใหตําแหนงของเกลียวลําเลียงสอดคลองกับปริมาณที่จะปอนเขาหองอัด
3. สอมปอน (packer arm ) เปนตัวเกลี่ยหญาเขาสูห องอัด เคลื่อนที่ดวยขอ
เหวี่ยงเกลีย่ หญาที่สงมาจากเกลียวลําเลียงเขาไปในหองอัด ในขณะทํางานตองปรับใหชว งชัก
หรือการหมุนสัมพันธกับจังหวะอัดของลูกสูบ และตองเกลี่ยหญาเขาหองอัดอยางสม่ําเสมอ
ตลอดความกวางของหองอัด

รูปที่ 5.19 สวนประกอบของเครื่องอัดฟอนหญาแบบสี่เหลี่ยม


171

4. ลูกสูบอัด (ram) เปนตัวกระทุงหรืออัดโดยเคลื่อนที่ไปขางหนาและถอยหลัง


สัมพันธกับการเคลื่อนที่ของสอมปอน ในตําแหนงที่ลูกสูบอัดถอยหลังสอมปอนจะอยูใน
ตําแหนงที่เกลี่ยหญาเขาสูห องอัด เมื่อสอมปอนหญาหมุนตัวขึน้ แลวออกไป ลูกสูบอัดจะ
เคลื่อนที่ไปขางหนาทําการอัดหญาเขาไป โดยหญาที่อัดจะถูกตัดดานขางดวยใบมีดซึ่งติดอยู
ดานขางของลูกสูบอัด โดยมีแผนรับการเฉือนในหองอัดเปนตัวรองรับการตัด
5. อุปกรณมัดฟอน (tying mechanism) เปนอุปกรณสําหรับมัดฟอนหญาที่ถูก
อัดจนแนนพอแลว โดยมีเข็ม (needle) เปนตัวสอดเชือกและลวดขึ้นมาแลวทําการผูกโดย
ทํางานพรอมกัน 2 ตัว มีอยู 2 แบบ คือ

รูปที่ 5.20 การขมวดปมมัดเชือก


5.1 การผูกดวยเชือก (twine knotter) (รูปที่ 5.20) ปลายเชือกจะถูกจับยึด
ไวดวยจานจับ (twine holder) พาดผานนิ้วผูก (bill hook) และรองนําบนแขนจับใบมีดตัดไปยัง
เข็ม เมื่อหญาไดฟอนยาวตามตองการแลว เข็มจะสอดเชือกอีกปลายหนึ่งพาดผานรองนําบน
แขนจับใบมีดตัด ผานนิ้วผูก และจานจับจะจับเชือกทั้งสองรวมกัน หลังจากนั้นนิ้วผูกจะหมุน
เพื่อพันเชือกรอบตัวเองหนึ่งรอบแลวอาปากจับปลายเชือกทั้งสองเขาดวยกัน ในขณะที่จานจับ
เริ่มหมุนพาดเชือกผานใบมีดเพื่อตัดเชือกใหขาดติดอยูก ับปากของนิ้วผูก แขนจับใบมีดจะ
เคลื่อนออกเพื่อดึงเชือกที่พันรอบนิ้วผูกออกมาผูกเปนปม และขณะที่เข็มเริ่มเคลื่อนที่กลับจะ
พาดเชือกไวกบั จานอีกรองหนึ่งเพื่อผูกฟอนตอไป
5.2 การมัดดวยลวด (wire twister) (รูปที่ 5.21) มีขั้นตอนการมัดเริ่มจาก
ผูกปลายลวดดานหนึ่งไว เมื่อฟอนหญาเริ่มถูกอัด ลวดจะพาดรอบทั้งสองดานของฟอนหญา
เอาไวจนฟอนหญาไดความความยาวตามตองการ เข็มจะนําลวดอีกปลายขางหนึ่งสอดขึ้นมา
จับคูกันไวขณะที่นิ้วบิด (twister hook) จะเริ่มหมุนและเมื่อนิ้วบิดหมุนหนึ่งรอบ ลวดทั้งสอง
ปลายจะถูกตัดใหขาดติดอยูกับนิ้วบิด จากนั้น เข็มจะดึงลวดออกโดยปลายดานหนึ่งถูกจับไว
เพื่อมัดฟอนตอไป ขณะที่นิ้วบิดจะหมุนตอไปอีกหารอบเพื่อบิดปลายลวดทั้งสองใหติดกัน เมื่อ
หญาฟอนตอไปถูกอัดเขามาก็จะดันปลายลวดใหหลุดออกจากนิ้วบิด
172

รูปที่ 5.21 การบิดปมมัดลวด

การทํางานของเครื่องอัดฟอนหญาแบบสี่เหลี่ยม เริ่มจากหญาที่ถูกตัดและคราดมากอง
ไวเปนแถวอยางมีระเบียบ และมีความชืน้ ประมาณ 15-20 เปอรเซ็นต จะถูกซี่ยกเกี่ยวขึ้นมาสง
ใหเกลียวลําเลียง เพื่อรวมหญาแลวสงใหแขนสงหญา สงหญาเขาหองอัดในขณะที่ลูกสูบอัด
เคลื่อนที่ถอยหลัง จากนั้นลูกสูบจะอัดหญาเขาไปโดยมีใบมีดซึ่งอยูดานขาง ทําหนาที่ตัดขอบ
ฟอนฟางใหเรียบ ความหนาแนนของฟอนหญาถูกกําหนดโดยแผนคานกด (tension bars)
ที่ตั้งระยะหางได สวนขนาดของฟอนนั้นจะมีลอจักรหมุนอยูดานบนของฟอนเปนตัวกําหนด
ความยาวของฟอน ซึ่งก็สามารถตั้งไดโดยลอที่กําหนดความยาวนี้จะทํางานสัมพันธกับเข็ม
เมื่อฟอนหญาไดความยาวตามตองการแลว เข็มเสียบจะนําเชือกหรือลวดสอดขึ้นมาดานบนหา
อุปกรณในการมัดเพื่อมัดฟอนหญาใหแนน

เครื่องอัดฟอนหญาแบบกลม
เครื่องอัดฟอนหญาแบบกลม (รูปที่ 5.22) หรือเครื่องมวนหญาจะนําหญาที่ถูกตัดวาง
ไวเปนแถวมามวนเปนกอนกลม ซึ่งมีหลายขนาดตั้งแตขนาดเสนผาศูนยกลาง 0.9 เมตร กวาง
1.2 เมตร ถึงขนาดเสนผาศูนยกลาง 1.8 เมตร กวาง 1.5 เมตร มีความหนาแนนระหวาง 110-
120 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร มีน้ําหนักประมาณ 0.2-0.5 ตัน ขึ้นอยูกับขนาดของฟอนหญา
ใชงานงายและสามารถเก็บรักษาฟอนหญาเอาไวไดในพื้นที่ได เพราะรูปทรงที่กลมจะทําให
น้ําฝนไหลออกทางดานขางโดยไมซึมลงไปในฟอนหญา
173

รูปที่ 5.22 เครื่องอัดฟอนหญาแบบกลม


รูปทรงของฟอนหญาที่อัดไดจะขึ้นอยูกับลักษณะของหญาที่กองเอาไว และความ
ชํานาญของเกษตรกรในการควบคุมเครือ่ ง ถาควบคุมไมถูกตอง ฟอนหญาที่อัดไดอาจจะไมเปน
รูปทรงกระบอก ทําใหหญาที่พันไวหลุดออกไดงาย ทั้งนี้หญาที่อัดควรมีความชื้นนอยกวาหญาที่
อัดแบบฟอนสี่เหลี่ยม เพราะขนาดของฟอนหญาที่ใหญขึ้นอาจจะทําใหเกิดความรอนขึ้นที่กลาง
ฟอน หญาก็จะเสียหายได ปจจุบันเครื่องแบบนี้มีอยู 2 แบบ
2.1 แบบหองอัดคงที่ (fixed chamber) เปนแบบที่เสนผาศูนยกลางของหอง
คงที่ เมื่อหญาเขาไปในหองอัดก็จะกระจายกันอยูจนสัมผัสกับอุปกรณในการมวน หญาจะถูก
มวนและอัดตัวเปนฟอนกลมขึ้น อุปกรณในการมวนอาจจะเปนแบบลูกกลิ้ง (roller) แบบโซและ
คาน (chain and slate) หรือแบบสายพาน (belt) ซึ่งทําหนาที่มวนและอัดหญาจนเปนฟอนกลม
ผิวดานนอกของฟอนหญาที่ไดจากการอัดแบบนี้ จะมีความหนาแนนมากกวาตรงกลาง แตขนาด
ของฟอนหญาจะคงที่เทากับเสนผาศูนยกลางของหองอัด
2.2 แบบหองอัดขยายได (variable chamber baler) เปนแบบที่ฟอนหญาที่ได
จากการอัดมีความหนาแนนเทากันตลอดทั้งฟอน อุปกรณในการอัดฟอนแบบนี้เปนแบบ
สายพาน หรือโซและคาน ซึ่งสามารถขยายออกไดตามจํานวนของหญาที่ปอนเขาไป โดยหญาที่
ถูกปอนเขาไปจะถูกมวนเปนแกนเล็กๆทันที่ แลวโตขึ้นเรื่อยๆจนเต็มหองอัด
เครื่องอัดฟอนหญาแบบกลมประกอบดวยสวนตางๆ ดังนี้
1. อุปกรณในการยก (pick up mechanism)
2. อุปกรณในการมัด (twine assembly)
3. อุปกรณในการอัด (compressing mechanism)
174

รูปที่ 5.23 เครื่องอัดฟอนหญาแบบกลมขณะทํางาน


การอัดฟอนหญาแบบกลมจะตองปอนหญาเขาไปในหองอัดใหทั่วถึงตลอดความกวาง
ของหองอัดอยางสม่ําเสมอ โดยการขับเลี้ยวไปมาเปนระยะๆ ถาหากขับปอนหญาเขาไปเพียง
จุดใดจุดหนึ่งของความกวางหองอัดอาจจะทําใหรูปทรงของฟอนหญาออกมาคลายถังเบียร หรือ
เสนผาศูนยกลางดานหนึ่งของฟอนใหญกวาอีกดานหนึ่ง ดังนั้น ขณะทํางานจะตองขับปอน
หญาเขาตรงกลางบาง ดานซายบาง และขวาบาง จนไดฟอนหญาเต็มขนาดแลวจึงมัดฟอน
และปลอยออกทางดานหลัง ซึ่งในการปลอยฟอนหญาออกจะตองหยุดรถกอน ถาไมตองการ
เสียเวลาในการหยุดรถก็ใหขับขามทีว่ างระหวางแถวหญาแลวปลอยฟอนหญาออกตรงที่วาง
ระหวางแถวหญา หลังจากนั้นก็ยกหญาในแถวถัดไปขึน้ มาอัดฟอนตอ
175

บทที่ 6 เครื่องใสปุย
(Fertilizer Applicator)
176

บทนํา
ปุย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งใสลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงคใหปลดปลอยธาตุอาหารพืช
โดยเฉพาะไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ที่พืชยังขาดอยูใหพืชไดรับอยางเพียงพอ
เพื่อการเจริญเติบโตและใหผลิตผลสูงขึ้น
ปุยแบงออกเปนสองประเภทคือ ปุยอินทรีย และปุยเคมีหรือปุยวิทยาศาสตร
1. ปุยอินทรีย ปุยพวกนี้ ไดแก ปุยคอก ปุยหมัก ปุยพืชสด และวัสดุเหลือใชจากโรงงาน
อุตสาหกรรมบางชนิดซึ่งเปนพวกอินทรียสาร
ปุยคอกที่สําคัญก็ไดแก ขี้หมู ขี้เปด ขี้ไก ฯลฯ เปนปุยคอกที่นิยมใชกนั อยางแพรหลาย
ในบรรดาสวนผักและสวนผลไม ปุยคอกโดยทั่วไปแลวถาคิดราคาตอหนวยธาตุอาหารพืชจะมี
ราคาแพงกวาปุยเคมี แตปุยคอกชวยปรับปรุงดินใหโปรงและรวนซุย ทําใหการเตรียมดินงาย
การตั้งตัวของตนกลาเร็วทําใหมีโอกาสรอดไดมาก การใสปุยคอก หรือปุยอินทรียลงไปจะทําให
ดินไมอัดกันแนน ดินอุมน้ําและปุยไดดีขนึ้
ปุยคอกมีปริมาณธาตุอาหารไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม คอนขางต่ํา
โดยทั่วไปแลวก็จะมีไนโตรเจนประมาณ 0.5% N ฟอสฟอรัส 0.25% P2O5 และโพแทสเซียม
0.5% K2O
ปุยขี้ไกและขี้เปด จะมีปริมาณธาตุอาหารสูงกวาขี้หมู และขี้หมูจะปริมาณธาตุอาหารสูง
กวาขีว้ ัว และขี้ควาย ปุยคอกใหม ๆ จะมีปริมาณธาตุอาหารสูงกวาปุยคอกที่เกาและเก็บไวนาน
ทั้งนี้เนื่องจากสวนของปุยทีล่ ะลายไดงายจะถูกชะลางออกไปหมด บางสวนก็กลายเปนกาซสูญ
หายไปดังนั้นการเก็บรักษาปุยคอกอยางระมัดระวังกอนนําไปใช จะชวยรักษาคุณคาของปุยคอก
ไมใหเสื่อมคุณคาอยางรวดเร็ว
ปุยหมักไดแกปุยที่ไดจากการหมักเศษพืช เชน หญาแหง ใบไม ฟางขาว ฯลฯ ใหเนา
เปอยเสียกอน จึงนําไปใสในดินเปนปุย ปุยเทศบาลทีบ่ รรจุถุงขายในชื่อของปุยอินทรียเบอร
ตาง ๆ นั้น ก็คือปุยหมัก ไดจากการนําขยะจากในเมือง พวกเศษพืช เศษอาหารเขาโรงหมักเปน
ขั้นเปนตอนจนกลายเปนปุย ปุยหมักสามารถทําเองไดโดยการกองสุมเศษพืชสูงขึ้นจากพื้นดิน
30-40 ซม. แลวโรยปุยคอกผสมปุยเคมีสูตรเสมอ 15-15-15 ประมาณ 1-1.5 กิโลกรัม ตอเศษ
พืชหนัก 1,000 กิโลกรัม เสร็จแลวก็กองเศษพืชซอนทับลงไปอีกแลวโรยปุยคอกผสมปุยเคมี ทํา
เชนนี้เรื่อยไปเปนชั้น ๆ จนสูงประมาณ 1.5 เมตร ควรมีการรดน้ําแตละชั้นเพื่อใหมีความชุมชืน้
และเปนการทําใหมีการเนาเปอยไดเร็วขึ้น
กองปุยหมักนี้ทิ้งไว 3-4 สัปดาห ก็ทําการกลับกองปุย ครั้งหนึ่ง ถากองปุยแหงเกินไปก็
รดน้ํา ทําเชนนี้ 3-4 ครั้ง เศษพืชก็จะเนาเปอยเปนอยางดีและมีสภาพเปนปุยหมัก นําไปใชใสดิน
เปนปุยใหกับพืชที่ปลูกได เศษหญาและใบไมตาง ๆ ถาเก็บรวบรวมกองสุมไวแลวทําเปนปุย
หมัก จะดีกวาเผาทิ้งไป ปุยหมักจะชวยปรับปรุงดินใหมีคุณสมบัติทางฟสิกสดีขึ้นและปลูกพืช
เจริญงอกงามดีเปนอยางยิ่ง โดยเฉพาะพืชผักสวนครัว และไมดอกไมประดับ
177

ปุยพืชสดเปนปุยอินทรียที่ไดจากการปลูกพืชบํารุงดินซึ่งไดแก พืชตระกูลถั่วตาง ๆ
แลวทําการไถกลบเมื่อพืชเจริญเติบโตมากที่สุด ซึ่งเปนชวงที่กําลังออกดอก พืชตระกูลถัว่ ที่ควร
ใชเปนปุยพืชสดควรมีอายุสั้น มีระบบรากลึก ทนแลง ทนโรคและแมลงไดดี เปนพืชที่ปลูกงาย
และมีเมล็ดมาก ตัวอยางพืชเหลานี้ก็ไดแก ถั่วพุม ถั่วเขียว ถั่วลาย ปอเทือง ถั่วขอ ถั่วแปบ และ
โสน เปนตน
2. ปุยเคมี หรือปุยวิทยาศาสตร เปนปุยทีไ่ ดมาจากการผลิตหรือสังเคราะหทาง
อุตสาหกรรมจากแรธาตุตาง ๆ ที่ไดตามธรรมชาติ หรือเปนผลพลอยไดของโรงงานอุตสาหกรรม
บางชนิด ปุยเคมีมีอยู 2 ประเภท คือ แมปุย หรือปุยเดี่ยวพวกหนึ่ง และปุยผสมอีกพวกหนึ่ง
ปุยเดี่ยวหรือแมปุยไดแก ปุยพวกแอมโมเนียมซัลเฟต โพแทสเซียมคลอไรด ฯลฯ ซึ่ง
เปนสารประกอบทางเคมี มีธาตุอาหารปุย คือ N หรือ P หรือ K เปนองคประกอบอยูดวยหนึ่ง
หรือสองธาตุ แลวแตชนิดของสารประกอบที่เปนแมปุยนั้น ๆ เชน ปุยแอมโมเนียมซัลเฟต มี
ไนโตรเจน 20% N สวนโพแทสเซียมไนเทรต มีไนโตรเจน 13% N และโพแทสเซียม 46% K2O
อยูรวมกันสองธาตุ
ปุยผสมไดแก ปุยที่มีการนําเอาแมปุยหลาย ๆ ชนิดมาผสมรวมกัน เพื่อใหปุยที่ผสมได
มีปริมาณและสัดสวนของธาตุอาหาร N P และ K ตามที่ตองการ ทั้งนี้เพื่อใหไดปุยที่มีสูตรหรือ
เกรดปุยเหมาะที่จะใชกบั ชนิดพืชและดินที่แตกตางกัน ปุยผสมนี้มีขายอยูในทองตลาดทัว่ ไป
ปจจุบันเทคโนโลยีในการทําปุยผสมไดพัฒนาไปไกลมาก สามารถผลิตปุยผสมใหเขาเปนเนื้อ
เดียวกันอยางสม่ําเสมอ มีการปนเปนเม็ดขนาดสม่ําเสมอสะดวกในการใสลงไปในไรนา ปุยพวก
นี้เก็บไวนาน ๆ จะไมจับกันเปนกอนแข็ง สะดวกแกการนําไปใชปุยผสมประเภทนี้เรียกกันทั่ว ๆ
ไปวา ปุยคอมปาวด สวนการนําแมปุยมาผสมกันเฉย ๆ เพียงใหไดสูตรตามทีต่ องการ หรืออาจ
มีการบดใหละเอียดจนเขากันดียังคงเรียกวาปุยผสมอยูต ามเดิม ปจจุบันมีการนําเอาแมปุยที่มี
การปนเม็ดหรือมีเม็ดขนาดใกลเคียงกันมาผสมกันใหไดสูตรปุยตามที่ตองการ แลวนําไปใช
โดยตรงเรียกปุยชนิดนี้วา ปุยผสมคลุกเคลา (bulk blending)
ปจจุบันปุยเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหผลผลิตเพิ่มขึ้น เนื่องจากธาตุอาหารที่มีอยูในดินไม
เพียงพอตอความตองการของพืช ดังนั้น จึงมีการเติมปุยหรือธาตุอาหารตางๆ ลงไปในดินอยู
การใสปุยเหลานี้มีวิธีที่แตกตางกัน ขึ้นอยูกับรูปรางและลักษณะของปุยที่ใช
เครื่องใสปุยเปนเครื่องมือที่สําคัญ ซึ่งสามารถนําปุยที่มีปริมาณตามที่กําหนดไปสูพื้นที่ที่
ตองการอยางสม่ําเสมอ รวดเร็วและประหยัดแรงงาน การเลือกใชเครื่องใสปุยชนิดใดชนิดหนึ่ง
จึงมีสวนสําคัญที่ทําใหพืชไดรับธาตุอาหารจนผลผลิตเพิ่มขึ้น โดยทั่วไปเครื่องใสปุยแบงออกได
เปน 2 ชนิด ทั้งนี้ขึ้นอยูกับชนิดของปุยทีใ่ ชเปนสําคัญ คือ
1. เครื่องหวานปุย คอก (manure spreader)
2. เครื่องใสปุยเม็ด (fertilizer applicator)
178

