You are on page 1of 98

คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่ง

สําหรับลําน้ําขนาดเล็กทั่วประเทศ
โครงการศึกษาและจัดทําแบบมาตรฐานแนะนํางานออกแบบกอสราง
เขื่อนปองกันตลิ่งราคาประหยัดสําหรับลําน้ําขนาดเล็กทั่วประเทศ

สารบัญ
หนา
สารบัญ ก
สารบัญตาราง ค
สารบัญรูป ง

บทที่ 1 ขอแนะนําในการใชคูมือ
1.1 บทนํา 1-1
1.2 รูปแบบมาตรฐานแนะนําเขื่อนปองกันตลิ่ง 1-2
1.3 ขอมูลที่จําเปนในการใชเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่ง 1-8

บทที่ 2 การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําที่เหมาะสม
2.1 ขั้นตอนการเลือกรูปแบบที่เหมาะสม 2-1
2.2 การวิเคราะหดานปฐพีกลศาสตร 2-2
2.2.1 ขอแนะนําในการวิเคราะหดานปฐพีกลศาสตร 2-2
2.2.2 ขั้นตอนการวิเคราะห 2-3
2.2.3 ตัวอยางการวิเคราะหดานปฐพีกลศาสตร 2-7
2.3 การวิเคราะหดานชลศาสตร 2-11
2.3.1 สมมติฐานและขอจํากัดตาง ๆ 2-11
2.3.2 ขั้นตอนในการวิเคราะห 2-11
2.3.3 ตัวอยางในการวิเคราะห 2-12
2.4 การวิเคราะหดานการใชพื้นทีบ่ ริเวณริมตลิ่ง 2-21
2.5 การวิเคราะหดานราคาคากอสรางเบื้องตน 2-22
2.6 รูปแบบมาตรฐานแนะนําเขื่อนปองกันตลิ่งทีเ่ หมาะสม 2-22
2.7 การประมาณราคาคากอสรางในรายละเอียด 2-26

บทที่ 3 มาตรฐานและขอกําหนด
3.1 แบบมาตรฐานแนะนําเขื่อนปองกันตลิ่ง 3-1
3.2 มาตรฐานและขอกําหนดงานกอสราง 3-1
3.2.1 โครงสรางและฐานราก 3-2

ก กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
สารบัญ

สารบัญ (ตอ)

ภาคผนวก ก รูปแบบมาตรฐานแนะนําเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
ภาคผนวก ข การสํารวจในสนาม
ภาคผนวก ค ตัวอยางการใชงานโปรแกรมวิเคราะหดานชลศาสตร
เพื่อคัดเลือกรูปแบบแนะนําเขื่อนปองกันตลิ่ง

ข กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
สารบัญ

สารบัญตาราง
ตารางที่ หนา
1.2-1 ขอดีและขอจํากัดของเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดมีโครงสรางกันดิน แตละรูปแบบ 1-9
1.2-2 ขอดีและขอจํากัดของเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดไมมีโครงสรางกันดิน แตละรูปแบบ 1-12
2.4-1 รูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งที่มีความเหมาะสมตอการใชพื้นทีร่ ิมตลิ่งแตละกรณี 2-21
2.5-1 ราคาคากอสรางเขื่อนปองกันตลิ่งแตละรูปแบบตอความยาว 1.00 เมตร 2-22
2.6-1 แบบฟอรมการคัดเลือกรูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่ง 2-24
2.6-2 ตัวอยางการคัดเลือกรูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่ง 2-25
3.2-1 ชนิดของคอนกรีตและแรงอัดประลัยต่ําสุด 3-4
3.2-2 รายละเอียดของเหล็กเสริม 3-4
3.2-3 รายละเอียดของลวดเหล็กอัดแรงและลวดเหล็กอัดแรงตีเกลียว 3-6
3.2-4 คุณสมบัติของวัสดุและอุปกรณที่เกี่ยวของกับงานโครงสรางเหล็ก 3-7
3.2-5 คุณสมบัติลวดเหล็กสังกะสี 3-13

ค กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
สารบัญ

สารบัญรูป
รูปที่ หนา
1.1-1 ขอบเขตคูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่ง
สําหรับลําน้ําขนาดเล็กทั่วประเทศ 1-2
1.2-1 (ก) รูปแบบที่ 1 เขือ่ นปองกันตลิ่งแบบเข็มหลักและเข็มสมอ 1-3
1.2-1 (ข) รูปแบบที่ 2 เขือ่ นปองกันตลิ่งแบบโครงสรางยกลอย 1-3
1.2-1 (ค) รูปแบบที่ 3 เขือ่ นปองกันตลิ่งแบบเข็มเดี่ยวพรอมสมอยึดรัง้ 1-4
1.2-1 (ง) รูปแบบที่ 4 เขือ่ นปองกันตลิ่งแบบตาขายเสริมกําลังดินหรือ Geogrid 1-4
1.2-1 (จ) รูปแบบที่ 5 เขือ่ นปองกันตลิ่งแบบกลองลวดตาขายบรรจุหิน (Gabion) 1-5
1.2-1 (ฉ) รูปแบบที่ 6 เขือ่ นปองกันตลิ่งแบบหินทิง้ 1-6
1.2-1 (ช) รูปแบบที่ 7 เขือ่ นปองกันตลิ่งแบบหินเรียง 1-6
1.2-1 (ซ) รูปแบบที่ 8 เขือ่ นปองกันตลิ่งแบบหินเรียงและขั้นบันได 1-6
1.2-1 (ฌ) รูปแบบที่ 9 เขือ่ นปองกันตลิ่งแบบวางลาดตลิ่งดวยกลอง Gabion 1-7
1.2-1 (ญ) รูปแบบที่ 10 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบวางลาดตลิ่งดวยกลอง Mattress 1-7
2.1-1 ขั้นตอนการคัดเลือกรูปแบบมาตรฐานแนะนําเขื่อนปองกันตลิ่ง 2-1
2.2-1 การวิเคราะหอัตราสวนความปลอดภัยต่ําสุดโดยใชโปรแกรม Ku Slope 2-2
2.2-2 ขั้นตอนการวิเคราะหดานปฐพีกลศาสตร 2-4
2.2-3 การปรับปรุงลาดตลิ่งเดิมเปน 1:2.5 2-5
2.3-1 ขั้นตอนการวิเคราะหดานชลศาสตร 2-11
2.7-1 Sheet “สรุปราคา” 2-27
2.7-2 Sheet “ใบประมาณราคา” 2-28
2.7-3 Sheet “ขอกําหนด” 2-29
3.2-1 รูปกลองเกเบี้ยนและผนังกัน้ 3-12
3.2-2 รูปกลองแมทเทรสและผนังกัน้ 3-12
3.2-3 ตาขายลวดเหล็กพันเกลียวเปนหกเหลี่ยม 3-13
3.2-4 การผูกยึดระหวางกลอง 3-14

