You are on page 1of 18

โดย

ศาสตราจารย์ ดร.มนัส สุ วรรณ


ภาควิชาภูมศิ าสตร์ คณะสั งคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
• ประเด็นทีจ่ ะนำเสนอ ประกอบด้วย :
1. ความรู ้พ้ืนฐานเกี่ยวกับการวิจยั
2. ความหมายของการวิจยั สถาบัน
3. หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับการวิจยั สถาบัน
4. ประเด็นสาระ (Issues)ในการทำวิจยั สถาบัน
การวิจยั คืออะไร
การวิจัย คือ กระบวนการทีม่ กี ารดำเนินการอย่ างมีระบบ และ
ระเบียบแบบแผน เพือ่ ให้ ได้ มาซึ่งคำตอบทีม่ คี วามถูกต้ องและเชื่อถือได้
(Body of knowledge)

ศาสตร์กบั การวิจยั
ความร ้ ู (Knowledge) VS องค์ความร ้ ู (Body of
knowledge)
แหล่งของความร ้ ู

ความเชื่อ (belief)

การเดา / ลางสั งหรณ์ (Intuition)

ี นาจ (Authority)
ผู้มอำ

การอนุมาน (Deduction)

การอุปมาน (Induction)

วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)

วัตถ ุประสงค์ของการวิจยั
- เพื่อความรท้ ู างวิชาการ
- วิจยั เพื่อผลเชิงปฏิบตั ิ
ประเภทของการวิจยั
แบ่งตามลักษณะวิธีการ

การวิจยั เชิงประวัติศาสตร์ (Historical Research)

การวิจยั เชิงพรรณนา (Descriptive Research)

การวิจยั เชิงวิเคราะห์ (Analytical Research)

การวิจยั เชิงทดลอง (Experimental Research)
แบ่งตามวิธีการวิเคราะห์ขอ้ มูล

การวิจยั เชิงคุณภาพ (Qualitative Research)

การวิจยั เชิงปริมาณ (Quantitative Research)
แบ่งตามวัตถ ุประสงค์

การวิจยั พื้นฐาน (Basic Research)

การวิจยั ประยุกต์ (Applied Research)
1. เริ่มจากผู้วจ
ิ ัยเอง
2. ระบุปัญหาการวิจัยชัดเจน
3. มีจุดมุ่งหมาย / วัตถุประสงค์ เด่ นชัด
4. กำหนดมิตก ิ ารวิจัย (Research Dimensions) ชัดเจน
5. มีข้ น
ั ตอนและกระบวนการเป็ น ทีย่ อมรับ
6. ใช้ เครื่องมือทีม่ คี วามเชื่อถือได้ สูง
7. มีความเทีย ่ งตรงภายใน (Internal Validity) และความ เทีย่ งตรง
ภายนอก (External Validity)
8. อาศัยความรู้ ความสามารถ และความซื่อสั ตย์ ของผู้วจ
ิ ัย
9. มุ่งส่ งเสริม พัฒนา และแก้ ปัญหาสั งคม
10. มีการวางแผนอย่ างรอบคอบ
1. กำหนดปัญหาการวิจัย
2. อธิบายทีม
่ าและความสำคัญของปัญหา
3. กำหนดวัตถุประสงค์ ของการวิจัย