เครื่องหวานปุยคอก
เนื่องจากของเสียที่ขบั ถายออกมาจากสัตวประกอบขึน้ ดวยของแข็งและของเหลวปนกัน
ดังนั้น เครื่องหวานปุยคอก (รูปที่ 6.1) จึงประกอบขึ้นดวยกระบะขนาดใหญ ซึ่งมีลักษณะเปนรถ
เทลเลอรที่อาศัยกําลังฉุดลากจากรถแทรกเตอรในการเคลื่อนที่ ภายในกระบะมีอุปกรณลําเลียง
ประกอบดวยโซและแผนเหล็ก สําหรับลําเลียงปุยคอกออกมายังทายกระบะซึ่งมีอุปกรณ
กระจายปุยติดตั้งอยู อุปกรณกระจายปุยนี้จะหมุนตีใหกระเด็นออกไปทางดานหลังของเครื่องใส
ปุย สําหรับกําลังที่ใชในการขับเคลื่อนลําเลียงและอุปกรณกระจายปุยคอก มีสวนประกอบ
สําคัญที่แตกตางออกไป คืออุปกรณลําเลียงปุยคอกทํางานโดยอิสระ เพียงแตยกกระบะใสปุย
คอกขึ้น โดยอาศัยกระบอกไฮดรอลิกที่อยูขางใตเทานั้น อุปกรณลําเลียงจะดันใหปุยคอก
เคลื่อนที่ไปสวนทายของกระบะ

รูปที่ 6.1 เครือ่ งหวานปุยคอก

เครื่องใสปุยเม็ด
ปุยเม็ดเปนทีน่ ิยมสําหรับการปลูกพืชทัว่ ไป เครื่องใสปุยที่ใชกับปุย ประเภทนี้ อาจจะ
เปนแบบที่หวานปุยออกไปบนพื้นที่เพาะปลูก หรือโรยไปตามรองพืชที่ปลูก โดยอาจจะติดไป
กับเครื่องปูลก หรือเปนเครื่องใสปุยอยางเดียว เครื่องใสปุยแบบนี้มี 2 ประเภทคือ
1. เครื่องหวานปุย เม็ด (fertilized distributor)
2. เครื่องโรยปุย
179

เครื่องหวานปุยเม็ด
เครื่องหวานปุย เม็ด (รูปที่ 6.2) ประกอบดวยถังใสปยุ (hopper) และจานหมุน
(spinning disc) ซึ่งไดรับกําลังมาจากเพลาอํานวยกําลัง เมื่อปุยตกจากถังใสปุยลงมาสูจานหมุน
แลวจะถูกเหวีย่ งออกไปสูพื้นดินเปนวงกวาง 5-10 เมตร

รูปที่ 6.2 เครือ่ งหวานปุยเม็ด

ปกติปุยที่หวานออกไปจะไมสม่ําเสมอตลอดทั้งวงกวาง ดังนั้น ควรจะหวานปุยให


เหลื่อมทับกัน (overlap) โดยการขับรถแทรกเตอร และหวานปุย ออกไปจนถึงรอยลอที่เกิดจาก
การหวานครั้งที่ผานไป

ปจจัยที่มีผลตอการหวานปุย มีดังตอไปนี้
1. อัตราการปอนปุยจากถังไปยังจานหมุน ซึ่งถูกควบคุมโดยแผนปรับ (adjustable
slide) ที่อยูที่กนกรวย
2. ความเร็วของจานหมุน ถาหมุนเร็วปุยที่หวานก็จะกระจายออกเปนวงกวาง แตทวา
อัตราการหวานจะต่ํา
3. ความเร็วของรถแทรกเตอร เมื่อรถแทรกเตอรเคลื่อนที่เร็วจะทําใหอัตราการหวาน
ปุยต่ํา
บริษัทผูผ ลิตเครื่องหวานปุยทุกบริษัทจะระบุอัตราการหวานปุยที่ระดับความเร็วของรถ
แทรกเตอรและความเร็วของเพลาอํานวยกําลังตางๆ รวมทั้งความกวางของชองเปดที่เกิดจาก
แผนปรับไวในหนังสือคูมือผูใชดวย แตอยางไรก็ตาม เนื่องจากปุยมีขนาดและมีเนื้อ (texture)
แตกตางกัน ดังนั้น ผูใชอาจจะปรับตั้งพิเศษเพิ่มขึ้นจากที่ระบุไวก็ได
สําหรับการติดเครื่องหวานปุยเขากับแขนพวง 3 จุดของรถแทรกเตอรนั้นควรจะปรับที่
แขนกลางและแขนขวา เพื่อทําใหเครื่องหวานปุยโดยเฉพาะจานเหวี่ยงอยูในแนวระดับขณะใช
งาน (รูปที่ 6.3) การกระจายชองปุยจะเกิดความสม่ําเสมอ
180

รูปที่ 6.3 การปรับตั้งเครื่องหวานปุยใหอยูในแนวระดับ

นอกจากจะใชเครื่องหวานปุย สําหรับหวานปุยแลว ยังสามารถที่ใชหวานเมล็ดหญาที่จะ


ปลูกหรือเมล็ดพืชอื่นๆ ไดอีกดวย แตถา ใชหวานเมล็ดก็ควรจะลดความเร็วของจานหมุนเพื่อลด
การแผกระจายลง ทั้งนี้เพราะเมล็ดมีความหนาแนนแตกตางกัน
ปกติบริษัทผูผ ลิตเครื่องหวานปุยจะแนะนําใหใชความเร็วของเพลาอํานวยกําลังซึ่งไป
ขับจานหมุนใหอยูคงที่ คือ 540 รอบตอนาที ดังนั้น อัตราการหวานปุยก็ทําไดโดยเพียงแตตงั้
แผนปรับ หรือความเร็วของรถแทรกเตอรเทานั้น
เมื่อความเร็วของเพลาอํานวยกําลังคงที่ การหวานปุยชนิดใดๆ ก็ตาม วงกวางของการ
กระจายปุยยอมจะคงที่

การตรวจสอบอัตราการหวานปุย มีวิธกี ารตางๆ ดังตอไปนี้


1. ตองแนใจวาเครื่องหวานปุยติดและตอกับเพลาอํานวยกําลังของรถแทรกเตอรอยาง
ถูกตอง โดยที่จานหมุนควรจะอยูในแนวระดับ
2. ใสปุยลงไปในถังใสปยุ ประมาณ 50 กิโลกรัม เกลี่ยใหอยูในแนวระดับและทํา
เครื่องหมายไว
3. ตั้งแผนปรับ
4. ถามีหนังสือคูมือก็ควรจะตั้งวงกวางของปุยที่จะหวานตามชนิดของปุยและความเร็ว
ของเพลาอํานวยกําลังที่แนะนําไว ถาหนังสือคูมือไมไดระบุไว ก็ควรจะตั้งโดยการขับรถ
แทรกเตอรทตี่ ิดเครื่องหวานปุยออกไปประมาณ 15 เมตร แลวหยุดตรวจสอบวงกวางของปุยที่
หวาน ถายังไมไดระยะก็ตงั้ เสียใหม
5. เลือกเกียรเดินหนาใหเหมาะสมกับอัตราเรงของน้ํามันที่ตั้งไว และใชความเร็ว
ประมาณ 6.5-8 กิโลเมตรตอชั่วโมง
6. ความเร็วเดินหนาทีต่ ั้งไวควรจะคลุมพื้นที่ 0.04 เฮกตาร ซึ่งเทากับระยะทาง
404.64 เมตร
วงกวางของปุยที่กระจาย(เมตร)
181

7. เติมปุยลงไปในถังใสปยุ ใหถึงระดับทีท่ ําเครื่องหมายไว แตตองชั่งน้ําหนักปุยกอน


นําน้ําหนักที่ชั่งไดนี้ไปคูณกับ 25 หรือ 10 โดยแลวแตวาจะเปนหนวยเมตริกหรืออังกฤษ คาที่
ไดออกมาจะเปนอัตราการหวานปุยตอเฮกตาร
จํานวนปุยที่ถกู หวานออกไปในพื้นที่ 0.04 เฮกตาร ในอัตราการหวานตางๆ กันจะมี
น้ําหนักดังตอไปนี้
125.5 กิโลกรัม/เฮกตาร = 5.2 กิโลกรัม
251 กิโลกรัม/เฮกตาร = 10.4 กิโลกรัม
376.5 กิโลกรัม/เฮกตาร = 15.6 กิโลกรัม
502 กิโลกรัม/เฮกตาร = 20.4 กิโลกรัม
627.5 กิโลกรัม/เฮกตาร = 20.6 กิโลกรัม
ปุยที่ใชทั่วๆ ไปมีคุณสมบัตกิ ัดกรอนโลหะที่เปนชิ้นสวนของเครื่องหวานปุย ถาไมมีการ
บํารุงรักษาทีด่ ี จะทําใหเครื่องหวานปุยสึกกรอนและมีอายุใชงานนอยกวากําหนด ดังนั้น จึง
จําเปนที่จะตองมีการบํารุงรักษาดังตอไปนี้
1. หยอดน้ํามันหลอลื่น และอัดน้ํามันจารบีชิ้นสวนที่เคลื่อนไหวทุกวัน
2. อยาทิ้งปุยใหอยูในถังใสปุยหลังเลิกงาน ถามีปุยเหลืออยูเหลืออยูก็ควรจะเทออกและ
ทาดวยน้ํามัน
3. หลังจากเลิกหวานปุยในฤดูปลูกแลว ก็ควรจะทําความสะอาดเครื่องหวานปุยทุกซอก
มุม และฉีดลางใหสะอาดดวยน้ํา
4. ทาน้ํามันกันสนิมกอนที่จะเก็บ
5. เก็บเครื่องหวานปุยไวในที่รม

เครื่องโรยปุย
เครื่องใสปุยแบบนี้ยังแบงออกไดอีกมี 2 แบบ
1. เครื่องโรยปุยเปนแถว (band fertilizer applicator)
2. เครื่องโรยปุยหนาดิน (full width fertilizer distributor)

เครื่องโรยปุย เปนแถว
เครื่องโรยปุยแบบนี้มีหลักการทํางานคลายกับเครื่องปลูกดวยเมล็ด คือ มีถังใส
ปุย อุปกรณกําหนดจํานวนปุย ทอนําปุย อุปกรณเบิกรอง และลอกลบดิน เครื่องใสปุยแบบ
นี้บางเครื่องติดอยูกับเครื่องปลูกหรือพรวน เพื่อที่จะไดทําการใสปุยไปพรอมกันกับการปลูก
หรือการพรวน อยางไรก็ตาม เครื่องใสปุยที่ดีจะตองใหปุยอยางสม่ําเสมอ ในปริมาณและ
ตําแหนงที่เหมาะสม กลาวคือ ถาใสปุยลงไปใกลกบั เมล็ดพืชก็จะชวยกระตุนการเจริญเติบโต
ของเมล็ดและตนออนไดอยางมีประสิทธิภาพ แตถาชิดเกินไปก็อาจจะทําอันตรายกับราก และ
ทําใหเปอรเซ็นตการงอกลดลงได สวนปุย ที่ใชอาจจะเปนเม็ด หรือผง สวนแบบที่ 2 นั้น เรียกวา
182

เครื่องโรยปุยหนาดิน (full width fertilizer distributor) ซึ่งประกอบดวยถังใสปุยที่มีความยาว


ประมาณ 2.5-3.5 เมตร มีชองเปดเปนระยะๆ อยูกนถัง และถูกควบคุมโดยคันโยกหรือเชือกดึง
สวนปลายทั้งสองของถังใสปุยมีลอ 2 ขางรองรับไว โดยจะทําหนาที่เปนลอขับอุปกรณกําหนด
ปริมาณปุย (metering device) ดวย เครื่องโรยปุยหนาดินนี้ บางครั้งก็สามารถนําไปใชโรยปูน
เชน พวกหินปูน (CaCO3) หินโดโลไมต [Ca Mg (CO3)2] และ ปูนมารล (marl) เพื่อปรับสภาพ
ของดินที่เปนกรด

เครื่องโรยปุย หนาดิน
เครื่องโรยปุยหนาดินใน (รูปที่ 6.4) เปนแบบทีถ่ ูกลากโดยรถแทรกเตอร จะ
ปรับอัตราการโรยปุยทําไดโดยตรงที่คันโยกปรับชองจายปุย

รูปที่ 6.4 เครือ่ งโรยปุยหนาดิน

สวนประกอบที่สําคัญที่สุดของเครื่องโรยปุยก็คือ อุปกรณกําหนดจํานวนปุย ซึ่งมีหลาย


แบบ แตละแบบถูกออกแบบมาใหโรยปุยไดอยางสม่ําเสมอไมวาจะเปนปุยชนิดไหน สําหรับ
กําลังที่ใชขับหมุนนั้นก็ไดมาจากลอที่สัมผัสดิน

รูปที่ 6.5 อุปกรณกําหนดจํานวนปุยแบบใบจักร


183

อุปกรณกําหนดจํานวนปุยบางชนิดจะมีลักษณะคลายใบจักร (edge-cell vertical rotor)


(รูปที่ 6.5) โดยมีสวนเวาทําหนาที่จับเม็ดปุย ใหเคลื่อนที่ขึ้นไปในแนวดิ่ง และปลอยใหตกลง
ไปในทอนําปุย ที่อยูสวนลางของถังเก็บ สวนการควบคุมอัตราการโรยปุยนี้ทําไดโดยการเปลี่ยน
ขนาดของใบจักร และเปลี่ยนความเร็วที่ใบจักรนี้หมุน

รูปที่ 6.6 อุปกรณกําหนดจํานวนปุยแบบเกลียวลําเลียง

อุปกรณกําหนดจํานวนปุยอีกชนิดหนึ่งจะมีลักษณะเปนเกลียวลําเลียง (auger type)


(รูปที่ 6.6) ซึ่งหมุนอยูในทอโดยมีระยะหางระหวางใบเกลียวกับทอพอสมควร อุปกรณกําหนด
จํานวนปุยชนิดนี้สามารถสงปุยออกมาไดมากตอรอง โดยจะพาออกไปยังชองเปด และปลอยให
รวงลงสูทอออก นอกจากนั้น ภายในถังปุยยังมีตัวกวน (agitator) ที่หมุนกวนไมใหเม็ดปุยจับตัว
กันแนน ทําใหปุยเคลื่อนทีไ่ ดสะดวก สวนอัตราการโรยปุยของอุปกรณชิดนี้ขึ้นอยูกับความเร็ว
ของเกลียวลําเลียง และความเร็วของลอของเครื่องโรยปุย
184

บทที่ 7 เครื่องเกี่ยวนวดขาว
(Rice combine harvester)
185

บทนํา
ขาวเปนพืชเศรษฐกิจของประเทศไทยทีป่ ลูกกันมานานและนับวันก็จะยิ่งตองเพิ่ม
ผลผลิตใหมากขึ้น เนื่องจากประชากรที่บริโภคขาวเปนอาหารหลักมีจํานวนมากขึ้น ในขณะที่
การขยายตัวทางดานอุตสาหกรรมก็เพิ่มมากขึ้นดวย ทําใหเกิดปญหาขึ้นโดยเฉพาะการเก็บ
เกี่ยว จึงมีการนําเครื่องทุนแรงเขามาใชมากขึ้น เพราะปญหาการขาดแคลนแรงงานและคาจาง
แรงงานที่สูงขึ้น และเนื่องจากขาวเปนพืชอายุสั้นเมื่อถึงฤดูเก็บเกี่ยวก็จะตองเก็บเกี่ยวใหทนั
ไมเชนนั้นก็จะทําใหเกิดความเสียหายขึ้นได ประมาณวาการเก็บเกี่ยวและนวดขาวจะมีการ
สูญเสียระหวาง 3-13 เปอรเซ็นต แลวแตวิธีการทีใ่ ชในการเก็บเกี่ยว
การเพิ่มผลผลิตขาวจากพืน้ ที่นาที่มีอยูจํากัดนั้น เกษตรกรสวนใหญจะเลือกวิธปี ลูกขาว
พันธุใหมๆทีใ่ หผลผลิตตอไรสูง หรือการทํานามากกวาหนึ่งครั้งตอป รวมทั้งการนําเอา
เทคโนโลยีใหมๆ เขามาชวย แตยิ่งผลิตมากก็ยิ่งมีปญหาในการเก็บเกี่ยวเนื่องจากเก็บเกี่ยวไม
ทันตามกําหนดเวลาจึงเกิดการสูญเสียขึน้ จึงมีการนําเครื่องมือเก็บเกี่ยวเขามาใชในการชวย
แกปญหาดังกลาว โดยจะตองคํานึงถึงความสามารถในการลดแรงงานลง หรือสามารถลดการ
สูญเสียจากการลวงหลนและการแตกหักลงได โดยเฉพาะอยางยิ่งความสามารถในการเก็บเกี่ยว
ไดอยางมีประสิทธิภาพ และทันตามกําหนดเวลา
การใชเครื่องจักรในการเก็บเกี่ยวขาวจะชวยใหเกษตรกรทํางานไดรวดเร็วขึ้น สามารถ
ทําการเก็บเกีย่ วไดทันทีเมื่อเมล็ดขาวแกเต็มที่ ซึ่งจะชวยลดการรวงหลนของเมล็ดที่แกจัด
นอกจากนี้ เครื่องจักรยังชวยลดตนทุนในการผลิตขาว โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีคา จางแรงงานสูง
และไมสามารถหาแรงงานมาชวยในฤดูเก็บเกี่ยวได
เครื่องเกี่ยวนวดขาวที่นิยมใชกันมากในปจจุบันไดผานการพัฒนามาอยางตอเนื่อง
ตั้งแตการเกี่ยวขาวดวยแรงคนจนถึงเครื่องเกี่ยว หลังจากนั้นก็นําตนขาวที่ไดไปนวดเอาเมล็ด
ออกจากรวงขาว ในขณะเดียวกันสิ่งสกปรกที่เจือปนอยูก็จะถูกพัดลมเปาออกไปจนเหลือแต
เมล็ดที่สะอาด

การเกี่ยวขาว
ระยะเวลาเก็บเกี่ยวขาวเปนปจจัยที่สําคัญในการผลิตขาว ระยะเวลาทีเ่ หมาะสม คือ 28-
30 วันหลังวันออกดอก ขาวที่ไดจะมีคุณภาพดี การเก็บเกี่ยวเร็วเกินไปจะทําใหเมล็ดขาวมี
น้ําหนักเบาเพราะการสะสมแปงไมเต็มที่ เมื่อนําไปสีคุณภาพการสีก็ต่ํา นอกจากนั้นเมล็ดยัง
เขียว ออน หักปนงาย แตถาเก็บเกี่ยวชาเกินไป เมล็ดขาวก็จะรวงหลนในนา เพราะขาวแหง
กรอบ นก หนู และแมลงเขาทําลาย คุณภาพการสีไมดี เพราะเมล็ดแตกราว
186

การเกี่ยวขาวโดยใชแรงคน
ในประเทศไทยเกษตรกรในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง
ใชเคียวในการเกี่ยวขาว โดยเกี่ยวทีละหลายๆ รวง สวนเกษตรกรในภาคใตใชแกระในการเก็บ
เกี่ยวทีละรวง
เคียวที่ใชในการเก็บเกีย่ วมีอยู 2 ชนิด ไดแก เคียวนาสวนและเคียวนาเมือง (รูป
ที่ 7.1) เคียวนาสวนเปนเคียววงกวาง ใชสําหรับเกี่ยวขาวที่ปลูกแบบปกดํา สวนเคียวนาเมือง
เปนเคียววงแคบและมีดามยาวกวาเคียวนาสวน ใชเกี่ยวขาวที่ไมจําเปนตองมีคอรวงยาว เมื่อ
เกี่ยวขาวไดเต็มกําก็จะวางเรียงรวงขาวไวบนตอซัง เพื่อตากแดดใหแหงประมาณ 3-5 วัน สวน
ขาวที่ปลูกแบบหวานนั้น พื้นนาจะแหงในระยะเก็บเกีย่ ว ขาวจึงถูกกองไวบนพืน้ นาประมาณ
5-7 วัน หลังจากนั้น จึงขนมาที่ลานสําหรับนวด สวนการใชแกระเกี่ยวขาวซึง่ มีลักษณะเปน
ใบมีดเล็กๆมีที่จับที่ถูกออกแบบมาใหจับไดถนัดเวลาเกี่ยวขาว ขาวทีเ่ กี่ยวจะตองเปนขาวทีม่ ี
คอรวงยาว เพราะเกษตรกรจะเกี่ยวทีละรวง แลวมัดเปนกําๆ นําไปแขวนตากไวในบานหรือ
เก็บไวในยุงฉางซึ่งโปรง มีอากาศถายเทไดสะดวก เมื่อตองการขายหรือสีเปนขาวสารจึงจะ
นําไปนวด