ง กรมโยธาธิการและผังเมือง
บทที่ 1
ขอแนะนําในการใชคมู ือ
บทที่ 1
ขอแนะนําในการใชคมู ือ

1.1 บทนํา

ลําน้ําขนาดเล็กในประทศไทยมีอยูเปนจํานวนมากซึ่งมีอยูห ลายพื้นที่ที่ประสบปญหาการกัดเซาะและ
พังทลายของตลิ่งทั้งบริเวณทีเ่ ปนชุมชนหรือพื้นที่เกษตรกรรมที่มีอัตราการกัดเซาะและพังทลายของตลิ่ง
คอนขางสูง จึงจําเปนตองมีการแกไขโดยเรงดวนเพื่อลดปญหาความเดือดรอนของประชาชนที่อยูบริเวณริมตลิ่ง
ดังนั้นหากมีรูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําไวอยางเหมาะสมตามหลักวิชาการแลว หนวยงานทองถิน่ หรือ
ภูมิภาคก็จะสามารถนํารูปแบบที่แนะนําไวไปประยุกตใชงานไดอยางรวดเร็วและสามารถแกไขปญหาเบื้องตนได
อยางมีประสิทธิภาพ

กรมโยธาธิการและผังเมืองในฐานะหนวยงานชางที่ใหบริการออกแบบและใหคําปรึกษาเพื่อแกไข
ปญหาดานชางแกทองถิ่นเห็นวาในกรณีลําน้ําที่มีขนาดเล็กควรจัดทํารูปแบบมาตรฐานแนะนําเพื่อประกอบการ
ออกแบบแกไขการพังทลายของตลิ่งแกทองถิ่นตามขนาดลําน้ําและเงื่อนไขขอกําหนดที่สามารถดําเนินการไดก็
จะสามารถชวยลดเวลาเรื่องการออกแบบและการจัดทําราคาใหรวดเร็วขึ้น อีกทั้งยังเปนการเพิ่มประสิทธิภาพ
และเสริ มศั กยภาพใหท อ งถิ่น สามารถพึ่ งพาตนเองในการแกป ญ หาตลิ่ งพั งทลายไดอ ยางถู กต อ งตามหลั ก
วิชาการและรวดเร็วยิ่งขึ้น จึงเห็นควรจัดทําคูมือแบบมาตรฐานแนะนําการใชงานเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ํา
ขนาดเล็กทั่วประเทศโดยมีขอบเขตในการใชงานดังแสดงในรูปที่ 1.1-1

1-1 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 1 บทนํา

ความตองการเขื่อนปองกันตลิ่ง
ของทองถิน

กระบวนการในการคัดเลือก
รูปแบบมาตรฐานแนะนําเขื่อน
ปองกันตลิ่งทีม่ ีความเหมาะสมกับ ขอบเขตคูมือแบบมาตรฐานแนะนํา
พื้นที่ การออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่ง
สําหรับลําน้ําขนาดเล็กทัว่ ประเทศ

รูปแบบมาตรฐานแนะนําเขื่อน
ปองกันตลิ่งทีไ่ ดรับการคัดเลือก

ออกแบบรายละเอียดเขื่อนปองกันตลิ่ง

ประมาณราคาคากอสราง

รูปที่ 1.1-1 ขอบเขตคูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่ง


สําหรับลําน้ําขนาดเล็กทั่วประเทศ

1.2 รูปแบบมาตรฐานแนะนําเขื่อนปองกันตลิ่ง

จากการศึกษาและออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็กทั่วประเทศ พบวารูปแบบเขื่อน
ปองกันตลิ่ง สามารถจําแนกออกไดเปน 2 ชนิด จํานวน 10 รูปแบบ (รายละเอียดดังแสดงใน ภาคผนวก ก) ไดแก

(1) เขื่อนปองกันตลิ่งชนิดมีโครงสรางกันดิน คือ เขื่อนปองกันตลิ่งที่ใชแกไขปญหาการกัดเซาะ


และพังทลายของลาดตลิ่งเดิมและเพิ่มเสถียรภาพของลาดตลิ่งเดิมใหสูงขึ้นรวมทั้งบรรเทาปญหาน้ําทวม โดยตัว
เขื่อนจะมีทั้งลักษณะโครงสรางตรงและโครงสรางเอียง เหมาะกับบริเวณพื้นที่ที่เปนชั้นดินออน และพื้นที่หนาตัด
ลําน้ําแคบ การกอสรางเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดนี้จะมีราคาคากอสรางสูง เขื่อนปองกันตลิ่งชนิดนี้สามารถแบงออก
ไดเปน 5 รูปแบบ ดังแสดงในรูปที่ 1.2-1(ก) ถึง 1.2-1(จ) ประกอบดวย
- รูปแบบที่ 1 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบเข็มหลักและเข็มสมอ
- รูปแบบที่ 2 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบโครงสรางยกลอย
- รูปแบบที่ 3 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบเข็มเดีย่ วพรอมสมอยึดรั้ง
- รูปแบบที่ 4 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบตาขายเสริมกําลังดินหรือ Geogrid
- รูปแบบที่ 5 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบกลองลวดตาขายบรรจุหิน (Gabion)

1-2 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 1 บทนํา

ราวกันตก
คานรัดหัวเสาเข็ม แนวสันเขื่อน
ถมดินเหนียวปลูกหญา ระดับน้ําสูงสุดเฉลี่ย
ระดับสันเขื่อน

ถมทรายราดน้ําชุมบดอัดแนน ระดับน้ําต่ําสุดเฉลี่ย

แนวดินขุด แผง คสล.

