You are on page 1of 23

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ๒๕๕๐

มาตรา ๘๐ รัฐตองดําเนินการตามแนวนโยบายดานสังคม
การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม......
โดย...สงเสริม สนับสนุน และพัฒนาระบบสุขภาพที่เนนการสราง
เสริมสุขภาพอันนําไปสูสุขภาวะที่ยั่งยืนของประชาชน รวมทั้งจัดและ
สงเสริมใหประชาชนไดรับ บริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐาน
อยางทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ และสงเสริมใหเอกชนและชุมชนมี
สวนรวมในการพัฒนาสุขภาพและการจัดบริการสาธารณสุข โดยผู
มีหนาที่ใหบริการดังกลาวซึ่งไดปฏิบัติหนาทีต
่ ามมาตรฐานวิชาชีพ
และจริยธรรม ยอมไดรับความคุมครองตามกฎหมาย
กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุข โดย กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดกําหนด
มาตรฐานบริการ ที่เรียกวา มาตรฐานบริการสาธารณสุข
(Public Health Service Standard : PHSS) มาตั้งแต ปงบประมาณ 2547
และปรับปรุงเปน
มาตรฐานบริการสาธารณสุข
ฉบับเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคล
เฉลิมพระชมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550
ความเชื่อมโยงการคุณภาพบริการ
กระทรวงสาธารณสุข สปสช.= ผูซ อื้ บริการ
มุมมองของผูรับบริการ (ผูถือเงินแทน
“ตาแมน/ ยายชอย”
ประชาชน

มาตรฐา
สิ่งสนงมอบ Audit Process HCQA
บริบริกการาร (Auditor)
สาธาร
ณสุข
มาตรฐานบริการ ตัวแทนตาแมน+ตัวแทนผูใหบริการ
ตกลงรวมกัน
สาธารณสุข
กระบวนการคุณภาพตางๆ
HNQA / HA / ISO / PSO / ทีหนวยบริการเลือกที่จะทํา
TQM (ไมไดถูกบังคับ)
กระตุนหนวยงาน กระตุนให Action(ผานแรงจูงใจ)
ให Action สถานบริการสุขภาพทุกระดับ -Fix cost
ผานการบังคับบัญชา - ตามผลงาน
แนวทางการพัฒนาคุณภาพสูมาตรฐานบริการสาธารณสุขของกระทรวงสาธารณสุข
1. มาตรฐานหนวยบริการ คือ ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ
Input ตติยภูมิ Excellent Center
2. มาตรฐานอื่นๆ เชน มาตรฐานอาคาร มาตรฐาน
สปสช. เครื่องมือ มาตรฐานวิชาชีพ มาตรฐานสุขศึกษา ฯลฯ
-ควบคุมคาใชจาย 1. มาตรฐานการใหบริการ ทุกระดับ
-กํากับคุณภาพบริการ 2. มาตรฐาน HPH/HA/ISO
Process 3. TQA
4. TQM
5. PMQA
6. มาตรฐาน ……..
กรมสนับสนุน 7. กระบวนการพัฒนาคุณภาพแบบเครือขาย HNQA)
บริการสุขภาพ Output มาตรฐานบริการสาธารณสุขตามรัฐธรรมนูญ
-สงเสริมพัฒนาและ สถานพยาบาลทุกระดับประกันคุณภาพบริการตาม
ควบคุมกํากับ มาตรฐานบริการสาธารณสุข
Outcome
ประชาชน/สังคมไดรับสิ่งสงมอบที่ดีตามมาตรฐาน
สํานักตรวจและประเมินผล บริการสาธารณสุข

-ติดตามกํากับหนวยบริการทุกระดับ Outcome ประโยชนสุขของประชาชนในการรับบริการที่มี


คุณภาพทั่วถึงและเปนธรรม
มาตรฐานบริการสาธารณสุข
(Public Health Service Standard: PHSS)

หมายถึง
มาตรฐานที่กําหนดบริการ หรือสิ่งสงมอบ และ
ลักษณะพึงประสงค ซึ่งจะตองสงมอบใหแก
ประชาชนผูมารับบริการ ชุมชน และสังคม เพื่อ
ตอบสนองความตองการบริการทางสาธารณสุข
มาตรฐานบริการสาธารณสุข
(Public Health Service Standard: PHSS)
•เปน มาตรฐานของ “สิ่งสงมอบ หรือบริการ”
•กําหนดโดยขอยุติของ ผูรับบริการ ผูใหบริการ ผูมีสวนเกี่ยวของ
มีกระทรวงสาธารณสุขเปนเจาของและผูรักษาการ
•เปนกรอบเปดบนที่กระทรวงสาธารณสุขจะใช เพื่อการจัดและ
สงเสริมการสาธารณสุข เพื่อใหประชาชนไดรับบริการที่มี
คุณภาพ (ที่ดี ในสายตาของประชาชน)
• กําหนดขึ้นจากมุมมองของผูรับบริการ
ระบุวา บริการ (สิ่งสงมอบ) ที่ผูรบั บริการ
ไดรบั ตองมีคุณภาพเชนไร
บริการหรือสิ่งสงมอบ 10 กลุม