รูปที่ 7.1 เครือ่ งมือเกี่ยวขาว


สวนแรงงานทีใ่ ชในการเกี่ยวขาวอาจจะมาจากเจาของนา และการลงแขกที่เพื่อนบานมา
ชวยเกี่ยวจนแลวเสร็จ เจาของนาที่เกี่ยวเสร็จแลวจะตองตอบแทนโดยการไปชวยเพื่อนบาน
ที่มาชวยเกีย่ วจนครบ ไมมีการคิดคาจางเปนการแลกแรงงานกัน นอกจากนั้นก็มีการจางเกี่ยว
โดยคิดเปนไร คนหนึ่งจะใชเวลา 2 วัน จึงจะเกี่ยวขาว 1 ไรเสร็จ

การเกี่ยวขาวโดยใชเครื่องเกี่ยว
การเกี่ยวขาวนาปแตเดิมนั้นสวนใหญมักจะไมมีปญหาการขาดแคลนแรงงาน และ
ปญหาการสูญเสียเนื่องจากความชื้นสูง เพราะเปนการเก็บเกี่ยวนอกฤดูฝน แตพื้นที่ในเขตภาค
กลางหรือเขตพื้นที่ชลประทาน ซึ่งสามารถทํานาครั้งที่ 2 หรือทํานาปรัง มักจะมีปญหาเรื่องขาด
แคลนแรงงานเกิดขึ้นเสมอ ดังนั้นจึงมีการนําเอาเครื่องจักรกลการเกษตรมาใชทุนแรงโดยเฉพาะ
เครื่องเกี่ยวขาว
187

เครื่องเกี่ยวขาวที่ไดมแี นะนําและสงเสริมใหใชในประเทศไทย สามารถแบงไดตาม


ลักษณะการทํางานคือเครื่องเกี่ยววางราย (Reaper) และเครื่องเกี่ยวมัดฟอน (Binder)

เครื่องเกี่ยววางราย
การเกี่ยววางรายกอนทําการนวดเปนที่นิยมกระทํากันในบางทองที่ เครื่อง
เกี่ยววางราย (รูปที่ 7.2) เปนเครื่องมือเก็บเกี่ยวที่ทําหนาที่ตัดตนขาวใหขาดแลวลําเลียงขาวที่
ตัดแลวไปวางไวทางดานขางเปนแถวยาว อยูบนตอซังซึ่งถูกตัดเหนือพื้นดินพอประมาณ เพื่อ
ปลอยใหอากาศไหลเวียนไดสะดวก และชวยลดความชื้นของเมล็ดขาวใหเร็วขึน้ แตก็มีขอเสีย
ที่จะทําใหเกษตรกรเสียเวลาในการรวบรวมและมัดฟอนขาวทีเ่ กี่ยวแลว เครื่องเกี่ยววางรายสวน
ใหญจะเปนแบบเดินตามและใชคนบังคับทิศทางในการทํางาน มีทั้งแบบติดเครื่องยนตเฉพาะ
และแบบตอกับเครื่องของรถไถเดินตาม แตแบบติดเครื่องยนตเฉพาะเปนทีน่ ิยมใชมากกวา
เพราะมีน้ําหนักเบา และควบคุมไดงายในสภาพพื้นที่นา โดยมีความกวางในการทํางาน
ประมาณ 1.2 – 1.6 เมตร สามารถทํางานไดประมาณ 1-3 ไรตอชั่วโมง ขึ้นอยูกับความเร็วใน
การทํางานและสภาพของขาวที่ทําการเกีย่ ว โดยทั่วไปจะทําการเกี่ยวขาวที่มีความสูงระหวาง
60-120 ซม. โดยตนขาวควรตั้งตรงหรือเอียงไปจากแนวตั้งไมเกิน 30 องศา สามารถทํางานได
ทั้งในนาที่แหงและนาที่มีนา้ํ ขัง ถาเก็บเกี่ยวขาวเมื่อขาวมีความชืน้ ระหวาง 20-25 เปอรเซ็นต
จะมีการสูญเสียเมล็ดขาวประมาณ 1 เปอรเซ็นต แตถาปลอยใหขา วแหงเกินไปจนลําตนเอียง
หรือลมมากจะทําใหการสูญเสียเพิ่มขึ้นถึง 10 เปอรเซ็นต

รูปที่ 7.2 เครือ่ งเกี่ยววางรายจากประเทศญี่ปุน (คูโบตา)

เครื่องเกี่ยววางรายโดยทั่วไปจะประกอบดวยสวนสําคัญ ดังนี้
1. อุปกรณแบงแถวพืชและยกตนขาว (divider and pickup device) มีลักษณะ
เปนแผนเหล็กรูปสามเหลีย่ ม โดยมีปลายแหลมอยูดานหนาแลวเอียงขึ้นไปขางหลัง เพื่อทํา
หนาที่แบงขาวในแปลงใหเปนสวนๆ แลวยกขาวใหตั้งขึ้นและรวมเขาไปหาใบมีดตัด โดยมีลอ
188

เฟองที่มีลักษณะเปนรูปดาวทําหนาที่โนมตนขาวเขาไปใหใบมีดทําการตัดแลวสงตอไปใหโซ
ลําเลียง ลอเฟองจะถูกขับโดยซี่ฟนเหล็กที่ติดอยูกับโซลําเลียง
2. อุปกรณในการตัด (cutting device) ประกอบดวยใบมีดแบบเคลื่อนที่ไปมา
ซึ่งจะทําหนาที่ตัดสวนโคนของตนขาวทีร่ วมสงมาใหโดยลอดาว
3. อุปกรณลําเลียง (conveying device) ทําหนาที่ลําเลียงขาวทีต่ ัดแลวใหเคลื่อน
ไปดานขางแลวปลอยวางกองเอาไวเปนแถว อุปกรณในการลําเลียงจะประกอบดวย โซ หรือ
สายพานลําเลียงสองชุด ดานบนหนึ่งชุดและดานลางหนึ่งชุด มีซี่เหล็กติดอยูทําหนาที่จับตน
ขาวใหเคลื่อนไปตามโซหรือสายพาน นอกจากนั้น ยังมีลวดสปริงดานหนาชุดลําเลียงทําหนาที่
ประคองตนขาวที่ถูกตัดแลวไมใหลมในขณะที่ลําเลียงไปทางดานขาง
เครื่องเกี่ยววางรายจะทําการเก็บเกีย่ วขาวแลวลําเลียงออกไปวางกองไวเปนแถว
ทางดานขวาของเครื่อง ดังนั้น ในการทํางานจึงตองทํางานวนซายไปเรื่อยๆ โดยสามารถปรับ
ใหตัดขาวไดสงู ตั้งแต 8 - 40 เซนติเมตร แลวตากขาวเอาไวในพื้นทีใ่ หความชื้นลดลงจน
เหมาะสมกับการนวดแลวจึงจะนําไปทําการนวดตอไป
แนวทางในการใชเครื่องเกี่ยววางรายใหมีประสิทธิภาพในการทํางานสูงขึ้นมีดังนี้
1. เครื่องเกี่ยววางรายเหมาะกับสภาพพื้นดินที่แหง
2. ตนขาวควรเปนตนขาวตั้งตรง หรือลมไมเกิน 45 องศา พันธุขาวที่เหมาะสม
ควรเปนเชนพันธุ กข. หรือพันธุพื้นเมือง แตตนจะตองตั้งตรง เนื่องจากเครื่องเกี่ยวไมสามารถ
เกี่ยวขาวลมได
3. เตรียมเครื่องเกี่ยววางรายใหมีความสูงเหมาะกับสภาพงานและผูขบั
4. ตรวจสอบและปรับตั้งจุดตาง ๆ ของเครื่องเกี่ยวขาววางรายใหถูกตอง
5. เกี่ยวขาวใหเหมาะสมกับอายุ มิฉะนั้นเมล็ดอาจตกหลนเสียหายมากเกินไป
6. เครื่องเกี่ยววางรายจะชนกับหัวแปลงเสียหายไดงาย ดังนั้น ควรระมัดระวัง และ
ใชความเร็วต่าํ โดยเฉพาะกับพื้นที่เกี่ยวแปลงเล็ก ๆ
7. ในชวงเวลาเก็บเกี่ยว แปลงที่จะเก็บเกีย่ วควรจะเรียบและแหง ในกรณีที่
สามารถระบายน้ําไดดี ควรระบายน้ําออกลวงหนาประมาณ 10-15 วัน กอนการเก็บเกี่ยวเพื่อให
พื้นแปลงแหง ทําใหการบังคับเครื่องเกี่ยวและการเก็บขาวงายขึ้น
8. รอบบริเวณแปลงเก็บเกีย่ ว ควรเกี่ยวดวยเคียวใหหางจากขอบแปลงประมาณ
75 ซม. เพื่อชวยการวางรายของรวงขาวเปนระเบียบ และจะชวยในการหอบขาวงายขึ้น และจะ
ลดการตกหลนของรวงขาว
9. การใชเครื่องเกี่ยวขาวขณะความชื้นของเมล็ดขาวประมาณ 20-25% ขาวจะรวง
หลนนอย
10. บริเวณหัวมุมแปลง ควรเกีย่ วดวยเคียวประมาณ 3 × 3 ม. เพื่อชวยในการเลี้ยว
บริเวณหัวงานไดสะดวกขึน้ ทําใหประสิทธิภาพการทํางานของเครื่องเกี่ยวสูงขึ้น เพราะไมตอง
กลับรถหลายครั้ง
189

11. เวลาเก็บเกี่ยวอยาปลอยใหขาวแกจนเกินไป เพราะจะทําใหเมล็ดขาวรวงหลน


เสียหายเมื่อใชเครื่องเกี่ยววางราย
12. การเกี่ยวขาวที่ปลูกดวยวิธกี ารปกดํา จะทําใหประสิทธิภาพการทํางานของ
เครื่องเกี่ยวขาวดีกวาการปลูกดวยวิธีหวาน

เครื่องเกี่ยวมัดฟอน
เครื่องเกี่ยวมัดฟอน (รูปที่ 7.3) เปนเครื่องเกี่ยวขาวอีกชนิดหนึ่งที่ตัดตนขาว
แลวรวมเปนกํา มัดใหเปนฟอนขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณ 10 เซนติเมตร ดวยเชือกโดย
อัตโนมัติ หลังจากมัดแลวใบมีดจะตัดเชือกออกและทิ้งฟอนขาวใหวางเรียงบนดิน เครื่องเกี่ยว
มัดฟอนมีทั้งแบบตัดแถวเดียวและแบบตัดสองแถว มีความกวางในการทํางาน 30-60
เซนติเมตร ตนขาวจะถูกตัดเกือบชิดดินจึงทําใหตน ขาวทีต่ ัดไดมีขนาดยาว เปนอุปสรรคกับการ
นวด เพราะมีฟางมากเกินไป เครื่องเกี่ยวมัดฟอนสามารถเกี่ยวขาวที่ลมลง 85 องศาได โดยที่
แบบตัดสองแถวมีความสามารถในการทํางาน 0.5 – 1 ไรตอชั่วโมง ขึ้นอยูกับความเร็วในการ
ทํางานและสภาพของตนขาวที่ทําการเก็บเกี่ยว โดยปกติตนขาวทีเ่ กี่ยวจะมีความสูง 55 -120
เซนติเมตร จากการศึกษาประสิทธิภาพในการทํางานจะมีการสูญเสียในการเก็บเกี่ยวประมาณ
3.9 เปอรเซ็นต เครื่องเกี่ยวมัดฟอนมีสวนประกอบหลักดังนี้

รูปที่ 7.3 เครือ่ งเกี่ยวมัดฟอน 2 แถว


190

1.ระบบถายทอดกําลัง (power train) กําลังจากเครื่องยนตจะถูก


ถายทอดใหกับชุดยกตน ชุดใบมีด ชุดลําเลียงและสวนที่ทําการมัดฟอน โดยมีสายพานเปนตัว
ถายทอดกําลังไปยังเกียร และอาศัยระบบคลัตชเปนตัวตัดตอกําลัง
2. สวนที่ทําหนาที่ขับเคลื่อน (locomotion unit) ลอ 2 ลอ จะทําหนาที่
ขับเคลื่อน ลอสวนใหญจะมีขนาดเทากับลอของรถแทรกเตอรขนาดเล็ก ทั้งนี้เพื่อประโยชนของ
การทรงตัว และความคลองตัวในการวิ่งบนแปลงนาที่เปนโคลน เครื่องเกี่ยวมัดฟอนสวนมาก
จะมีความเร็วเปน 3 ระดับ คือ ความเร็วต่ํา ความเร็วสูง และความเร็วทีใ่ ชวิ่งบนถนน
3.อุปกรณในการแบงและยกตนขาว (divider and pickup device) จะ
วางอยูดานหนาของอุปกรณในการตัดและเปนสวนแรกที่สัมผัสกับตนขาว ทําหนาที่แบงตนขาว
ออกเปนสวนๆ พรอมกับยกตนขาวที่ลมและพันกันใหตั้งขึ้นเปนแถว แลวสงใหนิ้วประคองตน
ซึ่งติดอยูบนโซที่วางเอียงขึน้ ไปทางดานหลัง ทําหนาที่ยกตนขาวสงใหกับใบมีดเพื่อตัดตนขาว
แลวสงตนขาวใหกับอุปกรณลําเลียง ในขณะเดียวกัน นิ้วประคองตนจะพับตัวเพือ่ ปลอยตนขาว
ใหอุปกรณลําเลียงโดยไมเกิดการรวงหลนของเมล็ด
4.อุปกรณในการตัด (cutting device) อุปกรณในการตัดสวนใหญใช
แบบใบมีดเคลื่อนที่ไปมา โดยที่ใบมีดจะเคลื่อนที่กลับไปกลับมาบนใบมีดที่ติดอยูกบั ที่โดยอาศัย
คันชัก (pitman) ซึ่งจะเปลี่ยนการเคลื่อนที่แบบหมุนเปนแบบกลับไปกลับมา ความเร็วของ
ใบมีดจะตองสัมพันธกับความเร็วในการเคลื่อนที่ โดยสัดสวนระหวางความเร็วของใบมีดกับ
ความเร็วในการเคลื่อนที่ของเครื่อง จะตองมีคามากกวา 1 จึงจะสามารถตัดตนขาวใหขาดได
5.สวนที่ทําหนาที่ลําเลียง (conveying unit) ทําหนาที่ลําเลียงตนพืชทีถ่ ูก
ตัดใหไปรวมทางดานขางที่มีอุปกรณในการมัดเพื่อรวมเปนฟอน อุปกรณลําเลียงจะ
ประกอบดวย โซ สายพาน ซึ่งวางอยูดานหลังของโซยกตน แตเคลือ่ นที่ในแนวระดับขวางกับ
ทิศทางการเคลื่อนที่ของเครือ่ ง เพื่อเคลื่อนตนขาวที่รวมกันเปนฟอนออกไปดานขวาของเครื่อง
6.อุปกรณในการมัดฟอน (binding device) ตนพืชที่ถูกลําเลียงมา
รวมกันเปนฟอน เมื่อไดปริมาณเพียงพอ ฟอนขาวจะกดใหอุปกรณมัดฟอนทํางานโดยอัตโนมัติ
เมื่อมัดเสร็จ เครื่องจะปลอยฟอนขาววางเรียงเปนแถวทางดานขวาของเครื่องโดยมีใบมีดตัด
เชือกใหขาด จากนั้นอุปกรณในการมัดก็จะเคลื่อนที่กลับไปอยูในตําแหนงเดิม เพื่อรับฟอนขาว
ฟอนตอไป

การนวดขาว
การนวดขาว หมายถึง การทําใหเมล็ดขาวหลุดออกจากรวงขาวแลวทําความสะอาด
เพื่อเอาสวนของเศษฟางและเมล็ดขาวลีบออก โดยสามารถทําได 3 วิธี คือ การถู (rubbing)
การตี (impact) และการปลิด (stripping) การนวดโดยใชเครื่องนั้นนิยมใชสองวิธีหลังมากกวาใน
การนวดเอาเมล็ดออกจากฟาง
191

การนวดขาวโดยใชแรงคน เปนวิธกี ารนวดขาวงายๆ ที่นิยมใชกันทั่วไป


โดยเฉพาะอยางยิ่งสําหรับเกษตรกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ ในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือกอนนวดขาวเกษตรกรจะขนฟอนขาวมากองรวมไวบนลานนวด นําเสื่อ
ลําแพนปูลงบนลานนวด และใชไมไผสองทอนที่ผูกติดกันดวยเชือกหนังควายจับฟอนขาวและตี
ใสแผนกระดานที่วางเอียงไดมุมพอเหมาะ ตีจนกวาเมล็ดขาวเปลือกจะหลุดออกจากฟางไดหมด
สวนภาคเหนือนั้น วิธีการนวดแบบการตีนั้นแตกตางจากภาคตะวันออกเฉียงเหนืออยูบาง คือ
เกษตรกรจะไมนิยมทําลานนวด แตจะใชครุทําดวยไมไผยกเคลื่อนทีไ่ ปยังกองฟอนขาวทีต่ าก
แหงไวเปนหยอมๆ แลวใชไมตีแบบเดียวกับที่ใชในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตีกับดานขางของ
ครุ เมล็ดขาวเปลือกจะหลุดลงไปในครุ หลังจากตีกองขาวแหงหนึ่งเสร็จแลวก็เคลื่อนครุไปที่
กองขาวตอไปและตีขาวเปลือกจนหมดแปลง วิธีการนี้ยงั คงใชอยูสําหรับเกษตรกรที่มีขาว
ปริมาณนอย เนื่องจากหากใชวธิ ีอื่นยอมไมคุมกับตนทุนที่สูงและขาวที่สูญเสียไป การใชวธิ ีนี้
ใน 1 ชั่วโมง จะไดขาวเปลือกประมาณ 60 กิโลกรัม

การนวดขาวโดยใชแรงงานสัตว เปนอีกวิธีหนึง่ ที่เกษตรกรใชมาแตเดิม


โดยการนําเอารวงขาวที่เกีย่ วและตากแหงแลวมากองเกลี่ยไวบนลานขาว ซึ่งเปนพื้นดินที่ปรับ
เรียบ นําโคหรือกระบือมาเดินย่ําไปรอบๆ หรือนํามาผูกกับลูกทุบที่มีลักษณะเปนลูกทรงกลมทํา
จากไมหรือเหล็กแลวลากทับลงบนรวงขาว เพื่อทําใหเมล็ดขาวเปลือกหลุดออกจากรวง แลวจึง
แยกเอาฟางขาวออก ปริมาณขาวเปลือกที่ไดโดยวิธีนี้ไมแนนอน ขึ้นอยูกับการใชแรงงานคน
และสัตว