แผนใยสังเคราะหตลอดแนวหลังเขื่อน
เสาเข็ม B
กลองลวดตาขายแมทเทรส
เสาเข็ม A
ภายในบรรจุหินใหแนนเต็มกลอง

รูปที่ 1.2-1 (ก) รูปแบบที่ 1 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบเข็มหลักและเข็มสมอ

พื้นทางเทา คสล.
หรือแผนพื้นคอนกรีตสําเร็จรูป
ราวกันตก
คานรัดหัวเสาเข็ม
แนวสันเขื่อน
ถมดินบดอัดแนน
n1 ระดับสันเขื่อน
1

คานรัดหัวเสาเข็ม
h1
คานพื้น
L
ระดับสันกลองแมทเทรส
h2
ถมทรายราดน้ําชุมบดอัดแนน

แนวดินขุด
กลองแมทเทรส
แผนใยสังเคราะหตลอดแนวหลังเขือ่ น บรรจุหินใหแนนเต็มกลอง
1
แผง คสล.
n2
แผนใยสังเคราะห

เสาเข็ม C
เสาเข็ม B
เสาเข็ม A

รูปที่ 1.2-1 (ข) รูปแบบที่ 2 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบโครงสรางยกลอย

1-3 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 1 บทนํา

ทอน้าํ ทิง้ คอนกรีต


ลาด 1:100 ยาวทะลุชนั้ แผน ค.ส.ล.
ทางเทาปูแผนพืน้ คอนกรีตบล็อกประสาน คานทับหลังเสาเข็ม ค.ส.ล.
รางระบายน้าํ ค.ส.ล. + บอพัก ราวกันตก
คันหิน ค.ส.ล.
ถมดินเหนียว ปลูกหญา ระดับสันเขือ่ น ระดับน้าํ สูงสุดเฉลีย่

แผง ค.ส.ล.

แผงสมอ ค.ส.ล.
สายสมอ ชุบแอสฟลทแลวพันดวย
ผาดิบชุบแอสฟสทพรอมเกลียวเรง
ระดับน้าํ ต่าํ สุดเฉลีย่
ถมทรายราดน้าํ ชุม บดอัดแนน
แผนใยสังเคราะหตลอดแนวหลังเขือ่ น

เสาเข็ม กลองลวดตาขายแมทเทรส
ภายในบรรจุหนิ ใหแนนเต็มกลอง

รูปที่ 1.2-1 (ค) รูปแบบที่ 3 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบเข็มเดี่ยวพรอมสมอยึดรั้ง

แนวสันเขือ่ น
ถมดินเหนียวปดทับ ปลูกหญา
n2 ระดับสันเขือ่ น ระดับน้าํ สูงสุดเฉลีย่
1
กลองลวดตาขายเกเบีย้ น
แผนใยสังเคราะห บรรจุหนิ ใหแนนเต็มกลอง
กลองแมทเทรส
แผนลวดตาขายเสริมแรง
บรรจุหนิ ใหแนนเต็มกลอง
เปนชิน้ เดียวกันกับกลอง
เกเบีย้ นหรือ Geogrid n1 ระดับน้าํ ต่าํ สุดเฉลีย่
ตลอดความยาวเขือ่ น 1 n3
ทรายถมชุม น้าํ อัดแนน 1

L1 L2

รูปที่ 1.2-1 (ง) รูปแบบที่ 4 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบตาขายเสริมกําลังดินหรือ Geogrid

1-4 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 1 บทนํา

แนวสันเขือ่ น
ระดับน้ําสูงสุดเฉลีย่
ระดับสันเขือ่ น

ทรายถมชุมน้ําอัดแนน
1
n
แนวดินขุด เรียงกลองลวดตาขายเกเบี้ยน
บรรจุหินใหแนนเต็มกลอง
แผนใยสังเคราะห
ระดับน้ําต่ําสุดเฉลี่ย

ปรับ SLOPE
กลองแมทเทรส
บรรจุหินใหแนนเต็มกลอง

รูปที่ 1.2-1 (จ) รูปแบบที่ 5 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบกลองลวดตาขายบรรจุหิน (Gabion)

(2) เขือ่ นปองกันตลิ่งชนิดไมมโี ครงสรางกันดิน คือ เขื่อนปองกันตลิ่งที่ใชแกไขปญหาการกัดเซาะ


เถียรภาพของลาดตลิ่ง และปญหาน้ําทวมที่เกิดขึ้นเปนประจําเชนเดียวกับเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดที1่ แตเขื่อน
ปองกันตลิ่งประเภทนี้จะมีลักษณะโครงสรางเอียง เหมาะกับบริเวณพื้นที่ที่มีหนาตัดลําน้ําคอนขางมาก และ การ
กอสรางเขื่อนปองกันตลิง่ ชนิดนี้จะมีราคาคากอสรางต่ํากวาเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดที1่ เขื่อนปองกันตลิ่งชนิดนี้
สามารถแบงออกไดเปน 5 รูปแบบ ดังแสดงในรูปที่ 1.2-1(ฉ) ถึง 1.2-1(ญ) ประกอบดวย