ตามมาตรฐานบริการสาธารณสุข
1. ผลการตรวจ
2. ผลการวินิจฉัยเบื้องตนและหรือขอสันนิษฐาน
3. ความเห็นและคําแนะนํา
4. การฝกทักษะที่สําคัญและจําเปนใหแกผูปวยหรือญาติ
5. การเฝาระวังดูแลขณะอยูในพืน้ ที่ ขณะเคลื่อนยายและขณะสงตอ
6. ยา วัคซีน เวชภัณฑหรือผลิตภัณฑที่สงมอบใหผูรับบริการไป
7. หัตถการที่กระทําตอรางกายผูรับบริการ
8. ผลงานอืน่ ที่ดําเนินการให (ซึ่งมิใชหัตถการ)
9. สิ่งของและสถานที่ ที่จัดไวใหผูรับบริการใชหรือใชกับผูรับบริการ
10. ผลงานและสิ่งสิ่งสงมอบ ที่มีผลกระทบตอชุมชนและสังคม
การบรรลุมาตรฐานบริการสาธารณสุข
สถานบริการสุขภาพ
สามารถเลือกใชระบบการบริหารคุณภาพใดๆ ก็ได..

1. มีใบรับรอง
เชน HA / HPH / ISO / PMQA
2. ไมมีใบรับรอง
เชน TQM หรือ
กระบวนการพัฒนาคุณภาพแบบเครือขาย (HNQA)
และ...ผูใหบริการสาธารณสุขทุกรายตองสงมอบบริการที่มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานบริการสาธารณสุขกําหนด
กระบวนการพัฒนาคุณภาพแบบเครือขาย
(Hospital Network Quality Audit : HNQA)

• คุณภาพบริการในโรงพยาบาลจะเกิดขึน ้ ได จุดสําคัญ


สุดยอดจะอยูที่ หัวหนา แพทยผูปฏิบัติงาน ผูบริหาร
ระดับสูง ผูปฏิบต
ั ิงานในสนาม และผูสนับสนุน
ตามลําดับ สิง่ ทีห่ วั หนาหนวยงานจะตองรูแ  ละมีทกั ษะ
จนสรางคุณภาพได คือ
– หลักและวิธี “การบริหารในแบบทีส ่ รางคุณภาพได”
– วิธีการ “นํา” ใหลก ู นองทุกคนสรางคุณภาพ
– วิธีการ “ควบคุม แกไข ปองกันปญหาและการ
ปรับปรุง”
ชูชาติ วิรเศรณี
ทีป
่ รึกษา
Management Brief ER
H-1
OPD
H-6 H-2
Quality LR

H-5 HNQA
Pool
Network
H-3
IPD
Doctors
6 Hospital’s
H-4 management
Dent.
Sustainable
Network teams
Disp.
Hospital NetworkQuality
Quality Audit
Network
establish the
Management
Service Quality
Service Lab.Quality
Supply
Periodic
Network
Quality and Quality Standard
Intelligence
Training Program
Development
Internal Specification Network Quality
Improvement
Offices Centre
Others.,
Round Audit &
Management CAR
Activity
& Developing
Service Provision Scheme
BasicStandard
skill review Quality Centre
• If we got…
• 6 OKs = No ! …Poor Spec. & Std.
• 0 OKs = No ! …Too tight control.
• 0 < OKs < 6 = OK ! It’s Challenge
and Development !!
กิจกรรม (Activity)

• HNQA เปนชุดกิจกรรม การพัฒนาคุณภาพสูมาตรฐาน


บริการสาธารณสุข อยางกาวกระโดด

• 1.ผูอํานวยการโรงพยาบาลจํานวน 5 – 6 แหง มารวม


เปนโรงพยาบาลเดียวกันจัดตั้งศูนยคุณภาพประจํา
เครือขายขึ้นเพื่อทําหนาที่บริหารคุณภาพแบบ
เครือขาย)
• 2.พัฒนาทีมตรวจประเมินในกลุม  หัวหนางาน 4
หนวยงาน ไดแกอุบต ั ิเหตุ-ฉุกเฉิน งานหองคลอด งาน
ผูปวยใน งานผูปวยนอก (กลุม  1)
กิจกรรม(ตอ)
• กลุม 2 ไดแก ทันตกรรม เภสัชกรรม หองผาตัด ผูปวยใน
(ที่เหลือ) และ อนามัยแมและเด็ก

• กลุม 3 ไดแก หองชันสูตร หองเอ็กซเรย โภชนาการ


วิสัญญี กายภาพบําบัด แพทยแผนไทย หนวยจายกลาง

• กลุม 4 ไดแก กลุมสนับสนุนบริการ (Back office)