4. ตั้งสมมุตฐิ าน
5. ทบทวนวรรณกรรม
6. กำหนดรู ปแบบการวิจัย
7. การเก็บรวบรวมข้ อมูล
8. การจัดการกับข้ อมูล
9. การวิเคราะห์ ข้อมูล
10. การตีความผลการวิเคราะห์ / รายงานผล
การวิจยั เชิงค ุณภาพ การวิจยั เชิงปริมาณ
1. มีรากฐานมาจากปรัชญาแนวคิดแบบ 1. มีรากฐานมาจากปรัชญาแนวคิด
ธรรมชาตินิยม (NATURALISM) แบบปฏิฐานนิยม (POSITIVISM)
2. มุง่ ทำความเข้าใจในปรากฏการณ์ 2. มุง่ เน้นหาความจริงที่คนทัว่ ไปจะ
(Phenomena) อย่างลึกซึ้ง ยอมรับ (Common reality)
3. เป็นการวิจยั ที่เน้นวิธีการพรรณนา 3. เป็นการวิจยั ที่เน้นวิธีการวิเคราะห์
(Descriptive approach) และทดลอง (Analytical &
experimental approach) ซึ่งจำเป็น
ต้องอาศัยวิธีการทางสถิติ
4. เป็นการวิจยั ที่ให้ความสำคัญที่ 4. เป็นการวิจยั ที่มง่ ุ ความสำคัญที่ผล
กระบวนการการได้มาซึ่งความจริง ซึ่งจะได้ มากกว่ากระบวนการการ
โดยมองแบบองค์รวม (Holistic view) ดำเนินการ มีขนั้ ตอนหรือระเบียบ
แบบแผนที่แน่นอน
การวิจยั เชิงค ุณภาพ การวิจยั เชิงปริมาณ
5. การวิเคราะห์ขอ้ มูลแบบอ ุปมาน 5. การวิเคราะห์ขอ้ มูลแบบอน ุมาน
(Inductive approach) (Deductive approach) คือ การ
ทดสอบคำตอบที่คาดคิดไว้กอ่ น
(สมมุติฐาน : Hypothesis)
6. มุง่ แสวงหาความรเ้ ู พื่อสร้างเป็นกฎ 6. มุง่ หาคำตอบด้วยการทดสอบ
/ ทฤษฎี (Theory building) ทฤษฎี (Theory testing)
7. สิ้นส ุดการศึกษาวิจยั ด้วยทฤษฎี 7. เริม่ ต้นการศึกษาวิจยั ด้วยทฤษฎี
(Ends with theory) (Begins with theory)
8. ส่วนใหญ่เป็นการวิจยั ในสาขา 8. ส่วนใหญ่เป็นการวิจยั ในสาขา
สังคมศาสตร์และมน ุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์
2. ความหมายและธรรมชาติของการวิจัยสถาบัน
- การวิจยั สถาบัน หมายถึงกระบวนการศึกษาวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับภารกิจขององค์กร
เพื่อให้ได้คำตอบที่มีความถูกต้องและเชื่อถือได้สำหรับการกำหนดแผนหรื อนโยบาย
ขององค์กร และ/หรื อสำหรับการปรับปรุ ง แก้ไข และพัฒนาการบริ หารงานของ
องค์กร
3. หลักการและแนวคิดของการวิจัยสถาบัน
1) ใช้เวลาในการศึกษาวิจยั ค่อนข้างสั้น
2) ขั้นตอนการดำเนินการมีความกระชับ/ทำได้รวดเร็ ว
3) มีงบสนับสนุนการศึกษาวิจยั ที่เพียงพอ
4) เป็ นการดำเนินการวิจยั ในหน่วยงาน หรื อ องค์กรใด
องค์กรหนึ่งเป็ นการเฉพาะ
5) ผูว้ จิ ยั ควรเป็ นบุคลากรที่สงั กัดในหน่วยงานหรื อ องค์กรนั้น
6) ประเด็นที่ทำวิจยั ต้องเกี่ยวข้องกับงานในภาระ
หน้าที่ของหน่วยงานหรื อองค์กรนั้น
7) ผลของการศึกษาวิจยั จะต้องใช้ประกอบการตัดสิ นใจ
เพื่อกำหนดแผนหรื อนโยบายขององค์กร และ/หรื อเพื่อ
การปรับปรุ ง และพัฒนาการบริ หารงานขององค์กร
8) การวจัยสถาบันอาจดำเนินการโดยนักวิจยั คนเดียว หรื อ คณะ
นักวิจยั ก็ได้
9) การวิจยั สถาบันสามารถทำได้ท้ งั ประเภทของการวิจยั
เชิงคุณภาพ หรื อ การวิจยั เชิงปริ มาณ
10) จำเป็ นต้องมีความพร้อมในเรื่ องวัสดุอุปกรณ์ และ เครื่ องมือ
สำหรับการวิจยั
4. ประเด็นสาระ (Issues) ในการทำวิจัยสถาบัน
1) ประเด็นทีเ่ กีย่ วข้ องกับนิสิตนักศึกษา
- ข้อมูลภูมิหลังส่ วนบุคคล
- ข้อมูลการเข้าเรี ยน การลาพัก หรื อลาออก
- ความคาดหวังและความพึงพอใจของนักศึกษา
- ทัศนคติและความคิดเห็นต่อการบริ หารสถาบัน