- รูปแบบที่ 6 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบหินทิ้ง
- รูปแบบที่ 7 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบหินเรียง
- รูปแบบที่ 8 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบหินเรียงและขั้นบันได
- รูปแบบที่ 9 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบวางลาดตลิ่งดวยกลอง Gabion
- รูปแบบที่ 10 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบวางลาดตลิ่งดวยกลอง Mattress

1-5 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 1 บทนํา

แนวสันเขื่อน
ถมดินปรับพืน้ ที่ตามสภาพจริง
n ระดับสันเขือ่ น
1 ระดับน้ําสูงสุดเฉลีย่
1
1 n
1 L
ไมนอ ยกวา 1.00 ม.
ระดับสันคันหิน
n ระดับน้ําต่ําสุดเฉลีย่
1
1
1
ทิ้งหินใหญแทรกโพรงดวยหินเล็กใหแนน
ดินขุดเพือ่ วางฐานคันหิน
แลวถมดินกลับตามสภาพเดิม
รูปที่ 1.2-1 (ฉ) รูปแบบที่ 6 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบหินทิ้ง

แนวสันเขื่อน

ดินถมหลังเขื่อนบดอัดแนน
ปลูกหญา
ระดับสันเขื่อน

เรียงหินใหญแทรกโพรงดวยหินเล็ก
n1
1 ความหนาไมนอยกวา 1.00 ม.

ระดับสันคันหิน แนวดินตัด
n2 n4 ทรายถมชุมน้ําอัดแนน
ไมนอยกวา 1.50 ม. 1 1
1
n3 แผนใยสังเคราะห

ทิ้งหินใหญ
กลองแมทเทรสบรรจุหินใหแนนเต็มกลอง

รูปที่ 1.2-1(ช) รูปแบบที่ 7 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบหินเรียง

ทางเทาปูบลอดตัวหนอน
คานหิน ค.ส.ล. คาน ค.ส.ล.

ถมดินเหนียวปลูกหญา แนวสันเขือ่ น
ระดับน้ําสูงสุดเฉลี่ย
ระดับสันเขือ่ น
n2 n3 เรียงหินใหญแทรกโพรงดวยหินเล็ก
1 1 n1
1 เรียงหินใหญแทรกโพรงดวยหินเล็กพรอมยาแนวดวยปูนทราย
คาน ค.ส.ล.
ถมทรายบดอัดแนน ระดับคันหินทิ้ง
แผนใยสังเคราะห n6 ระดับน้ําต่ําสุดเฉลี่ย
1 n4
ไมนอยกวา 1.50 ม. n5 1 1

แนวดินตัด ทิ้งหินใหญ

รูปที่ 1.2-1(ซ) รูปแบบที่ 8 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบหินเรียงและขั้นบันได


1-6 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 1 บทนํา

แนวสันเขื่อน
เรียงหินใหญแทรกโพรงดวยหินเล็กใหแนน
ถมดินบดอัดแนน
ระดับสันเขื่อน
ปรับ Slope
หรือตามสภาพพื้นที่จริง
เรียงกลองลวดตาขายเกเบี้ยน บริเวณนี้ถมทรายบดอัดแนน
n1 ความหนาไมนอยกวา 1.00 ม.
บรรจุหินใหแนนเต็มกลอง 1

แผนใยสังเคราะห
ระดับคันหิน
n4 ถมทรายบดอัดแนน
n2 1 1
1 ไมนอยกวา 1.50 ม.
n3

คันหินทิ้งหินใหญ

รูปที่ 1.2-1(ฌ) รูปแบบที่ 9 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบวางลาดตลิ่งดวยกลอง Gabion

แนวสันเขือ่ น เรียงหินใหญแทรกโพรงดวยหินเล็ก

ระดับสันเขือ่ น ระดับน้ําสูงสุดเฉลีย่

ดินถมบดอัดแนน หนา 0.50 ม. n1 เรียงกลองลวดตาขายแมทเทรส บรรจุหินใหแนนเต็มกลอง


1
ความหนาไมนอยกวา 1.00 ม.
แนวดินตัด
ปูแผนใยสังเคราะห เรียงหินใหญแทรกโพรงดวยหินเล็ก
ถมทรายบดอัดแนน
ระดับสันคันหิน
1 n4 n2 ระดับน้ําต่ําสุดเฉลี่ย
ไมนอยกวา 1.50 ม. n3 1 1

ทิ้งหินใหญ
กลองแมทเทรส บรรจุหินใหแนนเต็มกลอง

รูปที่ 1.2-1 (ญ) รูปแบบที่ 10 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบวางลาดตลิ่งดวยกลอง Mattress

สําหรับขอดีและขอจํากัดของเขื่อนปองกันตลิ่งในแตละรูปแบบสรุปไดดังแสดงในตารางที่ 1.2-1 และ


ตารางที่ 1.2-2 โดยในการคัดเลือกรูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งที่จะนํามาใชในแตละพื้นที่ จะตองมีการศึกษาและ
วิเคราะหขอมูลอยางละเอียดทั้งในดานอุทกวิทยา-ชลศาสตร ดานปฐพีกลศาสตร สิ่งแวดลอม และราคาคา
กอสราง เพื่อใหไดรูปแบบเขือ่ นปองกันตลิ่งที่มีความเหมาะสมมากที่สุด

1-7 กรมโยธาธิการและผังเมือง
ตารางที่ 1.2-1 ขอดีและขอจํากัดของเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดมีโครงสรางกันดิน แตละรูปแบบ