ทั้งหมด
วิธีดําเนินการพัฒนาเครือขาย

• 1.มีการฝกอบรมบุคลากรระดับนําในหนวยงาน ใหมี
ทักษะในการจัดการแบบการบริหารคุณภาพทั่วทั้ง
องคกร (TQM) และการตรวจประเมินคุณภาพ แลว
รวมกันกําหนด
-มาตรฐานบริหารเครือขาย (Service Internal
Specification: SIS)
-มาตรฐานวิธีการจัดการหรือมาตรฐานการใหบริการ
(Service Provision Standard : SPS)
เรียกรวมวา “รางมาตรฐานคุณภาพประจําเครือขาย”
(Draft of Network Quality Standard)

• 2.ใหหัวหนาผูที่มอ
ี าํ นาจเขาไปจัดการกับทุกปจจัยที่มี
ผลกระทบตอคุณภาพได ดีตามเกณฑขอกําหนด
คุณภาพบริการของเครือขาย
• 3.จัดใหมกี ารตรวจประเมินระบบคุณภาพ (Audit) ทัว่
ทั้งเครือขาย ทุก 3-4 เดือน ตามกําหนดเวลาที่
เหมาะสมตามกระบวนการพัฒนา เพื่อตรวจประเมินดู
การปฏิบัติตามแนวทางมาตรฐานทีก ่ ําหนดไว
หากพบวามีสิ่งใดไมเปนไปตามรางมาตรฐานก็จะไดรับคํา
ขอใหมีปฏิบัติการเพื่อการแกไข (Corrective Action Request :
CAR) เพื่อคนหาและจัดการสาเหตุมิใหเกิดซ้ํา

• 4. จัดใหมก
ี ารประชุมเพื่อการปรับแตงรางมาตรฐานทัง้
สองสวน และนํารางมาตรฐานใหมไปทดลองใชกน ั
ใหม ทํากิจกรรมเชนนี้อยางตอเนือ
่ ง ในที่สุดเครือขาย
ก็จะมีมาตรฐานคุณภาพประจําเครือขายของตนเอง
การตรวจประเมินคุณภาพบริการโรงพยาบาล
ตามมาตรฐานบริการสาธารณสุข
คือ กิจกรรมที่ผูตรวจประเมินคุณภาพบริการโรงพยาบาล
(Auditor)ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
ตรวจประเมินคุณภาพบริการของโรงพยาบาลที่สมัครเขารวม
โครงการฯ ตามแผนการตรวจประเมิน โดยใชเกณฑการตรวจ
ประเมินคุณภาพบริการโรงพยาบาลตามมาตรฐานบริการ
สาธารณสุข เพื่อมอบ รางวัลประกาศเกียรติคุณ คุณภาพบริการ
โรงพยาบาล (Hospital Care Quality Award : HCQA)
มี 2 ประเด็น
1. Preparedness
ความพรอมตอการบริการที่ปรากฏ
- สิ่งของ สถานที่ ปลอดภัย
- ยา วัคซีน เวชภัณฑ ไมหมดอายุ ไมเสือ่ มสภาพ
- หัตถการที่กระทําแกรางกายผูมารับบริการ
- ผลงานที่สงผลกระทบตอชุมชน สังคม
2. Service Deliverable
ผูรับบริการไดรบั สิง่ สงมอบหรือบริการที่มีคุณภาพ
- ผลการตรวจ
- ผลการวินิจฉัยเบื้องตน หรือขอสันนิษฐาน
- ความเห็นและคําแนะนํา เชน คําแนะนํา ความรูคูยา
- ทักษะที่จําเปนและสําคัญใหแกผูรับบริการ
- การเฝาดูแลขณะอยูในพื้นที่
3. นโยบายสําคัญของกระทรวงสาธารณสุข
ภารกิจการพัฒนาคุณภาพบริการ
ตามมาตรฐานบริการสาธารณสุข
1.การสงเสริมพัฒนาคุณภาพบริการโรงพยาบาล
– พัฒนาคุณภาพดวยกระบวนการพัฒนาเครือขาย (HNQA) (259 แหง)
– พัฒนาองคความรูการนํามาตรฐานบริการสาธารณสุขไปปฏิบัติ (815 แหง)
– พัฒนาและสรางวิทยากรคุณภาพ (QI) (40 คน)
2. กํากับ ติดตาม การพัฒนาคุณภาพ
- พัฒนาโปรแกรมรายงานสถานการณการพัฒนาคุณภาพ
- ตรวจประเมินคุณภาพบริการตามมาตรฐานบริการสาธารณสุข (HCQA)
(521 แหง)
ปงบประมาณ ตรวจประเมิน ผานเกณฑ รอยละผานเกณฑ
2550 223 217 97.31
2551 134 116 86.57
2552 164 121 73.78

ปงบประมาณ 2553
กําหนดแผนการตรวจประเมินคุณภาพบริการ 100 แหง
ใบประกาศเกียรติคณ
ุ ฉบับนี้ใหไวเพื่อแสดงวา
โรงพยาบาล
...............................
ไดรับรางวัลโรงพยาบาลคุณภาพตามมาตรฐานบริการสาธารณสุข
ของกระทรวงสาธารณสุข
ระดับทอง

ใหไว ณ วันที่ พุทธศักราช

รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กลุมพัฒนาคุณภาพบริการ
สํานักบริหารการสาธารณสุข
โทร 02-590 1642,02-590 1636

You might also like