และ/หรื อต่อการจัดการเรี ยนการสอน
- ความต้องการ และความพึงพอใจของนายจ้าง
ที่มีต่อบัณฑิตของสถาบัน
- พฤติกรรมในการดำเนินชีวติ ประจำวันและ
พฤติกรรมในการเรี ยนระหว่างศึกษาอยูใ่ น
สถาบัน
2) ประเด็นทีเ่ กียวข้ องกับบุคลากร
- ข้ อมูลส่ วนบุคคลของบุคลากรทั้งหมดของสถาบัน
- สภาพความเป็ นอยู่ด้านสั งคมและเศรษฐกิจ
- การเปลีย่ นแปลงในสถานภาพ และ/หรือตำแหน่ งบริหาร- วิชาการ
- ความพึงพอในทีม่ ตี ่ อการบริหาร และการจัดการด้ านวิชาการ
ของสถาบัน
- ความต้ องการความช่ วยเหลือสนับสนุนเพือ่ ให้ เกิดความเจริ
ก้ าวหน้ าในหน้ าทีก่ ารงาน
- ขวัญ กำลงใจ และสวัสดิการของบุคลากร
- ความต้ องการ หรือ ความพึงพอใจในการสร้ างบรรยากาศ และสิ่ งแวดล้ อม
ทางวิชาการของสถาบัน
- ค่ าตอบแทน เงินเดือน และค่ าจ้ าง
3) ประเด็นทีเ่ กีย่ วข้ องกับหลักสู ตรและโปรแกรมการเรียน
- จำนวนหลักสู ตรทั้งหมดในแต่ ละคณะ/สาขาวิชา
- ความเหมาะสม และทันสมัยของหลักสู ตร
- การขอเปิ ด/ปิ ดหลักสู ตร
- สถิตินักศึกษาทีล่ งทะเบียนเรียนในกระบวนวิชาต่ างๆ
- ปัญหาและอุปสรรคในการจัดตารางการเรียน การจัดสรร
ห้ อง/อาคารเรียน/ห้ องปฏิบัติการ
- การจัดกิจกรรมเสริมหลักสู ตร
- แนวโน้ มและทิศทางการจัดทำหลักสู ตรเพือ่ ตอบสนองความ
ต้ องการของตลาด
- การสร้ างเครือข่ ายความร่ วมมือทางวิชาการระหว่ าง
คณะและ/หรือระหว่ างสถาบัน
- การแบ่ งภาระงาน (ความเหมาะสม ยุติธรรม)
4) ประเด็นทีเ่ กีย่ วข้ องกับงานพัสดุและการเงิน
- ศึกษาและวิเคราะห์งบประมาณของสถาบันตั้งแต่อดีตถึง
ปั จจุบนั
- การแสวงหารายได้/แหล่งรายได้/รายจ่าย
- การคาดคะเนงบประมาณในอนาคต
- ปั ญหาและอุปสรรคในการบริ หารงบประมาณ
- การบริ หารและจัดการทรัพย์สินของสถาบัน
- กระบวนการตรวจสอบการใช้เงินงบประมาณของหน่วยงาน
- ระบบและระเบียบการบริ หารงานพัสดุ(ความคล่องตัว และ
ความโปร่ งใส)
- ความสิ้ นเปลือง/ความสู ญเปล่าที่เกี่ยวข้องกับงานพัสดุ
- ระบบการจัดซื้ อจัดจ้างใหม่/การจัดการกับของเก่า
5. ประเด็นทีเ่ กีย่ วข้ องกับอาคารและสถานที่
- การบริ หารจัดการอาคารที่พกั สำหรับบุคลากรและนักศึกษา
- สนามกีฬาและสถานที่ออกกำลังกาย
- สถานพยาบาล
- สำนักหอสมุด
- ความเหมาะสมและเพียงพอของสิ่ งอำนวยความสะดวก
เมื่อเทียบกับจำนวนของบุคลากรและนักศึกษา
- ประสิ ทธิภาพในการใช้อาคารสถานที่
- การดูแล บำรุ งรักษา และจัดภูมิทศั น์ภายในสถาบัน
- ปัญหาคุณภาพด้านสิ่ งแวดล้อมภายในสถาบัน
- ระบบการบริ หารจัดการ และการบำรุ งรักษาอาคารสถานที่
ภายในสถาบัน
6) ประเด็นอื่นๆที่จดั ว่าเป็ นภาระหน้าที่ของสถาบัน
- การบริ หารจัดการสถาบันโดยรวมของผูบ้ ริ หาร
- การให้บริ การด้านสารสนเทศแก่บุคลากรและนักศึกษา
- ความช่วยเหลือสนับสนุนบุคลากรในการผลิตผลงาน
ทางวิชาการ และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
- บทบาทของสถาบันในการให้บริ การแก่ชุมชน
- บทบาทของสถาบันในการทำนุบำรุ งศิลปวัฒนธรรม
- สถาบันในฐานะกลไกในการขับเคลื่อนการพัฒนาของ
ภูมิภาค และ/หรื อประเทศ
- สถาบันกับการพัฒนาไปเป็ นศูนย์แห่งความเป็ นเลิศ
(Center of excellence)
(ศิรินาถ ทับแสง, ญาณภัทร สี หะมงคล และมนัส สุ วรรณ)
จบบริ บูรณ์

ขอขอบคุณ และ สวัสดี

You might also like