รูปแบบที่ ชนิดของเขื่อนปองกันตลิ่ง ขอดี ขอจํากัด


ราวกัน ตก
คานรัด หัว เสาเข็ม แนวสันเขื่อ น
- คงทนแข็งแรง อายุการใชงานนาน - ราคาคากอสรางสูง
ถมดิ นเหนีย วปลูก หญ า ระดั บ น้ํา สูงสุด เฉลี่ย - ดานบนกําแพงยังคงปรับสภาพเปนที่พักผอนริมตลิ่ง - ในกรณีที่บริเวณกอสรางคับแคบจํากัดทําใหการกอสราง
ระดั บ สัน เขื่อน
ทําใหมีทัศนียภาพบริเวณริมเขื่อนไดดวย ทําไดยาก
ถมทรายราดน้ําชุม บดอัด แนน ระดั บ น้ําต่ําสุด เฉลี่ย - เหมาะกับพื้นที่ที่เปนชั้นดินออนและลําน้ําแคบ - การกอสรางตองใชปนจั่นในการตอกเข็ม
แนวดิ น ขุด
-การดูแลรักษานอย ไมยุงยาก - ตองมีเสนทางเพื่อใหสามารถลําเลียงเสาเข็มเขาพื้นที่
แผง คสล.
1 กอสรางได
แผนใยสังเคราะห ต ลอดแนวหลังเขื่อ น
- หากตัวเขื่อนมีความสูงมาก จะดูไมสวยงามแข็งกระดาง
เสาเข็ม B
กลอ งลวดตาขายแมทเทรส เปนกําแพง
เสาเข็ม A
ภายในบรรจุ หิน ให แน นเต็ม กลอ ง

เขื่อนปองกันตลิ่งแบบเข็มหลักและเข็มสมอ
พื้นทางเทา คสล.
หรือแผนพื้นคอนกรีตสําเร็จรูป - คงทนแข็งแรง อายุการใชงานนาน - ราคาคากอสรางสูง
ราวกันตก - เหมาะกั บ บริ เ วณที่ มี ค วามจํ า เป น ต อ งใช ป ระโยชน - ในกรณีที่บริเวณกอสรางคับแคบจํากัดทําใหการกอสราง
คานรัดหัวเสาเข็ม
แนวสันเขื่อน
ถมดินบดอัดแนน พื้ น ที่ บ ริ เ วณริ ม เขื่ อ นเพื่ อ กิ จ กรรมต า งๆ เช น การ ทําไดยาก
n1 ระดับสันเขื่อน
1
พักผอน การสันทนาการ หรือการสัญจร - การกอสรางตองใชปนจั่นในการตอกเข็ม
คานรัดหัวเสาเข็ม
h1
คานพื้น
- เหมาะกับพื้นที่ที่เปนชั้นดินออนมากๆหรือดินเลนและ - ตองมีเสนทางเพื่อใหสามารถลําเลียงเสาเข็มเขาพื้นที่
L
ระดับสันกลองแมทเทรส ลําน้ําแคบ กอสรางได
h2
ถมทรายราดน้ําชุมบดอัดแนน

แนวดินขุด
- ไดพื้นที่ริมตลิ่งเพิ่มขึ้น - หากตัวเขื่อนมีความสูงมาก จะดูไมสวยงามแข็งกระดาง
2
กลองแมทเทรส - การดูแลรักษานอย ไมยุงยาก เปนกําแพง
แผนใยสังเคราะหตลอดแนวหลังเขื่อน บรรจุหินใหแนนเต็มกลอง
1
แผง คสล.
n2
แผนใยสังเคราะห

เสาเข็ม C
เสาเข็ม B
เสาเข็ม A

เขื่อนปองกันตลิ่งแบบโครงสรางยกลอย
ตารางที่ 1.2-1(ตอ) ขอดีและขอจํากัดของเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดมีโครงสรางกันดิน แตละรูปแบบ

รูปแบบที่ ชนิดของเขื่อนปองกันตลิ่ง ขอดี ขอจํากัด


- คงทนแข็งแรง อายุการใชงานนาน - ตองมีพื้นที่ดานหลังเขื่อนมากพอที่จะกอสรางแผงสมอ
ทอน้าํ ทิง้ คอนกรีต
ลาด 1:100 ยาวทะลุชนั้ แผน ค.ส.ล. - ดานบนกําแพงยังคงปรับสภาพเปนที่พักผอนริมตลิ่ง ยึดรั้ง
ทางเทาปูแผนพืน้ คอนกรีตบล็อกประสาน คานทับหลังเสาเข็ม ค.ส.ล.
รางระบายน้าํ ค.ส.ล. + บอพัก
ทําใหมีทัศนียภาพบริเวณริมเขื่อนไดดวย - คุณสมบัติของดินดานหลังเขื่อนจะตองมี ความแข็งแรง
ราวกันตก
คันหิน ค.ส.ล. - เหมาะกับพื้นที่ที่เปนชั้นดินออนและลําน้ําแคบ มากพอสําหรับตานทานแผงสมอ คสล. ใหสามารถยึดรั้งตัว
ถมดินเหนียว ปลูกหญา ระดับสันเขือ่ น ระดับน้าํ สูงสุดเฉลีย่
- การดูแลรักษานอย ไมยุงยาก เขื่อนได
แผง ค.ส.ล. - ราคาคากอสรางถูกกวารูปแบบที่ 1 และ2 - หากกอสรางบริเวณที่เปนน้ํากรอยหรือน้ําเค็มจะตองมี
3 แผงสมอ ค.ส.ล. การปองกันสนิมสายสมอ
สายสมอ ชุบแอสฟลทแลวพันดวย
ผาดิบชุบแอสฟสทพรอมเกลียวเรง - การกอสรางตองใชปนจั่นในการตอกเข็ม
ระดับน้าํ ต่าํ สุดเฉลีย่
ถมทรายราดน้าํ ชุม บดอัดแนน
- ตองมีเสนทางเพื่อใหสามารถลําเลียงเสาเข็มเขาพื้นที่
แผนใยสังเคราะหตลอดแนวหลังเขือ่ น
กอสรางได
เสาเข็ม กลองลวดตาขายแมทเทรส -หากตัวเขื่อนมีความสูงมาก จะดูไมสวยงามแข็งกระดาง
ภายในบรรจุหนิ ใหแนนเต็มกลอง
เปนกําแพง
เขื่อนปองกันตลิ่งแบบเข็มเดี่ยวพรอมสมอยึดรั้ง
- แข็งแรงทนทานอาศัยน้ําหนักของพนังกั้นน้ําเองเปน - ความสู งของเขื่ อนทํ าได จํากั ด ถาตลิ่ งสูงต องแบ งเป น
ตัวตานทานแรงดันดิน ชั้นๆ เพื่อความแข็งแรง
แนวสันเขือ่ น
ถมดินเหนียวปดทับ ปลูกหญา - ใชกับตลิ่งที่มีลําน้ําแคบและลาดชันสูง - ดินฐานรากตองมีความแข็งแรง กรณีฐานรากเปนดินออน
n2 ระดับสันเขือ่ น ระดับน้าํ สูงสุดเฉลีย่
1 - คากอสรางไมสูง ตองใชฐานรากระบบเสาเข็ม ทําใหราคาสูง
กลองลวดตาขายเกเบีย้ น - ในกรณีที่ระดับน้ําต่ําสุดมีระดับสูงจะทําใหเขื่อนมีราคา
แผนใยสังเคราะห บรรจุหนิ ใหแนนเต็มกลอง
กลองแมทเทรส
แพงและกอสรางไดยาก
แผนลวดตาขายเสริมแรง
4 บรรจุหนิ ใหแนนเต็มกลอง - ควบคุมการกอสรางไดยาก
เปนชิน้ เดียวกันกับกลอง
เกเบีย้ นหรือ Geogrid n1 ระดับน้าํ ต่าํ สุดเฉลีย่
ตลอดความยาวเขือ่ น 1 n3
ทรายถมชุม น้าํ อัดแนน 1