การนวดขาวโดยใชรถไถเดินตาม หรือรถแทรกเตอร วิธีนี้มีกรรมวิธี


ใชแรงงานสัตว เพียงแตเปลีย่ นจากแรงงานสัตวมาเปนการใชรถไถเดินตามลากลูกทุบไปบน
ลานนวดขาว การนวดขาวดวยวิธีนที้ ําไดรวดเร็วกวาการใชแรงงานสัตวแตก็ตองเสียเวลาใน
การแยกเอาฟางออก และการฝดขาวก็ใชเวลามาก การใชรถแทรกเตอรเปนวิธีการนวดขาวอีก
วิธีหนึ่ง โดยใชลานนวดหลายลาน คือ รถจะวิ่งจากลานหนึ่งประมาณครึ่งชั่วโมงหลังจากนั้นให
คนรุฟาง โดยการไมใหเสียเวลา รถแทรกเตอรจะวิ่งไปลานตอไปหลังจากเมื่อนวดลานที่สอง
เสร็จแลว และคนรุฟางขาวในลานแรกเสร็จแลว รถแทรกเตอรจะรับจางนวดใหกับเกษตรกรใน
พื้นที่ใกลเคียงหรือบางครั้งก็มีการรับจางขามจังหวัด การจัดวางฟอนขาวรองรับน้ําหนักของรถ
ทําใหเมล็ดแตกหักลดลง การเรียงฟอนขาวจะเรียงไดหนากวาวิธีอื่นๆ รถที่ใชย่ําบนฟอนขาว
ตองสูบลมยางใหต่ํากวาอัตราใชงานปกติเพื่อลดจํานวนเมล็ดขาวแตกจากการกดทับและการ
เสียดสีของยางรถกับพื้นลาน อัตราการนวดขาวดวยวิธนี ี้ประมาณ 4,500 กก./ชม./เครื่อง ซึ่งยัง
ไมรวมถึงกรรมวิธีการทําความสะอาดฟางขาวและการฝดขาวซึ่งจะตองใชเวลาอีกมาก ดังนั้นจึง
ไดมีการพัฒนาประดิษฐเครือ่ งนวดขาวขึน้ ใชโดยเฉพาะ
192

การนวดขาวโดยใชเครื่องนวดขาวแบบเทาถีบ (รูปที่ 7.4) เครื่องนวดขาว


แบบนี้เปนเครือ่ งที่ถูกสรางขึน้ มาโดยมีตนแบบจากประเทศญี่ปุนเพื่อใชทุนแรงคน ประกอบดวย
โครงเครื่อง ลูกนวดชนิดมีฟนลูกนวดทีท่ ําจากลวดเหล็กโคงติดเปนแถวๆอยูโดยรอบ เกียรทด
รอบซึ่งประกอบดวยเฟองทด 2 ตัว ทีข่ บกันอยูภายในกลองหุมเกียร และที่วางเทาถีบ สําหรับ
การทํางานนั้น เกษตรกรคนหนึ่งจะใชเทาวางลงบนที่วางเทาแลวถีบขึ้นลงเหมือนกับถีบจักรเย็บ
ผา แรงถีบจะถูกสงผานกลไกไปยังเกียรทดรอบ ทําใหเฟองทดที่อยูภายในหมุน แตเนื่องจาก
เพลาของเฟองทดอยูบนเพลาเดียวกับลูกนวด ดังนั้นลูกนวดจึงหมุนไปพรอมกัน ซึ่งปกติจะ
หมุนดวยความเร็วประมาณ 300 รอบตอนาที ในขณะเดียวกันนั้นคนถีบหรือคนอีก 1 คน ก็
เอามือจับปลายฟอนขาวแลวปอนสวนรวงใหไปกระทบกับฟนลูกนวดที่กําลังหมุนอยู เมล็ดขาว
ก็จะถูกแยกออกจากรวง ถาจัดการสงตอฟอนขาวไมขาดระยะจะสามารถนวดไดตอเนื่อง ทําให
สามารถนวดขาวไดประมาณ 50-80 กิโลกรัม/ชม. เครื่องนวดขาวแบบนี้จะทําหนาที่นวดขาว
เพียงอยางเดียวไมมีระบบชวยทําความสะอาดเมล็ดขาวเปลือกที่นวดแลวจะถูกนําไปสีฝดหรือ
ทําความสะอาดดวยวิธีการอืน่ ตอไป

รูปที่ 7.4 เครื่องนวดขาวแบบเทาถีบ

การนวดขาวโดยใชเครื่องนวดขาวแบบนวดตามแกนลูกนวด (axial flow


rice thresher) เครื่องนวดขาวแบบนี้ (รูปที่ 7.5) เปนเครื่องจักรกลที่มีการพัฒนาขึ้น โดยอาศัย
กําลังของเครือ่ งยนตที่สงกําลังไปหมุนลูกนวดทําใหฟน ลูกนวดทีต่ ิดอยูหมุนไปตีเมล็ดขาวเปลือก
ใหหลุดออกจากรวงขาว สวนการปอนฟอนขาวเขาไปในเครื่องนั้นอาศัยแรงงานคน
การนวดขาวโดยใชเครื่องนวดขาวแบบนวดตามแกนลูกนวด สามารถนวดไดสะอาดและ
เมล็ดไมแตกหัก เครื่องนวดขาวแบบนีป้ ระกอบดวยสวนประกอบที่สําคัญคือ
193

1. ชุดนวด ประกอบดวย ลูกนวดที่มีฟนลูกนวดติดอยู ตะแกรงนวด ครีบวง


เดือน ฝาครอบลูกนวด กระบะวางฟอนขาว ปลองฟางออก
2. ชุดทําความสะอาด ประกอบดวย ตะแกรงโยก และพัดลม
3.ชุดถายทอดกําลัง ประกอบดวย มูเล และสายพาน
4. อุปกรณสงขาว ประกอบดวย เกลียวลําเลียงเมล็ด

ในขณะทํางาน ฟอนขาวจะถูกปอนเขาทางชองปอน ลูกนวดที่หมุนอยูจะดึงฟอนขาวเขา


ไปฟาดครูดกับตะแกรงนวดเพื่อแยกเมล็ดขาว ทําใหเมล็ดรวงลงสูตะแกรงโยกดานลาง ครีบวง
เดือนจะบังคับใหฟอนขาวไหลไปตามแนวแกนของลูกนวด เมื่อถึงปลายสุดก็จะกวาดเหวี่ยงฟาง
ขาวทีเ่ หลือออกไปดานนอก

รูปที่ 7.5 เครือ่ งนวดขาวแบบนวดตามแกนลูกนวด

ตะแกรงโยกและพัดลมจะทําความสะอาดคัดแยกเศษพืชและฝุนละอองที่เปน
สิ่งเจือปนออกจากเมล็ด
เกลียวลําเลียงเมล็ดชุดที่อยูใตตะแกรงคัดจะทําหนาที่ลําเลียงเมล็ดที่นวดแยกทําความ
สะอาดแลวออกไปสูกระสอบหรือรถบรรทุกที่เตรียมไว สวนเกลียวลําเลียงเมล็ดชุดที่อยูตอน
หนาของตะแกรงคัดจะลําเลียงเมล็ดปนเศษพืชหรือสิ่งเจือปนอื่นๆปอนกลับเขาเครื่อง เพื่อทํา
การแยกเมล็ดออกจากเศษพืชอีกครั้งหนึ่ง
194

ตารางที่ 7.1 อัตราการนวดขาวดวยวิธีตางๆ

วิธี อัตราการนวด
ใชคน 0.06 ตัน/ชม./คน
ใชสัตว 0.17 ตัน/ชม./ควาย 2 ตัว
รถไถ 2 ลอ 2 ตัน/ชม./เครื่อง
รถแทรกเตอรใหญ 5 ตัน/ชม./เครื่อง
เครื่องนวดขาว 1-3 ตัน/ชม./เครื่อง

การนวดขาวโดยใชเครื่องปลิดเมล็ดขาว (rice stripper harvester)


เครื่องปลิดเมล็ดขาว (รูปที่ 7.6) คือเครื่องจักรกลที่ปลิดเมล็ดขาวออกจากรวงโดยไมมี
การตัดตน ซึ่งประกอบดวยสวนสําคัญ 2 สวน คือ รถขับเคลื่อนและหัวปลิดเมล็ดขาว รถ
ขับเคลื่อนประกอบดวยลอ 4 ลอ โดยลอคูหนาเปนลอขับเคลื่อนที่ไดรับกําลังที่สงมาจาก
เครื่องยนต สวนภายในฝาครอบจะมีหัวปลิดเมล็ดขาวที่มีลักษณะเหมือนกับหวีซึ่งหมุนตามเข็ม
นาฬิกาในขณะที่เครื่องเคลื่อนที่ไปขางหนา (รูปที่ 7.7) ฟนของหวีซึ่งมักจะทําจากวัสดุที่เปนยาง
หรือโพลียูรีเทน (Polyurethane) ก็จะปลิดเอาเมล็ดขาวออกจากรวงในลักษณะเหมือนการสาง
ผม หรือรูดเอาเมล็ดขาวออกจากรวงขาว โดยสามารถทํางานไดดีในสภาพดินไมหลม วันละ 5-6
ไร เมื่อขาวแกและมีความสูงไมเกิน 120 ซม. เมล็ดขาวที่ไดมักจะมีเศษฟางและตนขาวเจือปน
อยู 15 – 40 % เมล็ดขาวและสิ่งเจือปนเหลานี้จะถูกรวบรวมไวในกระสอบ หรือถูกลําเลียงเขา
ไปสูระบบนวดและทําความสะอาดตอไป เชนเดียวกับการเกี่ยวนวดขาวดวยวิธีอื่น
การเกี่ยวขาวดวยวิธีปลิดนีม้ ีขอดีคือ
1. มีวัสดุที่ถูกเกีย่ วเขาสูร ะบบปลิดนอยกวาแบบตัดทั้งตน ทําใหประหยัดพลังงานและ
เวลา เมื่อทําการนวดและทําความสะอาด
2. ความชื้นของเมล็ดขาวหลังจากถูกปลิดจะต่ํากวาการเกี่ยวนวดทั้งตน
3. เกี่ยวไดรวดเร็วกวาเกีย่ วทั้งตนเนื่องจากมีแรงตานที่ชุดเกี่ยวนอยกวา
4. สามารถเกี่ยวขาวลมไดดี
ประเทศอเมริกา , ออสเตรเลีย และประเทศทางแถบอเมริกาใต ประมาณ 10% ใชเครื่อง
เกี่ยวนวดที่ตดิ ระบบปลิดเมล็ดแทนระบบตัด เนื่องจากมีความเหมาะสมกับพันธุขาวที่ปลูกใน
ประเทศเหลานี้
195

รูปที่ 7.6 เครือ่ งปลิดเมล็ดขาว

รูปที่ 7.7 หัวปลิดเมล็ดขาวขณะทํางาน

การทําความสะอาด
เมล็ดที่ทําการนวดเรียบรอยแลวยังมีเศษฟาง ใบขาว เศษวัชพืช และอื่นๆ ปะปนอยู
โดยเฉพาะการนวดในลานดินซึ่งมักจะมีเศษดินปะปนมา ดังนั้นจึงตองมีการทําความสะอาดกอน
196

นําเขาเก็บไวในยุงฉางตอไป การทําความสะอาดเมล็ดนั้นมีอยูหลายวิธี
1. สาดขาว เกษตรกรจะใชพลั่วไมสาดขาวในกองขึ้นไปใหลมพัดเอาเศษฟาง ขาวลีบ
และใบขาวปลิวออกไปจากกองขาว วิธีการนี้จะตองอาศัยลมชวย วัตถุที่มีน้ําหนัก เชนกอนดิน
จะไมปลิวออกไปแตจะตกลงมารวมกับกองขาวอีก ในกรณีที่ไมมีลมชวยอาจจะใชพัดขนาดใหญ
โบกไปมา เพื่อใหสิ่งที่เบาๆ ปลิวออกไปเชนขาวลีบ เศษฟาง ฯลฯ
2. ถาขาวมีจํานวนนอยๆ เกษตรกรจะใชกระดงฝดขาว
3. โดยใชเครื่องสีฝด (รูปที่ 7.8) ซึ่งเปนเครื่องมือทุนแรงเหมาะสําหรับเวลาไมมีลมพัด
โดยอาจจะใชแรงคนหรือแรงเครื่องยนตหมุนก็ได เครื่องสีฝดจะแยกเมล็ดขาวที่ไมมีเนื้อหรือลีบ
ออกจากเมล็ดขาวดี ๆ โดยมีลักษณะเปนกลอง มีขา 4 ขา ดานหนึ่งกลมมน อีกดานหนึ่งโปรง
ดานบนมีกระบะรับขาวสําหรับใสขาวเปลือก เพื่อใหไหลลงสูตะแกรงเหล็กหางๆ ดานหนามี
ใบพัด เมื่อหมุนดวยมือหรือเครื่อง จะพัดลมออกไปทางดานหลัง เมล็ดที่ลบี จะปลิวออกไป
ภายนอก สวนขาวที่มีน้ําหนักดีจะตกลงไปยังรางที่รองอยูดานลาง แลวไหลลงไปดานหนาของ
เครื่องสีฝด

รูปที่ 7.8 เครือ่ งสีฝด

เครื่องเกีย่ วนวดขาว
เครื่องเกี่ยวนวดขาว (rice combine harvester) คือเครื่องจักรกลที่สามารถใช
ปฏิบัติงานในการเกี่ยวตัด รวบรวมลําเลียงตนขาวที่ตัดแลวไปทําการนวด และแยกทําความ
สะอาดอยางตอเนื่อง แลวลําเลียงขาวเปลือกที่คัดทําความสะอาดไปเก็บในกระสอบซึ่งอาจจะ
ตองใชคนคอยรองรับ หรือเปนแบบที่มีระบบลําเลียงเขาสูถังเก็บซึ่งอยูภายในเครื่องเดียวกัน
แลวลําเลียงออกใสรถบรรทุกเมื่อถังเต็มก็ได อันเปนการลดขั้นตอนการทํางานในการเกี่ยวขาวที่
ตองขนยายขาวไปนวดและทําความสะอาด ซึ่งอาจจะมีการสูญเสียเกิดขึ้น นอกจากนั้นยังเปน
การทดแทนการขาดแคลนแรงงานในฤดูเก็บเกี่ยวไดดวย เครื่องเกี่ยวนวดขาวมีหลักการและ
ขั้นตอนการทํางานเปนขั้น ๆ ตามลําดับดังนี้
197

1. การเคลื่อนที่เพื่อเกี่ยวปอนตนขาวเขาสูระบบตัด
2. การตัดตนขาว
3. การรวบรวมลําเลียงตนขาวที่ตัดแลวเขาสูระบบนวด
4. การนวดแยกเมล็ดขาวออกจากฟาง
5. คัดแยกทําความสะอาดขาวเปลือกจากเศษฟางและฝุน ละออง
6. ลําเลียงขาวเปลือกที่คัดทําความสะอาดแลว ไปเก็บในภาชนะ

เครื่องเกี่ยวนวดขาว สามารถแบงออกได 3 แบบ คือ


ก) แบงตามลักษณะการใชงาน ซึ่งแบงออกไดเปน 2 ชนิด คือ เครื่องเกี่ยวนวด
สําหรับพื้นราบ และเครื่องเกี่ยวนวดสําหรับพื้นที่บนไหลเขา ซึ่งสามารถปรับตัวเครื่องเกี่ยว
นวดใหอยูในแนวระดับไดขณะทํางานบนพื้นที่ลาดเอียง
ข) แบงตามลักษณะตนกําลังทีใ่ ช สามารถแบงออกไดเปน 2 ชนิด คือ เครื่อง
เกี่ยวนวดซึ่งใชรถแทรกเตอรลาก และใชกําลังจากเพลาอํานวยกําลัง เครื่องเกี่ยวนวดขาวซึ่ง
ใชแทรกเตอรลาก แตทํางานโดยเครื่องยนต และเครื่องนวดขาวชนิดขับเคลื่อนดวยตนเอง ซึ่ง
มีเครื่องยนตเพื่อใชสําหรับทั้งขับเคลื่อนและทํางาน
นอกจากนั้นยังอาจจะแบงตามลักษณะของลอขับเคลื่อนที่เปนลอตีนตะขาบ ลอยาง
หรือลอกึ่งตีนตะขาบ ดังรูปที่ 7.9

รูปที่ 7.9 เครื่องเกี่ยวนวด ก) ลอตีนตะขาบ ข) ลอยาง ค) ลอกึ่งตีนตะขาบ


198

เครื่องเกี่ยวนวดขาวของประเทศตะวันตก
เครื่องเกี่ยวนวดขาวของประเทศตะวันตก (รูปที่ 7.10) ประกอบดวยกลไกตางดังนี้
1. สวนที่ทําหนาที่ตัดหรือสวนหนา (cutting unit or header) สวนนีจ้ ะทําหนาที่
ตัดหรือเกี่ยวตนขาวที่ยืนตน และปลอยตนขาวที่ถูกเกี่ยวแลวใหกบั กลไกการลําเลียง
สวนประกอบหลักของสวนที่ทําหนาที่ตัดประกอบดวย ลอโนม (reel) และใบมีด (cutter bar)
ลอโนมเปนสวนแรกที่สัมผัสกับตนขาวทีย่ นื ตนอยู ลอโนมมี 2 แบบ คือ ลอโนมแบบแผน (fix
bat reel) ใชสําหรับพืชทีล่ าํ ตนตั้งตรง และลอโนมสําหรับพืชลม (pick up reel) ถาไดทําการ
ปรับตั้งทีเ่ หมาะสม ลอโนมจะทําการโนมตนขาวไวในขณะที่โคนตนขาวกําลังถูกตัดแลวผลักตน
ขาวทีถ่ ูกเขาไปสูสวนทีท่ ําหนาที่ลําเลียง ลอโนมนั้นสามารถที่จะทําการปรับตั้งใหขึ้นหรือลง
และเลื่อนไปขางหนาหรือขางหลังได สวนมุมของลอโนมที่ยื่นไปโนมตนขาว และความเร็วรอบ
ที่หมุนก็สามารถเปลี่ยนแปลงได ลอโนมจะทําใหตนขาวที่ลมพับ หรือที่พันกันอยูใหตั้งตรง
เพื่อใหมีดตัดทําการตัดไดสะดวก สวนกําลังที่ใชขับลอโนม อาจจะมาจากเครื่องยนตตนกําลัง
หรือการเคลื่อนที่ของเครื่องเกี่ยวนวดก็ได

รูปที่ 7.10 เครื่องเกี่ยวนวดขาวของประเทศตะวันตก


ใบมีดจะมีลักษณะคลายกับใบมีดของเครื่องตัดหญาอาหารสัตวที่มสี วนคมคลาย
ฟนเลื่อย นั่งอยูบนแผนปองกัน (guard) ที่เรียบ ใบมีดไมสามารถลับคมได เมื่อชํารุดหรือสึก
หรอจะตองเปลี่ยนใหม เครื่องเกี่ยวนวดขนาดใหญจะมีระบบไฮดรอลิคเพื่อใชควบคุมความสูง
ของการตัด ใบมีดมีจังหวะในการชักแบบเคลื่อนทีไ่ ปมาประมาณ 400 ครั้งตอนาที โดยไดรับ
199