L1 L2

เขื่อนปองกันตลิ่งแบบตาขายเสริมกําลังดินหรือ Geogrid
ตารางที่ 1.2-1(ตอ) ขอดีและขอจํากัดของเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดมีโครงสรางกันดิน แตละรูปแบบ

รูปแบบที่ ชนิดของเขื่อนปองกันตลิ่ง ขอดี ขอจํากัด


- ประหยัดการใชวัสดุถมเนื่องจากสามารถปรับใหลาด - ดินฐานรากตองมีความแข็งแรง กรณีฐาน รา กเ ป น ดิ น
แนวสันเขื่อน ตลิ่งมีความชันสูงได ออนตองใชฐานรากระบบเสาเข็ม ทําใหราคาสูง
ระดับน้ําสูงสุดเฉลี่ย - แข็งแรงทนทานอาศัยน้ําหนักของเขื่อนเองเปนตัว - ไมสามารถกอสรางสูงมากถาไมมีการเสริมแรงดิน
ระดับสันเขือ่ น
ตานทานแรงดันดิน - ตองการดูแลรักษาพอสมควรโดยเฉพาะกลองตาขาย
ทรายถมชุมน้ําอัดแนน
- ใชกับตลิ่งที่มีความชันได - ตองการผูควบคุมงานที่มีความรูความชํานาญโดยตรง
1 - กอสรางงาย ไมตองอาศัยชางฝมือ - คุณภาพน้ําในลําน้ํามีผลตออายุการใชงานของเขื่อน
n
5 แนวดินขุด เรียงกลองลวดตาขายเกเบี้ยน - ค า ก อ สร า งไม สู ง เมื่ อ เที ย บกั บ เขื่ อ นที่ มี ค วามสู ง - ควบคุมคุณภาพไดลําบาก
บรรจุหินใหแนนเต็มกลอง
แผนใยสังเคราะห ใกลเคียงกัน
ระดับน้ําต่ําสุดเฉลี่ย - เสริมความแข็งแรงใหกับดินถมดานหลังเขื่อนและเพิ่ม
เสถียรภาพใหลาดตลิ่ง
ปรับ SLOPE
กลองแมทเทรส - ใชหินขนาดเล็ก ไมตองการเครื่องจักรขนาดใหญ
บรรจุหินใหแนนเต็มกลอง

เขื่อนปองกันตลิ่งแบบกลองลวดตาขายบรรจุหิน (Gabion)
ตารางที่ 1.2-2 ขอดีและขอจํากัดของเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดไมมีโครงสรางกันดิน แตละรูปแบบ