กําลังมาจากสายพานที่ตออยูกับมูเล (pulley) ทําใหแกนเพลาขอเหวี่ยงหมุนเปนวงกลม แลว


ถายทอดกําลังไปใหแกใบมีดผานแขนสงกําลัง (pitman) ซึ่งทําใหใบมีดเคลื่อนที่ไปมา
2. สวนที่ทําหนาที่ปอน (feeding unit) สวนนี้จะทําหนาที่ลําเลียงตนขาวทีถ่ ูก
เกี่ยวแลว จากใบมีดไปใหกับลูกนวดเพือ่ ทําการนวด ในเครื่องเกี่ยวนวดขนาดเล็ก จะใช
สายพานผาใบที่มีความกวางเทากับลูกนวดลําเลียงตนขาวทีถ่ ูกเกี่ยวแลวใหขึ้นไปยังลูกนวด
อยางเปนระเบียบ ในเครื่องเกี่ยวนวดขาวขนาดใหญทมี่ ีมีดตัดขนาดกวางกวาลูกนวด จะใช
เกลียวลําเลียง (auger) ที่วางอยูในแนวนอน เพื่อทําหนาที่ที่ลําเลียงตนขาวไปสูสายพาน
3. สวนที่หนาที่นวด (threshing unit) ประกอบดวยลูกนวดและตะแกรงนวด
(concave) เมล็ดสวนใหญจะถูกนวดออกจากรวงในบริเวณระหวางลูกนวดกับสวนเวาของ
ตะแกรงนวด ลูกนวดจะเปนแบบซี่แข็ง (spike-tooth cylinder) ฟนของลูกนวดจะหมุนตามแกน
ของลูกนวด และทําการนวดเอาเมล็ดออกในขณะที่ฟน ลูกนวดจะหมุนผานสวนเวาของตะแกรง
นวดที่มีลักษณะคลายฟน
4. สวนที่ทําหนาที่คัดแยก (separating unit) เมล็ดที่ถูกนวดทั้งหมดจะถูกแยก
ออกจากฟางขาว ที่สว นเวาของลูกนวดดานลาง และบริเวณตะแกรงที่เปนซี่ๆ ดานหลังของลูก
นวด แตเมล็ดบางสวนก็ยงั รวมอยูกับฟางขาว ซึ่งถูกเหวี่ยงออกจากดานหลังของลูกนวด ราง
ฟาง (straw rack) ที่เคลื่อนที่กลับไปกลับมาจะแยกเมล็ดขาวที่ถูกนวดแลวใหออกจากฟาง โดย
การฝดและการเขยาเอาฟางออก และสงออกทางดานหลังของเครื่องเกี่ยวนวดขาว เมล็ดขาวจะ
ตกลงมาขางลางตามชองของตะแกรงโยกไปยังถาดรองรับ
5. สวนที่ทําหนาที่ทําความสะอาดเมล็ด (cleaning unit) ในสวนนี้จะทําการ
แยกฟางและผงละเอียดออกจากเมล็ดขาวที่ไดทําการนวดแลว โดยตะแกรงรอน(chaffer) และ
โดยการใชลมเปา ตะแกรงจะมีความกวางเทากับถาดรองรับเมล็ด ซึ่งมีขนาดสัมพันธกับการเปด
ชอง เมล็ดที่ถูกนวดแลวจะตกลงตามชองไปยังตะแกรงทําความสะอาดตามความลาดเอียงไปยัง
เกลียวลําเลียงเมล็ด (grain auger) แกลบและสิ่งที่เบาจะถูกเปาออกโดยแรงลม
6. สวนทีท่ ําหนาที่ลําเลียงเมล็ดจากการนวด (grain handing unit) จะลําเลียง
เมล็ดที่สะอาดไปยังจุดที่จะปลอยเมล็ดออกจากเครื่องเกี่ยวนวด เกลียวลําเลียงจะรวมเมล็ด
ขาวเปลือกจากดานลาง และลําเลียงไปยังกระพอ กระพอจะลําเลียงเมล็ดขาวขึน้ ขางบน ซึ่งอยู
อีกดานหนึ่งของเครื่องเกี่ยวนวดขาว และปลอยเมล็ดลงไปในถังหรือกระสอบ ถังเก็บเมล็ดจะ
เก็บเมล็ดที่สะอาดไวจนกวาจะทําการถายออกไปยังรถบรรทุก

เครื่องเกี่ยวนวดขาวของญี่ปุน
เครื่องเกี่ยวนวดขาวของญี่ปุน (รูปที่ 7.11) ประกอบดวยสวนตางๆ ดังนี้
1. สวนที่ทําหนาที่ขับเคลื่อน (locomotion unit) สวนที่ทําหนาที่ขบั
200

เคลื่อนนี้จะเปนลอตีนตะขาบ (รูปที่ 7.12) ที่เปนยางซึ่งนอกจากจะวิ่งไดบนแปลงนาแลวยัง


สามารถวิ่งบนถนนไดดวย ลอตีนตะขาบจะทําใหสามารถเพิ่มแรงฉุดลากไดมากขึ้น ซึ่ง
เครื่องยนตจะถายทอดกําลังขับใหกับลอตีนตะขาบทางเฟองขับโซแทรก (sprocket drive)

รูปที่ 7.11 เครื่องเกี่ยวนวดขาวของญี่ปุน

รูปที่ 7.12 ลอตีนตะขาบ


201

2. สวนที่ทําหนาที่ตัด (รูปที่ 7.13) หรือสวนหนา (cutting unit or header)


ประกอบดวยหัวแบงแถวพืช (divider) กลไกเก็บขาว (pick-up mechanism) และใบมีด (cutter
bar) (รูปที่ 7.14) ซึ่งจะมีลักษณะเหมือนกับเครื่องเกี่ยวมัดฟอนจะทําหนาที่เกี่ยวขาวที่ยืนตนอยู
และจะสงตอไปใหกับสวนทีทําหนาที่ลําเลียง

รูปที่ 7.13 สวนที่ทําหนาที่ตดั

รูปที่ 7.14 ใบมีดแบบเคลื่อนที่ไปมา


4. สวนที่ทําหนาที่นวด (รูปที่ 7.15) และทําความสะอาด (threshing and
separating unit) โซลําเลียงจะยึดสวนโคนของตนขาวทีเ่ กี่ยวแลว เพื่อทําใหตนขาวเคลื่อนตัว
ขนานกับแกนของลูกนวด รวงขาวจะถูกนําเขาไปในชองระหวางลูกนวดกับตะแกรงนวด
ก) ลูกนวด เปนรูปทรงกระบอกทําจากเหล็กแผน ซึ่งจะมีฟนลูกนวดเปนซี่
ลวดลักษณะคลายตัววีติดอยู
ข) ตะแกรงนวดอยูดานลางของลูกนวดกินเนื้อที่ 1 ใน 4 หรือครึ่งหนึ่งของพื้น
ผิวหนาลูกนวด
202

รูปที่ 7.15 สวนที่ทําหนาทีน่ วด


ค) สวนที่ทําหนาที่แยกและทําความสะอาด (separating and cleaning unit)
เมล็ดที่ถูกนวดแลวจะถูกแยกออกจากฟางในหองนวดและจะมารวมอยูขางลางในถาดรองเมล็ด
สิ่งเจือปนจะถูกตะแกรงดักเอาไวและจะถูกลมเปาออกไป
ง) เกลียวลําเลียงเมล็ด (grain auger) ทําหนาที่รวบรวมเมล็ดขาวทีส่ ะอาดจาก
สวนลางและลําเลียงไปใหกบั กระพอตัก
จ) เกลียวลําเลียงเมล็ดกลับ (tailing auger) จะทําหนาที่ลําเลียงเมล็ดที่ไมถูก
นวดไปยังดานหลังของเครือ่ งเกี่ยวนวดขาวสงใหกับกระพออีกทีหนึ่ง ซึ่งจะถูกนําไปทําการนวด
อีกครั้งหนึ่ง
5. สวนที่ทําหนาที่ลําเลียงเมล็ดและฟาง (grain and straw handling unit)
เกลียวสวานลําเลียงจะทําการนําเมล็ดขาวที่สะอาดไปยังอีกดานหนึ่งของเครื่องเกี่ยวนวดขาว
กอนที่จะนําขึ้นไปยังดานบน และเก็บไวในถังเก็บเมล็ดหรือบรรจุใสถุง สวนฟางจะถูกสับใหเปน
ชิ้นเล็กๆ โดยใบพัดสับฟางที่อยูทางดานหลังของเครื่องเกี่ยวนวดขาว
6. แผงหนาปทมและระบบควบคุม (monitor and control system) จะมีคัน
บังคับหลายอัน เพื่อใหทํางานในสภาพที่แตกตางกันของแปลงนา และขาวที่ปลูก แผง
หนาปทมและสัญญาณเตือนจะอยูตรงดานหนาที่นั่งของผูควบคุมเครือ่ งซึ่งจะประกอบดวย
ก) ระบบควบคุมทิศทางการเคลื่อนที่ (direction control of travel) เครื่อง
เกี่ยวนวดขาวจะสามารถวิ่งไประหวางแถวของตนขาวไดโดยจะมีตัวรับสัญญาณ จะคอยสง
สัญญาณไปควบคุมทิศทางการเคลื่อนที่ของเครื่องเกี่ยวนวดขาว
ข) การควบคุมความสูงของการเกี่ยว (cutting height control) จะควบคุมโดย
203

ระบบ electro-hydraulic กับ mechanical hydraulic โดยควบคุมไมใหใบมีดทิ่มลงไปในดิน หรือ


ตัดตอไมที่โผลขึ้นมาเหนือดิน โดยจะมีตัวรับสัญญาณติดอยูทางดานลางของหัวแบงแถวพืช ซึ่ง
จะคอยสงสัญญาณควบคุมใหใบมีดตัดเคลื่อนที่ขึ้นหรือลงตามลักษณะของพื้นผิวดิน
ค) การควบคุมความยาวของรวงขาวที่ทําการนวด (threshing depth control)
เครื่องเกี่ยวนวดขาวของญี่ปุนจะมีลักษณะพิเศษอีกอยางหนึ่งคือ จะนวดเฉพาะสวนทีเ่ ปนรวง
ขาวเทานั้น ถาใสรวงขาวเขาไปไมลึก เมล็ดขาวก็จะติดออกมากับรวงมาก แตถาลึกเกินไปจะ
ทําใหเสียกําลังและมีฟางจํานวนมากขึ้น และยากแกการทําความสะอาดเมล็ด
ง) การควบคุมความเร็วเดินหนา (forward speed control) ซึ่งจะมีกลไก
ควบคุมความเร็ว ตัวรับสัญญาณจะรับสัญญาณของแรงบิดจากลูกนวด ความเร็วเดินหนาจะ
เปลี่ยนแปลง โดยอาศัยการทํางานระบบ hydro-static-transmission
7. การสิ้นเปลืองพลังงาน (power consumption) เครื่องเกี่ยวนวดขาวจะ
ใชเครื่องยนตดีเซล กําลังจากจากเครื่องยนต 10-15 % จะใหกับสวนที่ทําหนาที่ตัดและสวน
ลําเลียง 35-40% ใหกับสวนขับเคลื่อนและ 45-50% ใหกับสวนทีท่ ําหนาที่นวด แยกฟางและ
ลําเลียงเมล็ด ความสิ้นเปลืองพลังงานขึ้นอยูกับสภาพของการทํางานของเครื่องเกี่ยวนวดขาว
เครื่องเกี่ยวนวดทั้งแบบญีป่ ุนและของประเทศตะวันตก ไมสามารถใชงานไดดีกับพื้นที่
ของประเทศไทย เนื่องจากสาเหตุดังตอไปนี้
1. สภาพพื้นที่ โดยปกติในขณะเกี่ยวขาวหากสภาพพื้นที่ยังมีน้ําขังอยู ดินก็จะอยูใน
สภาพออนตัว เครื่องทั้งสองชนิดจะไมสามารถทํางานได โดยเฉพาะเครื่องจากประเทศตะวันตก
จะจมลึกมาก เนื่องจากน้ําหนักมากเกินไป (น้ําหนักเครื่องเปลา 8-10 ตัน) ในกรณีสภาพของ
พื้นดินแหงและแข็ง เครื่องแบบตะวันตกสามารถทํางานไดดี แตเครื่องแบบญี่ปุนจะเกิดปญหา
เนื่องจากอายุของสายพานตีนตะขาบแบบยางจะสึกหรอหรือเสื่อมคุณภาพเร็ว
2. สภาพของตนขาว เครื่องเกี่ยวนวดจะสามารถเกี่ยวขาวตนตั้งไดดี กรณีที่ตนขาว
ลมเครื่องเกี่ยวนวดทั้งสองชนิดจะทํางานไดชามาก
3. ขนาดของแปลงนา จะตองมีขนาดใหญไมควรนอยกวา 3-4 ไร เครื่องจึงจะทํางาน
โดยใหประสิทธิภาพสูง
4. ราคาของเครือ่ งสูง จนเกษตรกรไมสามารถซื้อไปใชไดถึงแมวาจะนําไปรับจางก็
ตามเนื่องจากระยะคืนทุนยาวเกินไป
5. อะไหลและอุปกรณที่สึกหรอเร็วจะหาไดยาก และราคาสูง

เครื่องเกี่ยวนวดที่พัฒนาในประเทศไทย
ในสภาวะการขาดแคลนแรงงาน และคาจางเก็บเกี่ยวที่สูงขึ้นทําใหเริ่มมีการนําเครื่อง
เกี่ยวนวดมาใชในประเทศไทย แตเนื่องจากเครื่องเกี่ยวนวดที่นํามาจากตางประเทศ มี
ประสิทธิภาพต่ําเมื่อนํามาใชในสภาพพื้นที่ของประเทศไทย ซึ่งเปนพืน้ ที่มีน้ําขัง อีกทั้งเครื่องที่
นําเขามีราคาแพง จึงเริ่มมีการพัฒนาเครื่องเกี่ยวนวดขึ้นในประเทศไทย ประมาณป พ.ศ. 2530
204

โดยโรงงานผลิตเครื่องจักรกลเกษตรไดทําการลอกเลียนแบบเครื่องเกี่ยวนวดจากประเทศ
ตะวันตก โดยเฉพาะหัวเกีย่ วและระบบลําเลียงเขามาผสมผสานกับระบบเครื่องนวดขาวที่มีใช
กันอยางแพรหลายกลายเปนเครื่องเกี่ยวนวดแบบไทยขึ้น เครื่องเกี่ยวนวดขาวรุนแรกๆ ที่
ประดิษฐมีประสิทธิภาพการทํางานต่ํา และเมล็ดเสียหายมาก
เครื่องเกี่ยวนวดขาวที่พัฒนาในประเทศไทยเปนแบบเกี่ยวนวดขาวทั้งตน ตอมาไดมีการ
ปรับปรุงระบบการทํางานเพิ่มขึ้น เชน ระบบขับเคลื่อนจากระบบเกียรธรรมดาเปนระบบ
ขับเคลื่อนแบบอัตโนมัติ ปจจุบันโครงสรางของเครื่องเกี่ยวนวดทีผ่ ลิตในประเทศไทย สามารถ
แบงออกไดเปน 5 ระบบ ไดแก
1. เครื่องตนกําลัง (prime mover)
เปนระบบที่ถูกสรางขึ้นโดยพื้นฐานความคิดที่วา การเกษตรเปนงานที่ตองใชความ
หนักหนวง อดทน ทนทาน ดังนั้น เครื่องแบบนี้จึงไดถกู พัฒนาใหเปน เครื่องจักรกลการเกษตรที่
ทํางานหนัก สามารถปฏิบตั ิงานไดตอเนือ่ งระยะเวลานาน คุณสมบัติที่ทนตอสภาพการทํางาน
หนักมักจะพัฒนาใหเปนเครื่องยนตดีเซลเปนตนกําลัง ซึ่งประยุกตนาํ เอาเครื่องยนตที่ผานการใช
งานมาแลวมาพัฒนาใหม แตเครื่องยนตตอ งมีสภาพที่ดีประมาณ 70-80% และมีกําลังของ
แรงมาอยูที่ประมาณ 100-200 แรงมา โดยมีการเพิ่มอุปกรณปรับความเร็วเพื่อควบคุมอัตราการ
เรงของเครื่องยนตและปจจุบันนี้มีโรงงานไดสั่งเครื่องใหมจากตางประเทศมาติดตัง้ ดวย
2. ระบบเครื่องลาง (under carriage)
ระบบเครื่องลาง ไดถูกออกแบบใหระบบเครื่องยนตของเครื่องเกี่ยวนวดขาวอยูต่ําลง
ไปจนถึงสัมผัสดิน ซึ่งถูกออกใหมีลักษณะเหมือนเครื่องลางของ รถตีนตะขาบ โดยจะมี
สวนประกอบสําคัญ ดังนี้
ก) สายพานตีนตะขาบ มีลกั ษณะเปนวงโซซึ่งประกอบดวยขอโซสองแถวเปน
คูๆ รอยตอกันดวยปลอก (bush ) และสลัก สามารถมวนตัวไดเปนคูๆ และบนขอโซแตละคูจะมี
แผนตีนตะขาบยึดติดกันอยู ขอโซที่ใชกันสวนใหญจะทําจากเหล็กเหนียว เชื่อมตอกันดวยปลอก
และสลัก สวนมากโรงงานที่ผลิตเครื่องเกี่ยวนวดจะทําการผลิตขึ้นเอง แผนตีนตะขาบทําหนาที่
รองรับน้ําหนักทั้งหมดของเครื่องเกี่ยวนวดและดันใหเครื่องเกี่ยวนวดเคลื่อนที่ไป ตลอดจนทําให
เครื่องเกี่ยวนวดลอยตัวไมจม แผนตีนตะขาบ ทีใ่ ชโดยทั่วไปทําดวยแผนไม ขนาดหนากวาง
ประมาณ 80 ซม. ความยาวของหนาสัมผัสประมาณ 250 เซนติเมตร ซึ่งทําใหเครื่องเกี่ยวนวด
ทํางานไดดีมีประสิทธิภาพสูงในสภาพดินออน ขอเสียของตีนตะขาบไม จะแตกหักไดงายขณะที่
ขับเครื่องเกี่ยวนวดขามคันนาหรือขับขึ้นรถบรรทุกในขณะขนยายไปยังที่อื่น
ข) ลอเฟอง มีลักษณะเปนลอมีฟนโดยรอบ ทําหนาที่รบั แรงขับจากชุดเฟองทาย
ถายทอดกําลังใหกับสายพานตีนตะขาบ ซึ่งจะหมุนงัดพาใหปลอกของสายพานตีนตะขาบขยับ
เคลื่อนที่ไป ทําใหสายพานตีนตะขาบเคลื่อนที่ และแผนตีนตะขาบซึง่ กดอยูบนพื้นก็จะทําใหตวั
รถเคลื่อนที่ไปบนราง
205

ค) ลอนํา มีลักษณะเปนวงลอกลม และทําเปนสันตรงกลางของขอบลอทําหนาที่


เปนตัวขึง หรือดึงวงโซ และตัวบังคับทิศทางการตะกรุยของสายพานตีนตะขาบ ลอนําติดตั้งอยู
บนเฟรมโดยมีขาไกเปนตัวยึดสามารถเลือ่ นเขาออกไดตามแนวยาวของเฟรม
ง) ลูกกลิ้งบน ทําหนาที่รองรับวงโซไมใหตกทองชางมาก และทําหนาที่เปนตัว
บังคับทิศทางการเคลื่อนที่ของสายพานดานบน ลูกรอกบนจะมีประมาณ 2-3 ลูก
จ) ลูกกลิ้งลาง เปนตัวรับน้ําหนักของตัวรถที่ถายทอดบนสายพานตีนตะขาบ
โดยวางเรียงเปนแถว สวนใหญจะใช 7-8 ลูก ภายในลูกรอกประกอบดวยลูกปน 2-4 ชุด หากไม
มีการดูแลจะทําใหประสิทธิภาพการทํางานของเครื่องเกี่ยวนวดต่ําลง

รูปที่ 7.16 ชุดชวงลาง


3. ระบบถายทอดกําลังและบังคับเลี้ยว (transmission and steering system)
เปนระบบถายทอดกําลังระหวางเครื่องยนตไปยังระบบขับเคลื่อน ซึ่งมี 2 ประเภทที่
สําคัญ คือ
ก) ระบบขับตรง (direct drive) มีลักษณะเดนที่การถายทอดกําลัง ที่มีการตัดตอ
กําลังจากเครือ่ งยนตโดยผานคลัตช ซึ่งมีหองเกียรแบบเลื่อนคันเกียรโดยตรง
ข) ขับดวยน้ํามัน (hydrostatic drive) เปนระบบขับเคลื่อนที่มีน้ํามันเปนตัวกลาง
การถายทอดกําลังจากเครือ่ งยนต โดยมีปมสงน้ํามันภายใตความดันสูงไปขับชุดไฮดรอลิก และ
นํางานที่ไดไปขับเคลื่อนลอตีนตะขาบ ระบบนี้เปนระบบที่สามารถปรับชวงความเร็วและแรงบิด
ของการขับเคลื่อนไดเชน สามารถปรับใหเดินดวยรอบต่ําแตไดแรงบิดสูงในขณะเริม่ งาน และ
เดินรอบสูงสุดแตแรงบิดต่ําในชวงปกติของงาน การเปลีย่ นความเร็วในการขับเปนไปอยาง
ราบรื่น ทําใหการเริ่มงาน การหยุด และถอยกลับเปนไปอยางราบรื่น รวดเร็วและแมนยํา ไมมี
206

ขอจํากัดในเรื่องตําแหนงที่ติดตั้งของแหลงตนกําลัง เพราะไมมีการตอเพลาตรงหรือใชหองเกียร
สําหรับทดกําลังโดยตรงจากตนกําลังมาขับเคลื่อนอุปกรณ หากแตใชสายน้ํามันซึ่งสามารถเลีย้ ว
หักหลบและดัดใหคดเคี้ยวได

รูปที่ 7.17 ระบบขับไฮโดรสแตติก


การบังคับเลี้ยวของเครื่องเกีย่ วนวดขาวมีอุปกรณสําคัญ ไดแก คลัตชบังคับเลี้ยว ซึ่งทํา
หนาที่ตัดตอกําลังจากหองเกียรไปยังชุดเฟองทาย สวนใหญแลวจะใชคลัตชแบบแผนชนิดแหง
โดยมีลอชวยแรงซึ่งยึดติดกับชุดเฟองทายเปนตัวถูกขับ สวนอุปกรณเบรกก็จะทําหนาที่ในการ
หยุดชุดขับเคลื่อน
4. ระบบเกี่ยว ซึ่งประกอบดวยใบมีด ลอโนม และเกลียวลําเลียง ลอโนมมีลักษณะเปน
โครงรูปหกเหลี่ยม และมีซี่เหล็กติดอยูทําหนาที่โนมตนขาวเขาหาหัวเกี่ยว
5. ระบบนวดและทําความสะอาด มีลักษณะเดียวกับเครื่องนวดขาวแบบไหลตาม
แนวแกนที่มีใชกันอยูอยางแพรหลายในประเทศไทย
สําหรับขั้นตอนการทํางานอยางตอเนื่องของเครื่องเกี่ยวนวดขาว สามารถอธิบายอยาง
ละเอียด โดยดูรูปที่ 7.18 ประกอบ ดังนี้
เมื่อเครื่องเกี่ยวนวดขาวเคลือ่ นที่เขาหาตนขาว ดวยระบบขับเคลื่อนชวงลาง ซึ่งเปนชุด
ตีนตะขาบ (1) ตนขาวทีต่ ั้งตรงในแปลงนา (2) จะถูกโนมเกี่ยวพาเขาสูระบบการตัดโดยลอโนม
ตน (reel) (3) และหัวแบงตนขาว (divider) (4) ซึ่งจะแหวกแบงตนขาวที่อยูนอกความกวางของ
ตัวเครื่อง โดยไมทําใหตนขาวหักหรือเมล็ดขาวรวงหลน ตนขาวที่อยูภายในขอบเขตการตัดของ
เครื่องเกี่ยวนวดขาวจะถูกตัดขาดออกจากพื้นดินดวยชุดใบมีด (cutter bar) (5) ใหลมตัวลงบน
กระบะหัวเกี่ยว (header platform) (6) ตนขาวทีล่ มลงบนกระบะจะถูกเหล็กสปริง (7) ที่เรียกกัน
วา”หนวดกุง” บนลอโนมตน เขี่ยปดใหเขาไปหาชุดเกลียวลําเลียงตนขาว (8) ซึ่งจะมีครีบเกลียว
หมุนซายและหมุนขวา เพื่อลําเลียงตนขาวเขามารวมตัวกันบริเวณสวนกลางของชุดเกลียว
207

(1) ชุดตีนตะขาบ (2) ตนขาว (3) ลอโนมตน


(4) หัวแบงตนขาว (5) ชุดใบมีด (6) กระบะหัวเกี่ยว
(7) เหล็กสปริง (8) ชุดเกลียวลําเลียงตนขาว (9) ซี่เหล็กกลม
(10) ชุดโซลําเลียง (11) ลูกนวด (12) ฟนลูกนวด
(13) ตะแกรงรอบลูกนวด (14) ครีบเกลียววงเดือน (15) ตะแกรงโยก
(16) พัดลม (17) เกลียวลําเลียงเมล็ด (18) เกลียวลําเลียงเมล็ดและสิ่งเจือปน
(19, 20) ทอลําเลียงเมล็ด (21) ถังเก็บเมล็ด (22) ทอสงเมล็ด

รูปที่ 7.18 หลักการและขั้นตอนการทํางานของเครื่องเกี่ยวนวดขาว (แบบมีถังเก็บ)

ลําเลียง ซึ่งจะไมมีครีบเกลียวติดตั้งอยู แตจะมีซี่เหล็กกลมที่ผลุบเขาผลุบออกจากแกนของชุด


เกลียวลําเลียงติดตั้งอยูแทน ซึ่งเหล็กกลมนี้ (9) เรียกวา”ผลุบโผล” สลักผลุบโผลจะหมุนผลักตน
ขาวทีถ่ ูกลําเลียงมารวมตัวกันบริเวณนี้เขาไปในปลองชุดโซลําเลียง (10) หรือที่เรียกวา “คอ
เกี่ยว” โซลําเลียง ซึ่งมีซี่เหล็กฉากติดพาดขวางอยูจะดึงพาตนขาวขึน้ ไปตามปลองเพื่อลําเลียง
สงเขาสูระบบนวด
ระบบนวดของเครื่องเกี่ยวนวดขาวจะมีลักษณะคลายกับระบบนวดที่ใชในเครื่องนวด
ขาวของไทยที่มีการใชกันอยางแพรหลาย คือ เปนแบบไหลตามแกน (axial flow) ซึ่งจะแตกตาง
กับระบบนวดที่ใชในเครื่องเกี่ยวนวดขาวทั่วไปของตางประเทศที่เปนระบบแบบไหลตามแนว
รอบวง (tangential flow) ทั้งนี้สวนประกอบที่สําคัญ คือ ลูกนวด (11) ฟนลูกนวด (12) ตะแกรง
รอบลูกนวด (13) และครีบเกลียววงเดือน (14) โดยซี่ฟนนวดจะหมุนตีแยกเมล็ดขาวใหหลุดออก
จากตนและรวง เมล็ดขาวเปลือก เศษฟางทอนสั้นๆ และฝุนละอองจะรวงลอดชองวางของ
ตะแกรงรอบลูกนวดตกลงไปบนตะแกรงโยก (15) สวนฟางยาวจะถูกลูกนวดหมุนพาลําเลียงไป
ตามครีบเกลียววงเดือน ซึ่งติดตั้งอยูบนตะแกรงบริเวณปลายอีกดานหนึ่งของลูกนวด แลวถูก
208

เปาออกไปจากเครื่องเกี่ยวนวด สวนเมล็ดขาวเปลือก เศษฟางขาวทอนสั้นและฝุน ละอองที่ลอด


ตะแกรงลางแยกตัวออกจากระบบนวดจะตกลงบนสวนที่เปนเหล็กแผนทึบของตะแกรงโยกกอน
แลวถูกโยกใหไหลไปสูบริเวณที่เปนตะแกรงรูกลม เมล็ดขาวเปลือกพรอมฝุนละอองบางสวนจะ
ลอดรูตะแกรงลงไปบนถาดรับเมล็ดขาวเปลือกผานกระแสลมที่เปามาจากพัดลม (16) ที่ติดตั้ง
อยู ลมจะเปาฝุนละอองที่ลอดรูตะแกรงโยกลงไปพรอมทั้งเศษฟางและสิ่งสกปรกตาง ๆบน
ตะแกรงโยกใหกระจายออกไปจากเครื่องเกี่ยวนวดขาว เมล็ดขาวเปลือกที่ถูกลมเปาคัดแยกทํา
ความสะอาดแลว จะตกลงไปในรางเกลียวลําเลียงเมล็ดขาวเปลือก (17) แลวถูกลําเลียงไปสู
ปลองชองทางออก ซึ่งจะมีคนคอยใสและเปลี่ยนกระสอบบรรจุอยางตอเนื่อง สวนเมล็ด
ขาวเปลือกและเศษฟางบางสวน ซึ่งไมสามารถลอดผานรูของตะแกรงโยก หรือถูกลมเปาออก
จากเครื่องเกี่ยวนวดขาว จะถูกโยกไหลตกลงไปในรางเกลียวลําเลียงขาวเปลือกและสิ่งเจือปน
(18) ซึ่งติดตั้งอยูบริเวณปลายตะแกรงโยก แลวถูกลําเลียงไปตามทอเกลียวลําเลียงกลับเขาไป
ในระบบนวด เพื่อทําการนวดคัดแยกและทําความสะอาดอีกครั้งหนึ่ง โดยการทํางานจะ
หมุนเวียนตอเนื่องตลอดเวลา ในขณะที่เครื่องเกี่ยวนวดขาวเคลื่อนที่และระบบกลไกตางๆ หมุน
ทํางานอยู
ในปจจุบัน เครื่องเกี่ยวนวดขาวไดมีการพัฒนาเปนแบบมีถังเก็บ ทีม่ ีระบบกลไกเพิ่มขึ้น
คือทอลําเลียงขาวเม็ด (19, 20) จากรางเกลียวลําเลียงเม็ดเขาสูถังเก็บเมล็ด (21) เมื่อถังเก็บ
เต็มก็จะลําเลียงสูรถบรรทุกโดยทอสงขาวเม็ด (22) ซึ่งสามารถหมุนออกมาจากดานขางของ
เครื่องเกี่ยวนวดขาวได ดังนั้นจึงเห็นไดวา ระบบกลไกทุกสวนจะตองทํางานสัมพันธกันอยาง
เหมาะสมและถูกตอง หากระบบกลไกสวนใดสวนหนึ่งทํางานไมเต็มที่ หรือไมสัมพันธกับระบบ
กลไกอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ยอมสงผลใหประสิทธิภาพการทํางานโดยรวมของเครื่องเกี่ยวนวดลด
ต่ําลง
วิธีใชเครื่องเกีย่ วนวดมีสิ่งทีค่ วรจะตองเอาใจใสดังตอไปนี้
1. ใบมีดควรจะคมและตั้งใหต่ําพอที่จะตัดตนพืชใหขาดไดหมดตลอดความยาว
ของใบมีด
2. ลอโนมควรจะอยูในระยะที่สงู พอที่จะโนมตนพืชเขาหาใบมีดไดทุกตน
3. ความเร็วของลูกนวด และระยะหางระหวางฟนนวดกับตะแกรงนวดควรจะตั้ง
ใหถูกตามหนังสือคูมือการใชเครื่องเกี่ยวนวด
4. ตะแกรงโยกสําหรับแยกเมล็ดไมควรจะรับฟางและเมล็ดที่จะแยกมากเกินไป ถา
มีฟางมากเมล็ดจะไมมีโอกาสตกลงไปขางลาง
5. ปรับสายพานที่หมุนพัดลม เพื่อใหไดลมที่มีความเร็วพอที่จะเปาเอาสิ่ง
แปลกปลอมออกจากเมล็ด และปรับทิศทางลมที่ตวั ปรับทิศทาง (deflector) เพื่อใหลมพุงผาน
ตะแกรงโยกอยางถูกตอง
เครื่องเกี่ยวนวดเปนเครื่องมือชนิดหนึ่งที่ตองการการบํารุงรักษา ประจําวันโดยเฉพาะ
อยางยิ่งการหลอลื่น จุดที่ตอ งการหยอดน้ํามันและอัดจารบีมีอยูมาก ดังนั้น ผูใชอาจจะตอง
209

เสียเวลาเปนชั่วโมงในตอนเชาสําหรับการหยอดน้ํามันหรือการบริการอื่นๆ กอนที่จะนําออกไป
ใชงาน ถาหากวาเครื่องเกีย่ วนวดนั้นมีเครื่องยนตขับเคลื่อนดวยตัวเอง ก็ควรจะมีการ
บํารุงรักษาเชนเดียวกับเครือ่ งยนตของรถแทรกเตอร แตมีจุดที่ตองการความเอาใจใสทุกๆ วัน
คือหมอกรองอากาศและหมอน้ํา เนื่องจากเครื่องเกี่ยวนวดทํางานในที่มีฝุนละอองมาก ดังนั้น
ผูใชควรจะแนใจวาไมมีอะไรมาอุดตัน
ทุกๆ เชากอนที่จะนําเครื่องเกี่ยวนวดออกไปทํางาน ผูใชควรจะปฏิบัติดังนี้
1. ดึงเศษฟางหรือเศษหญาที่อาจติดอยูตามมูเล และซี่เฟอง หรือที่อื่นๆ ออก
2. ดึงเศษฟางหรือเศษหญาที่อาจจะติดหรือสะสมอยูภายในเครื่องเกี่ยวนวดออก
เชน ที่ตะแกรงรอน และที่ฟนโยก
3. ทําความสะอาดถาดรับเมล็ดและตะแกรงรอน
4. ทําความสะอาดสวนลางของตะแกรงโยกสงฟาง เพราะถาอากาศชื้นจะเปนที่
สะสมของเศษระแง (awn) ซึ่งจะทําใหอุดตันได
5. ทําความสะอาดลูกนวด
6. ทําความสะอาดฟนลูกนวดเปนประจํา เพราะสิ่งสกปรกที่ติดอยูกับลูกนวดจะ
ทําใหลูกนวดไมสมดุล เมื่อหมุนจะเกิดการสั่น
7. ตรวจสอบและปรับแตงชุดใบมีดเปนประจํา ถาใบมีดหักหรือบิ่นควรจะ
ซอมแซมหรือเปลี่ยนใหม
8. ตรวจสอบความตึงของโซและสายพาน
9. หยอดน้ํามันเครื่องและอัดน้ํามันจารบีทุกๆ จุดที่ระบุไวในหนังสือคูมือของ
เครื่องเกี่ยวนวด
10. บํารุงรักษาเครื่องยนตและระบบเกียร
ในระหวางการทํางานผูใชเครื่องเกี่ยวนวดควรจะมีการปรับดวย เนือ่ งจากสภาพของ
พื้นที่แตกตางกัน ชิ้นสวนที่มีการปรับแตงมากไดแกลูกนวด ตะแกรงนวด และลมเปา
ขาวเปนสินคาออกที่สําคัญของไทย เนื่องจากประชากรสวนใหญมีอาชีพทํานา ซึ่งในป
2550 สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกขาวรวม 67,677 พันไร ไดผลผลิต
30.3 ลานตัน คิดเปนมูลคา 201,338 ลานบาท แตสํานักวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บ
เกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตรไดประเมินความสูญเสียผลผลิตขาวหลังการเก็บเกี่ยว พบวามี
ประมาณ 30% จากปริมาณขาวที่ผลิตได เทากับ 30.3 ลานตัน จะมีปริมาณขาวที่สูญเสีย
เทากับ 9.2 ลานตัน คิดเปนมูลคา 61,152.4 ลานบาท จะเห็นวาผลผลิตขาวที่สูญเสียนั้นมีมูลคา
มหาศาล ดังนั้นการจัดการขาวหลังการเก็บเกี่ยวที่ถูกตองจึงเปนเรื่องสําคัญและจําเปนอยางยิ่ง
ทั้งนี้นอกจากจะลดการสูญเสียที่จะเกิดขึน้ โดยตรงกับผลผลิตขาวในขั้นตอนสุดทายของ
กระบวนการผลิตแลว ยังลดความสูญเสียทรัพยากรตางๆ ที่ใชในการผลิตขาวอันไดแก
ทรัพยากรดินและน้ํา รวมถึงแรงงานคน เกษตรกรจึงควรตระหนักถึงการจัดการหลังการเก็บ
เกี่ยวขาวทีถ่ ูกตองซึ่งเริ่มตั้งแต การเก็บเกี่ยว การนวด การลดความชื้น และการเก็บ
210

การเก็บเกี่ยวขาวตองทําในระยะเวลาและความชื้นทีเ่ หมาะสมเนื่องจากสงผลตอปริมาณ
การสูญเสียและคุณภาพเมล็ดขาว เกษตรกรสามารถเก็บเกี่ยวขาวไดหลายวิธีดว ยกัน หากเก็บ
เกี่ยวขาวดวยเครื่องเกี่ยวนวด ควรเก็บเกี่ยวที่ระยะ 25 - 30 วันหลังออกดอก หรือที่ความชื้น
เมล็ดประมาณ 23 % สวนการเก็บเกี่ยวดวยแรงงานคนโดยใชเคียวเกี่ยว ควรเก็บเกี่ยวที่ระยะ
30 วันหลังออกดอก เพราะการเก็บเกี่ยวเร็วหรือลาชากวาระยะที่กําหนด จะสงผลตอปริมาณ
การสูญเสียผลผลิตขาว สวนการเก็บเกี่ยวดวยเครื่องเกี่ยวแบบวางราย จะกระทําที่ระยะการ
เกี่ยวขาวโดยใชเครื่องเกี่ยวนวดขาว เดียวกับการเก็บเกี่ยวดวยแรงงานคน
212

บทที่ 8 การจัดการเครื่องจักรกลการเกษตร
(Farm Machinery Management)
213

กอนที่จะซื้อเครื่องจักรกลการเกษตรมาใช เกษตรกรจําเปนที่จะตองตัดสินใจวา
เครื่องจักรกลการเกษตรชนิดไหน ขนาดเทาไร จึงจะเหมาะสมกับรถแทรกเตอร และใชงานใน
ไรไดอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด
เครื่องจักรกลการเกษตรมีใหเลือกใชหลายขนาด เกษตรกรอาจจะซื้อ จาง หรือ เชา
มาทํางานได ขนาดของเครือ่ งจักรกลการเกษตรเหลานีเ้ รียกเปนกําลังมา เปนความกวาง ฯลฯ
แตโดยแทจริงแลว การเลือกขนาดของเครื่องจักรกลการเกษตรควรจะขึ้นอยูกับความสามารถ
ในการทํางานของเครื่องมือนั้นมากกวา
การจัดการเครื่องจักรกลการเกษตร (farm machinery management) คือการประมาณ
ความสามารถในการทํางานเชิงพื้นที่ (effective field capacity) ของเครื่องจักรกลการเกษตร ซึ่ง
ใชทํางานเฉพาะอยาง

ความสามารถของเครื่องจักรกลการเกษตร
ความสามารถในการทํางานของเครื่องจักรกลการเกษตร (capacity of farm machinery)
คืออัตราที่เครือ่ งจักรกลการเกษตรชนิดนัน้ ทํางานได โดยมีปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวของคือ ความ
กวางของพื้นที่ ความเร็วของการทํางาน ซึ่งรวมทั้งเวลาทีส่ ูญเสียไปในการเลีย้ วกลับ การ
ซอมแซม หรือการหยุดเติมน้ํามันเชื้อเพลิง
ความสามารถในการทํางานของเครื่องจักรกลการเกษตรแบงออกเปน 2 ชนิด คือ
ความสามารถในการทํางานเชิงพื้นที่ (effective field capacity) และความสามารถในการทํางาน
เชิงทฤษฎี (theoretical field capacity) ความสามารถในการทํางานเชิงพื้นที่ เปนอัตราการ
ทํางานที่แทจริง ภายในระยะเวลาที่กําหนดให สวนความสามารถในการทํางานเชิงทฤษฎี คือ
อัตราการทํางานเมื่อเครื่องมือนั้นทํางานไดอยางสมบูรณ (100%) โดยใชความเร็วไดตามที่
กําหนด และใชความกวางของเครื่องมือไดเต็มที่

ความสามารถในการทํางานเชิงทฤษฎี
ความสามารถในการทํางานของเครื่องจักรกลการเกษตรเชิงทฤษฎี คืออัตรา (ไร/ชั่วโมง
หรือเฮกตาร/ชั่วโมง) ที่เครือ่ งมือเหลานั้นทํางาน โดยไมมีการเสียเวลาไปกับการเลี้ยวกลับ การ
หยุดเครื่อง เครื่องเสีย ความสามารถในการทํางานดังกลาว กําหนดขึน้ จากความกวางของ
เครื่องจักรกลการเกษตร (W) ความเร็วขณะทํางาน (S) สมการที่ใชในการหาความสามารถใน
การทํางานเชิงทฤษฎี (TFC) คือ

TFC (เฮกตาร/ชม.) = W x S (กม. /ชม.) ÷ 8.25


214

เวลาทํางานที่ไดผล
เวลาทํางานทีไ่ ดผล (effective operating time) คือเวลาที่เครื่องมือทุนแรงทํางานได
จริงๆ โดยไมรวมถึงเวลาทีส่ ูญเสียไปเนื่องจากสาเหตุอื่น เวลาที่สูญเสียไปมีสามเหตุมาจาก
1. เวลาที่เลี้ยวกลับหรือที่เครื่องหมุนเปลาๆ โดยไมไดงาน การเลี้ยวกลับที่มุมเปน
การเสียเวลาที่สําคัญ การขับขามทายไรหรือบริเวณหัวงานก็เปนการสูญเสียเวลาที่หลีกเลี่ยง
ไมได (เวลาทีเ่ ครื่องหมุนเปลาๆ) โดยเฉพาะเมื่อขับขามไรที่มีขนาดสั้น และทายไรกวาง
2. การหยุดรับหรือสงสิ่งของตางๆ ดังตอไปนี้
2.1 ผลผลิตที่เก็บเกี่ยว
2.2 เมล็ด
2.3 ปุย
2.4 สารเคมี
2.5 น้ํา
3. การหยุดทําความสะอาดเครื่องมือที่อุดตัน
4. การหยุดเติมน้ํามันเชื้อเพลิงและน้ํามันหลอลื่น (นอกเหนือจากการบํารุงรักษา
ประจําวัน นอกไร)
5. การหยุดรอเครื่องมืออื่น หรือบุคคลอื่น
6. มีสิ่งขัดจังหวะอื่นๆ เชนแขกมาเยี่ยม เครื่องเสีย ฯลฯ
สําหรับการซอมแซมใหญ การบํารุงรักษาประจําวัน และการเดินทางเขาไปทํางานใน
ไรหรือเดินทางกลับ ไมถือวาเปนเวลาทีส่ ูญเสียไป