รูปแบบที่ ชนิดของเขื่อนปองกันตลิ่ง ขอดี ขอจํากัด


- เหมาะสํ าหรั บในสภาพการกั ดเซาะตลิ่ งที่ ต องการการ - ตองใชพื้นที่กับตัวเขื่อนมากโดยเฉพาะใน กรณีที่ตลิ่งสูง
แนวสันเขือ่ น แกปญหาชั่วคราว เชน ในสถานการณฉุกเฉิน เปนตน โดย ก็จะตองใชพื้นที่ในแนวราบ มากตามไปดวย
ถมดินปรับพืน้ ที่ตามสภาพจริง จะทิ้งหินเฉพาะตําแหนงที่เกิดการกัดเซาะ - อาจเกิดการยื่นล้ําเขาไปในลําน้ําเพราะความลาดของตัว
n ระดับสันเขือ่ น
1 ระดับน้ําสูงสุดเฉลีย่
- กอสรางไดรวดเร็วไมตองใชเทคนิคกอสรางสูง เขื่อน
1
1 n - คากอสรางถูก - ตองเสียพื้นที่ไปกับตัวเขื่อนมาก เนื่องจากตองควบคุม
1 L
6 ไมนอยกวา 1.00 ม. คามลาดเอียง
ระดับสันคันหิน
n ระดับน้ําต่ําสุดเฉลี่ย - ตองระวังดินออนหรือดินจะเกิดการไหล
1
1
1 - การเลื่ อนไหลของหิ นทิ้ งเปนไปได งายทําให ตองมี การ
ทิ้งหินใหญแทรกโพรงดวยหินเล็กใหแนน
ดินขุดเพื่อวางฐานคันหิน ดูแลรักษาเปนประจํา
แลวถมดินกลับตามสภาพเดิม
- หินที่มีขนาดใหญอาจจําเปนตองใชเครื่องจักรขนาดใหญ
เขื่อนปองกันตลิ่งแบบหินทิ้ง - ควบคุมคุณภาพไดลําบาก
- ลดแรงกระแทกของคลื่นน้ํา และชวยปองกันการกัดเซาะ - ไมเหมาะกับลําน้ําแคบๆและมีตลิ่งสูง
ตลิ่ง - เหมาะกับลําน้ํากวางๆ
แนวสันเขือ่ น - การเรียงหินจะชวยทําใหหินยึดเกาะกันแนนขึ้น ซึ่งชวย - อาจเกิดการยื่นล้ําเขาไปในลําน้ําเพราะความลาดของตัว
ลดการยุบตัวของหินและดูสวยงามเรียบรอย เขื่อน
ดินถมหลังเขือ่ นบดอัดแนน
ปลูกหญา - ดานหลังเขื่อนสามารถปรับปรุงเปนทางเดินริมเขื่อนและ - ตองเสียพื้นที่ไปกับตัวเขื่อนมาก เนื่องจากตองควบคุม
ระดับสันเขือ่ น

เรียงหินใหญแทรกโพรงดวยหินเล็ก เปนที่พักผอนหยอนใจไดดวย ความลาดเอียง


n1
7 1 ความหนาไมนอ ยกวา 1.00 ม. - ดูแลรักษางาย - ตองระวังดินออนหรือดินจะเกิดการไหล
ระดับสันคันหิน แนวดินตัด
- ในระยะยาวจะมีการทับถมของดินดานหนาและมีตนไม
n2 n4 ทรายถมชุม น้าํ อัดแนน
ไมนอ ยกวา 1.50 ม. 1 1 เกิดขึ้นทําใหดูกลมกลืนกับธรรมชาติ
1
n3 แผนใยสังเคราะห
- การทรุดตัวของเขื่อน สังเกตไดยาก
ทิง้ หินใหญ
กลองแมทเทรสบรรจุหนิ ใหแนนเต็มกลอง

เขื่อนปองกันตลิ่งแบบหินเรียง
ตารางที่ 1.2-2(ตอ) ขอดีและขอจํากัดของเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดไมมีโครงสรางกันดิน แตละรูปแบบ

รูปแบบที่ ชนิดของเขื่อนปองกันตลิ่ง ขอดี ขอจํากัด


- เหมือนกับเขื่อนปองกันตลิ่งรูปแบบที่7 และใชกับพื้นที่ที่ - ดูแข็งกระดางไมกลมกลืนกับธรรมชาติ
ทางเทาปูบลอดตัวหนอน ตองใชประโยชนบริเวณลาดตลิ่ง เชนการพักผอน หรือเพื่อ - ราคาคากอสรางแพงกวาเขื่อนปองกันตลิ่งแบบหินเรียง
คานหิน ค.ส.ล. คาน ค.ส.ล.
กิจกรรมนันทนาการ และงานประเพณีตางๆ -- อาจเกิดการยื่นล้ําเขาไปในลําน้ําเพราะความลาดของตัว
แนวสันเขือ่ น
ถมดินเหนียวปลูกหญา
ระดับน้าํ สูงสุดเฉลีย่ เขื่อน
ระดับสันเขือ่ น
n2 n3 เรียงหินใหญแทรกโพรงดวยหินเล็ก
1 1 n1 - ตองเสียพื้นที่ไปกับตัวเขื่อนมาก เนื่องจากตองควบคุม
1 เรียงหินใหญแทรกโพรงดวยหินเล็กพรอมยาแนวดวยปูนทราย
คาน ค.ส.ล.
ความลาดเอียง
8
ถมทรายบดอัดแนน ระดับคันหินทิง้ - ตองระวังดินออนหรือดินจะเกิดการไหล
แผนใยสังเคราะห n6 ระดับน้าํ ต่าํ สุดเฉลีย่
n4
ไมนอ ยกวา 1.50 ม. 1 n5 1 1 - ไมเหมาะกับลําน้ําแคบๆและมีตลิ่งสูง
- เหมาะกับลําน้ํากวางๆ
แนวดินตัด ทิง้ หินใหญ

เขื่อนปองกันตลิ่งแบบหินเรียงและขั้นบันได
- การยึดเกาะของ กลอง Gabion ดีกวาหินเรียง โดยตัว - คากอสรางสูง
กลองจะชวยยึดหินใหเปนกอนเดียวกันไมหลุดลอยไปตาม - ในระยะยาวอาจมีการผุกรอนหรือฉีกขาดของกลอง
แนวสันเขือ่ น กระแสน้ํา - ไมเหมาะกับลําน้ําแคบๆและมีตลิ่งสูง
เรียงหินใหญแทรกโพรงดวยหินเล็กใหแนน
ถมดินบดอัดแนน - ใชหินขนาดเล็ก ไมจําเปนตองใชเครื่องจักขนาดใหญ - ตองใชพ้ืนที่กับตัวเขื่อนมากโดยเฉพาะใน กรณีที่ตลิ่งสูง
ระดับสันเขือ่ น
ปรับ Slope ก็จะตองใชพื้นที่ในแนวราบ มากตามไปดวย
หรือตามสภาพพื้นที่จริง
บริเวณนี้ถมทรายบดอัดแนน
- อาจเกิดการยื่นล้ําเขาไปในลําน้ําเพราะ ความลาดของ
เรียงกลองลวดตาขายเกเบี้ยน
n1 ความหนาไมนอยกวา 1.00 ม.
9 บรรจุหินใหแนนเต็มกลอง 1 ตัวเขื่อน
- ควบคุมคุณภาพไดยาก
แผนใยสังเคราะห - การทรุดตัวของเขื่อนจะเห็นไดชัดเจน
ระดับคันหิน
ถมทรายบดอัดแนน
n2 n4 1
1
1 ไมนอยกวา 1.50 ม.
n3