ความสามารถในการทํางานเชิงพื้นที่
ความสามารถในการทํางานเชิงพื้นที่ของเครื่องจักรกลการเกษตรขึ้นอยูกับเปอรเซ็นต
ความกวางของเครื่องมือที่ทํางานไดจริงๆ รวมทั้งความเร็วและเวลาทีส่ ูญเสียระหวางการ
ทํางาน เครื่องมือบางชนิด เชน คราด พรวน เครื่องตัดหญา หรือเครื่องเก็บเกี่ยวไม
สามารถทํางานไดตามความกวางทั้งหมด เพราะมีโอกาสที่จะลื่นไถล สวนความเร็วที่ใชก็ควร
จะสัมพันธกับสภาพของพื้นที่และกําลังทีม่ ีอยู ความเร็วที่เหมาะสมหรับการทํางานของ
เครื่องจักรกลการเกษตร แสดงไวในตารางที่ 8.1 สมการที่ใชหาความสามารถในการทํางานเชิง
พื้นที่ (EFC) คือ
EFC (เอเคอร/ชม.) = S (ไมล/ชม.) x W (ฟุต) x FE (จุดทศนิยม) ÷ 8.25
EFC (เฮกตาร/ชม.) = S (กม. /ชม.) X W (ฟุต) x FE (จุดทศนิยม) ÷ 10
215

ประสิทธิภาพการทํางานในพื้นที่ของเครื่องจักรกลการเกษตร
ประสิทธิภาพการทํางานในพื้นที่ของเครือ่ งจักรกลการเกษตร (field efficiency หรือ FE)
คือความสามารถในการทํางานเชิงพื้นที่หารดวยความสามารถในการทํางานเชิงทฤษฎี คูณดวย
100 มีหนวยเปนเปอรเซ็นต
ประสิทธิภาพการทํางานในพื้นที่ของเครือ่ งจักรกลการเกษตรต่ํากวา 100 % เสมอ และ
ประสิทธิภาพการทํางานในพื้นที่ของเครือ่ งจักรกลการเกษตรชนิดเดียวกันมีคาไมคงที่ แตจะ
ขึ้นอยูกับรูปรางและขนาดของไร รูปแบบการทํางาน (driving pattern of field operation)
ผลผลิตและความชื้นของพืช

ตารางที่ 8.1 ความเร็วในการทํางานของเครื่องจักรกลการเกษตร


เครื่องจักรกลการเกษตร ความเร็ว (กม./ชม.)
ไถกระทะ (disk plow) 5.6 – 8.0
ไถหัวหมู (mould board plow) 5.6 – 8.0
พรวนจาน (disk harrow) 5.6 – 9.7
จอบหมุน (rotary hoe) 8.0 – 17.7
คราดฟนแบบสปริง (spring tooth harrow) 5.6 – 9.7
คราดฟนแบบซี่แข็ง (spike tooth harrow) 5.6 – 9.7
เครื่องหยอดเมล็ด (เrain drill) 4.0 – 8.0
เครื่องหวานเมล็ด (broadcaster) 6.4 – 10.5
เครื่องหยอดเมล็ดขาวโพด (corn planter) 5.6 – 9.7
เครื่องเก็บขาวโพด (corn picker) 4.0 – 5.6
เครื่องเก็บฝาย (cotton picker) 2.4 – 4.8
เครื่องตัดหญา (mower) 5.6 – 8.9
เครื่องสีฝด (winnower) 5.6 – 8.0

การสรางเครื่องจักรกลการเกษตรปจจุบันนี้ มีความสลับซับซอนและราคาแพง
เพราะฉะนั้น จึงควรจะใชเครื่องจักรกลการเกษตรใหไดประโยชนมากที่สุด การเพิ่มความสา
มากรถในการทํางานวิธีหนึง่ ก็คือ พยายามลดเวลาที่สญ ู เสียไปในไรใหเหลือนอยที่สุด
การศึกษาเรื่องเวลาทีส่ ูญเสียไป ทําใหการจัดการเครื่องจักรกลการเกษตรดีขึ้น การเลี้ยวกลับ
บอยๆ อาจจะแกไขไดโดยการปรับปรุงความกวางของหัวงาน (headland) หรือแกไขรูปแบบ
ของการเลี้ยวกลับ (turning pattern) เสียใหม สวนการรับและสงสิ่งของในไรนั้น ถาทําใหนอย
ครั้งลง ก็จะเปนการเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานในพื้นที่เชนเดียวกัน
216

ประสิทธิภาพการทํางานในพื้นที่ของเครือ่ งจักรกลการเกษตรชนิดตางๆ แสดงไวใน


ตารางที่ 8.2

ตารางที่ 8.2 ประสิทธิภาพการทํางานในพื้นที่ของเครือ่ งจักรกลการเกษตร

การทํางาน ประสิทธิภาพการทํางาน (%)


ไถหัวหมู 75 – 85
ไถกระทะ 77 – 90
พรวนจาน 77 – 90
คราดฟนแบบสปริง และเดือย 65 – 80
จอบหมุน 75 – 80
เครื่องปลูกขาวโพด 60 – 75
เครื่องปลูกขาวโพด พรอมใสปุยหรือยาฆาแมลง 45 – 80
เครื่องหยอดเมล็ด 65 – 80
เครื่องหวานเมล็ด 65 – 70
เครื่องตัดหญา 75 – 85
เครื่องเก็บขาวโพด 55 – 70
เครื่องเก็บฝาย 60 – 75
เครื่องพนยา 55 – 65

ขนาดของเครื่องจักรกลการเกษตร
การเลือกขนาดหรือความกวางของเครื่องจักรกลการเกษตร (implement size) ที่
เหมาะสมที่สดุ สําหรับกิจการใดๆ ก็คือการเลือกที่ทําใหตนทุนทั้งหมด (total cost) ตอเฮกตาร
ต่ําที่สุด เมื่อไดตัดสินใจเลือกใชเครือ่ งจักรกลการเกษตรสําหรับพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งแลว ถา
เครื่องมือชนิดนั้นมีขนาดเล็กเกินไป จะทําใหตนทุนทัง้ หมดตอเฮกตารสูง ตนทุนที่สูงขึ้นนี้เกิด
จากคาแรงงานที่เพิ่มขึ้น แตถาเครื่องจักรกลการเกษตรที่ใชมีขนาดใหญเกินไป ก็จะทําให
ตนทุนทั้งหมดตอเฮกตารสงู ขึ้นดวย เพราะตนทุนคงที่ (fixed cost) เพิ่มขึ้น การคํานวณหา
ตนทุนทั้งหมดของเครื่องจักรกลการเกษตรขนาดตางๆ จะชวยทําใหการเลือกใชเครื่องจักรกล
การเกษตรไดเหมาะสมกับงานมากยิ่งขึ้น
การใชเครื่องจักรกลการเกษตรในไรแตละไร ควรจะมีเครื่องจักรกลการเกษตรขนาด
หนึ่ง (ทางทฤษฎี) ซึ่งเมื่อใชงานแลวจะเสียตนทุนนอยที่สุด ขนาดของเครื่องมือดังกลาวนี้เรียก
เปนความกวางคือ ฟุต หรือเมตร
217

กําลังของเครื่องจักรกลการเกษตร
การเลือกกําลัง (power) ของเครื่องจักรกลการเกษตรใหเหมาะสมกับงานในไร เปน
ปญหาที่ยุงยาก เพราะเกี่ยวของกับตนทุนของเครื่องจักรกลการเกษตรเหลานั้น ดังนั้นจึงมี
วิธีการบางประการที่จะนํามาคํานวณหากําลังที่ตองการ ถาเครื่องจักรกลการเกษตรมีกําลัง
ขับเคลื่อนในตัวเอง การวิเคราะหหากําลังงายกวาเครื่องจักรกลการเกษตรที่ตองอาศัยกําลังจาก
แหลงอื่น
รถแทรกเตอรและเครื่องจักรกลการเกษตรควรจะตองเขากันได (match) พอดี จึงจะให
ผลงานที่ดีและประหยัด ขนาดของเครื่องจักรกลการเกษตรที่ใหญที่สุดที่รถแทรกเตอรขนาดหนึ่ง
สามารถจะลากหรือสงกําลังไปฉุดได อาจจะไมใชขนาดที่เหมาะสมที่สุดก็ได ดังนั้น จึงควรจะรู
กําลังที่ตองการของเครื่องจักรกลการเกษตร เพื่อที่จะเขากันกับรถแทรกเตอรได คือรถ
แทรกเตอรสามารถที่จะสงกําลังไปใหเพียงพอ
กําลังมาขนาดตางๆ ที่ใช กอใหเกิดปญหาแกเกษตรกร ถึงแมจะรูวาตองการใชกําลัง
มาเทาไร เพื่อที่จะทํางานในไรใหเสร็จตามกําหนด
กําลังมาตางๆ ที่กลาวถึงมีดังนี้
1. กําลังมาคานลาก (drawbar horsepower) หรือ DB hp คือกําลังมาที่สงผานลอรถ
แทรกเตอร เพื่อลากหรือฉุดเครื่องมือ
DB hp (กําลังมา) = D (ปอนด) x S (ไมล/ชม.) ÷ 375
DB kW (กิโลวัตต) = D (กิโลกรัม) x S (กม. /ชม.) ÷ 367
แรงฉุดลาก (Draft หรือ D) เปนแรงฉุดจากคานลาก (drawbar) ทีข่ นานกับทิศทางการ
เคลื่อนที่ของรถ แรงฉุดลากของเครื่องจักรกลการเกษตรชนิดตางๆ แสดงไวในตารางที่ 3
2. กําลังมาเพลาอํานวยกําลัง (power take off horsepower) หรือ PTO hp คือกําลังที่
เครื่องจักรกลการเกษตรตองการจากเพลาอํานวยกําลังของรถแทรกเตอร
PTO hp (กําลังมา) = (ปอนด-ฟุต) x N (รอบ/นาที) ÷ 5252
เมื่อ T = แรงบิด
N = รอบตอนาที
PTO hp (กิโลวัตต) = (กก.-ม.) x N (รอบ/นาที) ÷ 976
3. กําลังมาไฮดรอลิค (hydraulic horsepower) หรือ Hydraulic hp คือกําลังที่
เครื่องจักรกลการเกษตรตองการจากระบบไฮดรอลิคของรถแทรกเตอร กําลังนี้ขึ้นอยูกับอัตรา
การไหลของน้ํามันไฮดรอลิค (F) และความดัน (P)
Hydraulic hp (กําลังมา) = F (แกลลอน/นาที) x P (ปอนด/ตารางนิ้ว) ÷ 1714
Hydraulic hp (กิโลวัตต) = F (ลิตร/นาที) x P (กก. /ซม.) ÷ 611
218

ตารางที่ 8.3 แรงฉุดลากที่เครื่องจักรกลการเกษตรตองการ


การทํางาน แรงฉุดลาก แรงฉุดลาก
(ปอนด/ฟุตของความกวาง) (กก./ซม.ของความกวาง)
ไถหัวหมู ไถจาน 850 12.69
พรวนจาน (มีตอซัง) 280 4.18
พรวนจาน (เตรียมดิน) 250 3.73
เครื่องปลูกพืชใหเปนแถว 110 1.64
เครื่องหยอดเมล็ด 105 1.57
คราดฟนแบบสปริง 180 2.69
จอบหมุน 100 1.49
เครื่องตัดหญา 130 1.94
เครื่องเก็บขาวโพด 650 9.70

ตนทุนของการใชเครื่องจักรกลการเกษตร
ตนทุนของการใชเครื่องจักรกลการเกษตร (cost of using farm machinery) จะทําให
เกษตรกรเขาใจถึงเงินทุนทีจ่ ะตองจายไปในการทํางานดวยเครื่องจักรและเครื่องมือทุนแรง
เกษตรกรสามารถที่จะวางแผนการลงทุนไดอยางมีประสิทธิภาพ ตนทุนทั้งหมดของการใช
เครื่องจักรกลการเกษตร แบงออกเปน 2 ประเภทคือตนทุนคงที่ ( fixed or ownership cost)
และตนทุนแปรผัน (variable or operating cost)

ตนทุนคงที่
ตนทุนคงที่ไมไดขึ้นอยูกับการใชเครื่องมือ แตเปนตนทุนที่ตองเสียไปเสมอ ตนทุน
ชนิดนี้ไดแก คาเสื่อมราคา คาดอกเบี้ย คาประกัน และคาโรงเรือน
1. คาเสื่อมราคา (depreciation)
คาเสื่อมราคา คือ คาที่เกิดขึ้นจากการสึกหรอ สนิม ผุพัง และเกาพนสมัย หรือ
เรียกวาเปนคาที่ตองจายไปตลอดอายุของเครื่องมือ
การคํานวณคาเสื่อมราคาโดยวิธีเสนตรง (straight-line method) เปนวิธีทไี่ ดคาเสือ่ ม
ราคาตอปคงที่ตลอดอายุของเครื่องมือ และเปนวิธที ี่เหมาะสมที่สุด
P−S
D =
L
D = คาเสื่อมราคา
P = ราคาซื้อ
S = มูลคาซาก (salvage cost) = 10% P
L = อายุการใชงาน (salvage cost)
219

2. คาดอกเบีย้ (interest on investment)


คาดอกเบี้ย ถือวาเปนตนทุน โดยไมคํานึงถึงวาจะเปนเงินที่ยืมมาหรือไม อัตรา
ดอกเบี้ยนี้ควรจะเทากับอัตราดอกเบี้ยที่ไดหรือจายไป ถาเอาเงินกอนนี้ไปลงทุนทําอยางอื่น
อัตราดอกเบี้ยที่แนะนําใหใชคือ 7% หรืออัตราอื่นๆ ตามความเหมาะสม
ถาคาเสื่อมราคาตอปคงที่ (เมื่อใชวิธเี สนตรง) คาดอกเบี้ย(I) จะหาไดจากสูตร
P+S
I = i
2
i = อัตราดอกเบี้ย
3. คาประกัน (insurance)
คาประกันรวมอยูในคาตนทุนดวย เพราะเปนจํานวนเงินที่ควรจะไดรับ เมื่อรถ
แทรกเตอรหรือเครื่องมือทุนแรงประสบอุบัติเหตุ เชนไฟไหม คาประกันตอปควรจะเทากับ 0.25
% ของราคาซื้อ
4. คาโรงเรือน (housing)
คาโรงเรือนก็ควรจะรวมอยูในคาตนทุนดวย ถึงแมวาจะไมมีโรงเรือนก็ตาม แต
วาอายุใชงานของเครื่องมือจะเพิ่มขึ้นถามีโรงเรือน คาโรงเรือนนี้ควรจะเทากับ 1% ของราคาซื้อ
5. คาภาษี
คาภาษีคิดตามที่กฎหมายกําหนด เชนรถแทรกเตอรจะเสียภาษี 50 บาท/ป

ตนทุนผันแปร
ตนทุนผันแปร ขึ้นอยูกับชั่วโมงการใชงาน ถาชั่วโมงการใชงานสูงขึ้น ตนทุนผันแปรก็
สูงขึ้นดวย ตนทุนชนิดนี้ไดแกคาแรง คาน้ํามันเชื้อเพลิง คาซอมแซมและบํารุงรักษา และคา
น้ํามันหลอลื่น

1. คาน้ํามันเชื้อเพลิง
คาน้ํามันดีเซล (D) ที่ใชโดยเฉลี่ยตอป ไดจากการทดสอบที่มหาวิทยาลัยเนบราสกา
ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยใชสูตร
D (แกลลอน/ชม.) = 0.044 x PTO hp (กําลังมา)
D (ลิตร/ชม.) = 0.124 x PTO hp (กิโลวัตต)

2. คาน้ํามันหลอลื่น
คาน้ํามันหลอลื่นที่ใชโดยเฉลี่ยตอป คิดไดจากราคาซื้อของเครื่องมือ ดังแสดงไวใน
ตารางที่ 8.4
220

3. คาซอมแซม
การประเมินคาซอมแซมทําไดยาก การซอมแซมบางครั้งเกิดจากการผุพัง สนิม
อุบัติเหตุ คาซอมแซมบางอยาง เชน แบตเตอรี่ ยาง ลวนแลวแตเกิดจากการใชงานทั้งสิ้น ถา
ยิ่งใชเครื่องมือมาก คาซอมแซมก็ยิ่งเพิ่มขึ้น คาซอมแซมโดยเฉลี่ยตอปหาไดจากสูตร
คาซอมแซมเฉลี่ยตอป = ราคาซื้อ x คาซอมแซมสะสมตามอายุใชงาน
จํานวนปที่ใช

คาซอมแซมสะสม (accumulated repair cost) คิดไดจากเปอรเซ็นตของราคา


ซื้อดังที่แสดงไวในตารางที่ 8.5

4. คาแรงงาน (labor)
การประเมินคาแรงงานทําไดยาก เพราะขึ้นอยูกับความชํานาญ แรงงานหางายหรือไม
และใชแรงงานทดแทนไดหรือไม คาแรงงานประมาณไดโดยการเพิ่มชั่วโมงการใชงานของ
แทรกเตอรเขาไปอีก 10% จํานวน 10% นี้ คือเวลาทีเ่ สียไปในการเติมน้ํามันเชื้อเพลิง อัดจาร
บี การปรับเครื่องมือขณะเดินทางไปทํางานและกลับ

ดังนั้นตนทุนทั้งหมดหรือคาใชจายรวมทีเ่ กษตรกรจะตองจายในแตละปที่ซื้อได
เครื่องจักรกลการเกษตรมาใชจึงสามารถคํานวณไดจากตนทุนคงที่รวมกับตนทุนผันแปร
221

ตารางที่ 8.4 แสดงคาน้ํามันหลอลื่นที่คิดจากราคาซื้อ


เครื่องจักรกลการเกษตร เปอรเซ็นตของราคาซื้อ
พัดลมขนาดใหญ 0.5
เครื่องเกี่ยวนวด (ขับดวยเพลาอํานวยกําลัง) 0.5
เครื่องเกี่ยวนวด (ขับดวยเครื่องยนต) 1.0
เครื่องเกี่ยวนวด (ขับเคลื่อนดวยตัวเอง) 0.4
เครื่องเก็บขาวโพด 1.0
ไถ 0.5
พรวน 0.3
เครื่องเก็บเกี่ยวหญา 0.5
เครื่องหยอดเมล็ด 0.7
เครื่องอัดฟาง 0.8
เครื่องสงหญาแหง 0.5
รถแทรกเตอร 0.7

ตารางที่ 8.5 คาซอมแซมสะสมของเครื่องจักรกลการเกษตร (เปอรเซ็นตของราคาซื้อ)


ชั่วโมงที่ใช เครื่องมือเตรียมดิน เครื่อง เครื่อง รถแทรกเตอร
เครื่องพนสารเคมี หยอดเมล็ด หวานปุย ชั่วโมงที่ใช คาซอมแซมสะสม
50 1.0 1.2 1.4 100 .04
100 2.4 3.1 3.7 200 0.3
200 6.0 8.2 9.8 600 1.3
400 14.8 21.6 25.9 1000 2.9
600 25.1 38.0 45.7 2000 8.2
800 36.4 56.2 68.3 3000 15.0
1000 44.7 77.2 93.4 4000 23.1
1200 61.7 100.3 120.4 5000 32.3
1400 75.4 6000 42.3
1600 89.7 7000 53.5
1800 104.5 8000 65.3
2000 119.8 9000 77.9
10000 91.3
11000 105.3
12000 120.0
222

ตารางที่ 8.5 คาซอมแซมสะสมของเครื่องจักรกลการเกษตร (เปอรเซ็นตของราคาซื้อ) (ตอ)

ชั่วโมงที่ เครื่องเกี่ยวนวด เครื่องเกี่ยว เครื่องเก็บเกี่ยว เครื่องอัดฟาง


ใช (ขับเคลื่อนดวยตัวเอง) นวด(ขับเคลื่อน หญา (ขับเคลือ่ น (ขับเคลื่อนดวย
เครื่องเก็บเกี่ยวหญา ดวยเพลา ดวยเพลาอํานวย เพลาอํานวย
(ขับเคลื่อนดวยตัวเอง) อํานวยกําลัง) กําลัง) เครื่องเก็บ กําลัง)
เครื่องตัดหญาแบบ ขาวโพด พัดลม
หมุน ขนาดใหญ
50 .4 .6 .5 .3
100 .9 1.5 1.2 .9
200 2.4 4.0 3.2 2.3
400 6.4 10.5 8.4 6.2
600 11.2 18.6 14.9 10.9
800 16.8 27.8 22.2 16.3
1000 23.0 38.0 30.4 22.2
1200 29.6 40.1 39.2 28.7
1400 36.7 60.9 48.6 35.6
1600 44.3 73.4 85.6 42.9
1800 52.3 86.6 69.1 50.6
2000 60.6 100.3 80.1 58.6
2200 67.0
2400 75.6
223

บทที่ 9 ความปลอดภัยในไรนา
(Farm Safety)
224

บทนํา

การใชเครื่องจักรกลการเกษตร มีแนวโนมที่จะเพิ่มขึ้นทุกป เชนเดียวกับอุบัติ


เหตุหรืออันตรายที่เกิดขึ้นกับผูที่ใชเครื่องมือหรือเกษตรกร ซึ่งมีสถิติเพิ่มขึ้นดวย อุบัติเหตุที่
เกิดขึ้นทําใหบางคนไดรับบาดเจ็บ พิการ หรือเสียชีวติ ทั้งนี้ก็เพราะขาดความสนใจและความ
ระมัดระวังในการใชเครื่องจักรกลการเกษตรใหถูกวิธี ดังนั้นจึงไดขาวอยูเสมอวาคนขับรถ
แทรกเตอร ถูกรถแทรกเตอรทับถึงแกชีวติ หรือเกษตรกรถูกพิษยาฆาแมลงถึงแก
ชีวติ นอกจากนี้ยังมีตัวอยางอื่นๆ เชน ตกจากรถพวง ตกจากรถแทรกเตอร ใบมีดรถตัด
หญาตัดขาขาด แตประการที่ถือวาโงเขลา และเลวรายมากที่สุดคือ การที่ผูใชเครือ่ งจักรกล
การเกษตรพยายามที่จะปรับหรือตั้งเครือ่ งมือขณะที่กําลังเดินเครื่องอยู เพราะอุบัติเหตุจะ
เกิดขึ้นอยางแนนอน อุบัตเิ หตุที่กลาวมาเปนอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นแกรางกาย อุบัติเหตุอีก
ประการหนึ่งคือ อุบัตเิ หตุทเี่ กิดขึ้นกับจิตใจและระบบประสาท ซึ่งจะทําใหพิการทีละนอยๆ เชน
รถแทรกเตอรหรือเครื่องจักรกลการเกษตรที่มีเสียงดังมาก เมื่อใชไปนานๆ จะทําใหผูใชเกิดหูตึง
หรือโรคประสาทได หรือถารถแทรกเตอร หรือเครื่องจักรกลการเกษตรสั่นมากๆ ก็จะทําใหเกิด
โรคเกี่ยวกับกระดูกสันหลังไดเชนเดียวกัน

ความปลอดภัยเมื่อใชรถแทรกเตอรและเครื่องจักรกลการเกษตร
อุบัติเหตุทั้งหลายจะไมเกิดขึ้นโดยเด็ดขาด ถาคนขับรถแทรกเตอรจะขับรถ
แทรกเตอรดว ยความระมัดระวัง และดูแลรักษารถแทรกเตอรใหอยูในสภาพดีอยูเสมอ ขอควร
ระวังเมื่อใชรถแทรกเตอรและเครื่องจักรกลการเกษตรมีดังตอไปนี้
1. ควรเก็บน้ํามันเชือ้ เพลิงไวในทีป่ ลอดภัยและหางจากบานพักอาศัยอยางนอย 15
เมตร และควรจะมีสารเคมีที่ใชดับไฟอยูใ กลๆ กับรถแทรกเตอรและในโรงเก็บเครือ่ งจักรกล
การเกษตรเพือ่ ดับไฟที่อาจจะเกิดขึ้นได
2. ควรจะเติมน้ํามันเชื้อเพลิงในขณะที่เครื่องยนตเย็น หากเติมน้ํามันเชื้อเพลิงขณะ
ที่เครื่องยนตรอ นก็อาจจะเกิดระเบิดขึ้นได
3. อยาเติมน้ํามันเครื่องหรืออัดน้ํามันจาระบี ขณะที่เครื่องยนตยังติดอยูเปนอันขาด
เพราะชิ้นสวนที่ยังเคลื่อนไหวของเครื่องจักรกลการเกษตรอาจจะตัดนิ้วมือหรือแขนขาดได
4. ดับเครื่องยนตหรือเครื่องจักรกลการเกษตรกอนที่จะทําความสะอาด ปรับตั้ง หรือ
หยอดน้ํามันหลอลื่น
5. ตรวจดูฝาครอบที่ใชปดปองกันอันตรายจากสวนที่เคลื่อนที่ของเครื่องยนต และ
225

เครื่องจักรกลการเกษตรใหเรียบรอย กอนที่จะติดเครื่องทํางาน การละเลยไมปดฝาครอบ


อาจจะทําใหรางกายพิการได และถาไมมฝี าครอบก็ควรจะทําใส
6. อยาจับหรือเขาใกลสายพานโดยไมระมัดระวัง สายพานอาจจะตัดนิ้วมือขาดได
7. อยาสวมเสื้อผาทีห่ ลวมลุมลามขณะทํางาน เพราะชิ้นสวนที่เคลื่อนที่ของเครื่องมือ
ทุนแรงอาจจะดึงเสื้อผาเขาไป ทําใหเกิดอันตรายแกรางกายได
8. ตรวจดูบริเวณรอบๆ เครื่องจักรกลการเกษตรใหเรียบรอยกอนที่จะติดเครื่อง และ
เคลื่อนเครื่องจักรกลการเกษตร เพราะถามีเด็กหรือบุคคลอื่นยืนอยูใ กลๆ กับเครือ่ งมือก็จะไดรับ
อันตรายได
9. อยาใชนวิ้ มือลวงหรือหยิบเศษวัสดุหรือเมล็ดพืชในถังเก็บเมล็ดพืช สายพานหรือ
เกลียวสงที่ใชเปนตัวนําเมล็ดพืชใหเคลื่อนที่ที่อยูขางลางอาจจะตัดนิ้วมือขาดได
10. ถาเครื่องเก็บเกีย่ ว หรือเครื่องตัดหญาที่หยุดทํางานเนื่องจากมีใบหญา หรือ
เศษวัสดุติดอยูระหวางใบมีด อยาใชนวิ้ มือหยิบหรือเขี่ยเศษวัสดุขณะที่ยังไมดับเครื่อง เพราะ
ใบมีดอาจจะตัดนิ้วมือขาดเมื่อเศษวัสดุหลุดออกจากใบมีดแลว และเครื่องทํางานตามปกติ
11. หยุดเพลาอํานวยกําลังใหนิ่งกอนที่จะมีการปรับเครื่องมือหรือชิ้นสวนตางๆ หรือ
กอนที่จะลุกออกจากที่นั่งขับ
12. ถาใชรถแทรกเตอรลากเครือ่ งจักรกลการเกษตรอื่นๆ ควรจะตอเครื่องมือเหลานั้น
ที่คานลากหรือที่ที่ทําไวสําหรับตอโดยเฉพาะ การตอเครื่องจักรกลการเกษตรติดกับรถ
แทรกเตอรในตําแหนงที่สูงจะทําใหรถแทรกเตอรหงายหลัง
13. อยายืนบนคานลากของรถแทรกเตอร เพราะขณะที่รถเคลื่อนที่ลากเครื่องมือ
อาจจะทําใหพลัดตกลงมา และถูกเครื่องมือที่ลากนั้นตัดหรือทับแขนขาขาดได
14. อยานําเด็กหรือบุคคลอื่นขึน้ บนรถแทรกเตอรดวยขณะทํางาน เพราะเมื่อรถตก
หลุมหรือสะดุดวัตถุขวางทางอาจจะลวงตกลงมาถูกลอรถ หรือเครื่องจักรกลการเกษตรทับได
15. รถแทรกเตอรถูกสรางขึ้นมาเพื่อใชทํางานในพื้นที่เพาะปลูก ไมใชเพื่อประ
ลองความเร็ว ผูที่เสียชีวติ สวนมากเปนผูท ี่ขับดวยความเร็วสูง ดังนั้น ถาใชลากจูงไมควรขับ
ดวยความเร็วเกินกวา 25 กิโลเมตรตอชัว่ โมง และถาใชสําหรับไถพรวนไมควรเกิน 10 กิโลเมตร
ตอชั่วโมง
16. การขับรถแทรกเตอรขึ้นที่ลาดชันมากโดยไมมีเครื่องจักรกลการเกษตรพวงทาย
ควรจะ
ขับถอยหลังขึน้ เพื่อปองกันอันตรายอันอาจจะเกิดจากรถแทรกเตอรพลิกคว่ําทับเอาได
17. ควรหลีกเลี่ยงหลุมบอ และการใชความเร็วสูงๆ ขณะเลี้ยวรถแทรกเตอรเพราะ
อาจทําใหรถแทรกเตอรคว่ําได
18. การใชเบรกแยกลอเพื่อประโยชนในการเลีย้ วในเนื้อที่แคบๆ ตองใชอยางระมัด
ระวังเพื่อปองกันไมใหรถพลิกคว่ํา
19. การขับรถแทรกเตอรเมื่อมีรถพวงตอขางทาย ตองมีโซหรือเชือกเหนียว ๆ ผูก
226

หรือมัดสิ่งของที่บรรทุกไวใหแนน เพื่อปองกันสิ่งของนั้นหลนทับผูข ับขีเ่ มื่อรถลงเนิน


20. เมื่อขับรถแทรกเตอรบนถนนสาธารณะ ตองขับดวยความระมัดระวัง และปฏิบัติ
ตามกฎจราจร โดยการขับชิดซาย ใชสัญญาณไฟหรือสีเพื่อเตือนรถที่ขับตามขางหลัง ควรใชไฟ
สีแดงเมื่อขับขี่บนถนนสาธารณะ และใชไฟสีเหลืองหรือสีขาวเมื่อทํางานในพื้นที่เพาะปลูกตอน
กลางคืน และติดสีดําเหลืองเพื่อปองกันอุบัติเหตุบนทองถนน

ความปลอดภัยเมื่อใชสารเคมี

สารเคมีเชนยาฆาแมลง นอกจากจะเปนอันตรายตอผูใชแลวยังเปนอันตรายตอผูอื่น
รวมทั้งสัตวและพืชอีกดวย ดังนั้น ผูใชควรจะระวังในการใชสารเคมีดังตอไปนี้
1. อานคําแนะนําทุกๆ ขอ ของบริษัทผูผลิตสารเคมี
2. ถาคําแนะนําใหสวมเสื้อปองกันก็ควรจะทําตาม และถึงแมวาจะไมไดระบุไวก็
ควรจะสวมถุงมือยางเมื่อถือสารเคมี และใสหนากากทุกครั้งเมื่อพนยา
3. รูทิศทางลมขณะใชสารเคมี เพราะลมอาจจะพัดพาเอาสารเคมีที่ใชไปสูแ ปลง
ปลูกพืชชนิดอื่น ทําใหเกิดความเสียหายขึ้นได เพราะสารเคมีชนิดหนึ่งไมเหมาะสําหรับพืชทุก
ชนิด
4. ไมปลอยใหสารเคมีที่ใชลอยไปติดหญาเลีย้ งสัตว
5. หลังจากใชสารเคมีแลว ไมควรจะเทน้ํายาทีเ่ หลือหรือน้ําที่ใชลางเครื่องฉีดพน
สารเคมีลงไปในแมน้ําลําธาร เพราะอาจจะเปนอันตรายตอ ปลา นก และสัตวอื่นๆ
6. ภาชนะบรรจุสารเคมีหรือเครือ่ งพนสารเคมีที่ใชแลวควรจะเก็บไวในที่ๆ เด็ก
และสัตวแตะตองไมได
เกษตรกรผูใชรถแทรกเตอร เครือ่ งจักรกลการเกษตรและสารเคมีควรจะคํานึงอยูเสมอ
วาชิ้นสวนตางๆ ของรถแทรกเตอร และเครื่องจักรกลการเกษตรตลอดจนสารเคมี จะมี
ประโยชนกต็ อ เมื่อผูใชรูจักวิธใี ชเปนอยางดี และรูจักวิธีปองกันอุบัตเิ หตุอันอาจจะเกิดขึ้นไดทุก
เวลา ความระมัดระวังและนึกถึงความปลอดภัยอยูเสมอจะชวยใหเกษตรกรมีชีวติ อยูไดนาน
และมีรายไดมากขึ้น
บรรณานุกรม

nd
Anonymous. 1989. Application Techniques for Plant Protection in Field Crops. 2
Edition. Ciba-Geigy Ltd.
Aubineau M. et Saitthit, B. 1982. Les Reponses de I’Institut National Agronomique a
Trois Questions sur I’Axial-Flow. Pleins Champs, No. 30 : 20 -21
Bearger, Liljedanl, Carleton, and Mchibben. 1966. Tractors and Their Power Units.
nd
John Wiley & Sons, Inc., 2 Edition.
Baton, W.N. 1963. Mechanization of Tropical Crops. Temple Press Book Ltd., Russell
Square, London.
Boshoff, W.H. 1968. Using Field Machinery. Oxford University Press, London.
nd
Candelon, P. 1973. Les Machines Agricoles. 2 Edition, J-B BAILLTERE, Paris.
Chakraverty, A. 2003. Handbook of post harvest technology: cereals, fruits, vegetables,
tea, and spices. Marcel Dekker, Inc. New York. 884 pages.
th
Culpin, Claude. 1972. Farm Machinery. 9 Edition, Stripes Publishing Company,
Champaign Illinois.
Doane. 1972. Facts & Figures for Farmers. Doane Agricultural Service, Inc., Missouri.
Howkin, J.C. 1971. Tractor Ploughing. Ministry of Agriculture, Fisheries and Food.
Elliott Bros. and Yeoman Ltd., Liverpool.
Hunt, Donnell. 1973. Farm Power and Machinery Management. Sixth Edition. Iowa.
rd
John, F.R. 1952. Farm Gas Engines and Tractors. 3 Edition. McGraw-Hill Book
Company, New York.
Guo Peiyu and Han Lujia. 2002. Machinery and equipment for utilization of crop
residues as feed. Animal production and health paper 149. FAO. Rome.
http://www.fao.org/docrep/005/Y1936E/y1936e0b.htm
Kalsirisilp, R and G. Singh. 2000. Adoption of a Stripper Header for a Thai-made Rice
Combine Harvester. Agricultural & Aquatic Systems and Engineering Program,
School of Environment, Resources and Development, Asian Institute of
Technology, Bangkok, Thailand
Kepner, Bainer, and Barger. 1972. Principle of Farm Machinery. The AVI Publishing
nd
Company, Inc., Westport, Connecticut. 2 Edition.
Mathew, G.A. 1979. Pesticide Application Methods. Longman, London, England.
Mc colly and Martin. 1955. Introduction to Agricultural Engineering. McGraw- Hill, New
York.
Micron. 2008. The Micronair CS-14 compression sprayer. Available at:
http://www.micron.co.uk
rd
Sahay, J. 1992. Element of Agricultural Engineering. 3 Edition. Agro Book Agency.
New Chitragupta Nagar.
nd
Shippen, J.M. and Turner, J.G. 1973. Basic Farm Machinery. 2 Edition. Pergamon
Press, London.
Smith, Harris. 1965. Farm Machinery and Equipment. McGraw-Hill Book Company,
New York.
Stewardship Community. 2009. Nozzle selection and their optimized use. Available at:
http://www.stewardshipcommunity.com/resource-centre/downloads.html
nd
Stone, A.A. and Gulvin, H.E. 1966. Machines for Power Farming. 2 Edition,
Chichester, John wiley & Sons, Inc.,
Veillat et al. 1975. Le Machinisme en 700 Mots. La Ducumentation agricole BP No.
Special. Societe Francaise des Petroles, Coubevoie, Paris.
Water J.F.et al. 1976. Lexique Methodiq Illustre du Machinisme Agricole. CHEEMA,
Parc de Tourvoir, Antony, FRANCE.
Yanmer Diesel Engine; Instruction Book 5: Agricultural Machinery. Yanmar Diesel
Engine Co., Ltd.
คนึงศักดิ์ เจียรนัยกุล และคณะ. การพัฒนาเครื่องปลูกออย. เขาถึงไดที่ URL:
http://as.doa.go.th/fieldcrops/cane/mac/005.HTM
คนึงศักดิ์ เจียรนัยกุล และคณะ. 2548. วิจัยพัฒนาเทคโนโลยีการใชเครื่องดํานาในการผลิตเมล็ด
พันธุขาว. กลุม ทดสอบและพัฒนาเครื่องจักรกลเกษตร สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม
จักร จักกะพาก และยาธุมะสะ โดงะ. 2523 เครื่องจักรกลเกษตร บริษัทสํานักพิมพ ดวง
กมล จํากัด
ชาญชัย โรจนสโรช. 2527. วิธีการไถที่ถูกตอง. วารสารวิศวกรรมเกษตร กรกฎาคม –
กันยายน หนา 35 – 41
นิรนาม. 2536. ความรูเกี่ยวกับเครื่องจักรกลการเกษตร : รถแทรกเตอร. บริษัท คูโบตา
แทรกเตอร ประเทศไทยจํากัด
บัญญัติ เศรษฐฐิติ. 2523. การใชเครื่องมือทุนแรงในการเกษตร.
บัญญัติ เศรษฐฐิติ. 2520. ไถ. วารสารพืชสวน. 12 (3) : 51 – 56
บัญญัติ เศรษฐฐิติ. 2521. จอบหมุน. วารสารพืชสวน. 13 (3) : 15 – 17
บัญญัติ เศรษฐฐิติ. 2521. พรวน. วารสารพืชสวน. 13(4) :21 – 22
บัญญัติ เศรษฐฐิติ. 2543. เครื่องพนยาแบบสะพายหลังชนิดสูบโยก. เขาถึงไดที่ URL:
http://www.doae.go.th/Library/html/detail/pesti/index.html

ประชุม เนตรสืบสาย และพันทิพา อินทรวิชัย. 2525. เครื่องทุนแรงฟารม ภาค 1.


ศูนยฝกอบรมวิศวกรรมเกษตร บางพูน ปทุมธานี
พันทิพา อินทรวิชัย. 2551. เครื่องจักรกลเพื่อการเก็บเกี่ยวและหลังเก็บเกี่ยว ฝายวิชาการ
ศูนยฝกอบรมวิศวกรรมเกษตร บางพูน ปทุมธานี
วิบลู ย ลี้สวุ รรณ. 2551.เครื่องมือเครื่องใชไทยประดิษฐ. นานมีบุคสพับลิเคชั่นส. 384 หนา
สมชาย ปกรโณดม. 2528. เครื่องจักรกลเกษตร : หลักการเบื้องตน. ภาควิชาวิศวกรรม
เกษตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
สาทิส เวณุจันทร และคณะ. 2550. วิจัยและพัฒนาเครือ่ งเกี่ยวนวดขาวขนาดเล็ก. กลุมทดสอบ
และพัฒนาเครื่องจักรกลเกษตร สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม
สุรเวทย กฤษณะเศรณีและเปรมจิตต สระวาสี. 2540. การดูแลและอารักขาพืช. สารานุกรมไทย
สําหรับเยาวชนฯ เลมที่ ๒๒
อวบ สารถอย. 2540. เทคโนโลยีการใชสารกําจัดศัตรูพืช. สํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
247 หนา

You might also like