คันหินทิ้งหินใหญ

เขื่อนปองกันตลิ่งแบบวางลาดตลิ่งดวยกลอง Gabion
ตารางที่ 1.2-2(ตอ) ขอดีและขอจํากัดของเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดไมมีโครงสรางกันดิน แตละรูปแบบ
รูปแบบที่
ชนิดของเขื่อนปองกันตลิ่ง ขอดี ขอจํากัด

แนวสันเขือ่ น เรียงหินใหญแทรกโพรงดวยหินเล็ก - กลอง Mattress จะมีความออนตัวมากกวากลอง Gabion - เหมือนกับเขื่อนปองกันตลิ่งรูปแบบที่ 9


เนื่องจากมีความหนานอยกวา และมีฐานกวางมากกวา ซึ่ง
ระดับสันเขือ่ น ระดับน้าํ สูงสุดเฉลีย่ ในกรณีที่ดินบริเวณลาดตลิ่งเกิดการเคลื่อนตัวหรือยุบตัว
ดินถมบดอัดแนน หนา 0.50 ม.
ตัวกลอง Mattress ก็ยังคงสภาพและแนบกับลาดตลิ่งที่เกิด
n1 เรียงกลองลวดตาขายแมทเทรส บรรจุหนิ ใหแนนเต็มกลอง
1 การเคลื่อนตัวหรือยุบตัว ทําใหกระแสน้ําไมสามารถกัด
ความหนาไมนอ ยกวา 1.00 ม.
แนวดินตัด
10 ปูแผนใยสังเคราะห เรียงหินใหญแทรกโพรงดวยหินเล็ก เซาะใตกลองได สวนขอดีในดานอื่นๆ เหมือนกับเขื่อน
ถมทรายบดอัดแนน ปองกันตลิ่งรูปแบบที่ 9
ระดับสันคันหิน
1 n4 n2 ระดับน้าํ ต่าํ สุดเฉลีย่
ไมนอ ยกวา 1.50 ม. n3 1 1

ทิง้ หินใหญ
กลองแมทเทรส บรรจุหนิ ใหแนนเต็มกลอง

เขื่อนปองกันตลิ่งแบบวางลาดตลิ่งดวยกลอง Mattress
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 1 บทนํา

1.3 ขอมูลที่จําเปนในการใชเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่ง

ขอมูลที่นํามาใชในการวิเคราะหเพื่อคัดเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งประกอบดวยขอมูล 4
สวนหลักๆ (รายละเอียดการสํารวจ ดังแสดงในภาคผนวก ข) ไดแก
1) ขอมูลดานปฐพีกลศาสตร ไดแก ผลการเจาะสํารวจชั้นดินบริเวณที่จะกอสราง และขนาดหนาตัด
ของลําน้ํา
2) ขอมูลดานชลศาสตร ไดแก ความเร็วของกระแสน้ํา ความลาดชันของทองน้ํา ระดับน้าํ ต่ําสุด-
สูงสุด และขนาดคละของตะกอนทองน้ํา
3) ขอมูลดานการความตองการของชุมชนในการใชพื้นที่ริมตลิ่งเพื่อกิจกรรมสาธารณะตางๆ
รวมถึงขอมูลอาคารสิ่งปลูกสรางหรือระบบสาธารณูปโภคตางๆ บริเวณริมตลิ่ง
4) ขอมูลราคาวัสดุกอสรางบริเวณพื้นที่โครงการ

1-8 กรมโยธาธิการและผังเมือง
บทที่ 2
การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนํา
ที่เหมาะสม
บทที่ 2
การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนํา
ที่เหมาะสม
2.1 ขั้นตอนการเลือกรูปแบบที่เหมาะสม

เมื่อชุมชนหรือทองถิ่นมีความตองการกอสรางเขื่อนปองกันตลิ่งเพื่อบรรเทาปญหาที่เกิดขึ้นเนื่องจาก
การกัดเซาะหรือพังทลายของตลิ่ง ดังนั้นจึงจําเปนตองดําเนินการคัดเลือกรูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งที่มีความ
เหมาะสมกับพื้นที่หรือบริเวณตลิ่งลําน้ําที่เกิดความเสียหาย โดยมีขั้นตอนดังแสดงในรูปที่ 2.1-1 ซึ่งจะตองมีการ
วิเคราะหทั้งในดานปฐพีกลศาสตร ดานชลศาสตร การใชประโยชนของพื้นที่ และราคาคากอสราง โดยมีรายละเอียด
ของการพิจารณาในแตละดานดังนี้

การสํารวจและรวบรวมขอมูล
การสํารวจบริเวณพื้นที่กอสราง, การสํารวจดานปฐพีกลศาสตร,
การสํารวจดานชลศาสตร, การรวบรวมขอมูลดานสิ่งแวดลอม

การวิเคราะหดานปฐพีกลศาสตร การวิเคราะหดานชลศาสตร
•การวิเคราะหเสถียรภาพของลาดตลิ่งเดิม •การวิเคราะหความเร็วของกระแสน้ํา
•การวิเคราะหเสถียรภาพของลาดตลิ่งทีม่ ีการปรับปรุง •การวิเคราะหความลึกและการปองกันการกัดเซาะบริเวณ Toe Slope
•การคัดเลือกรูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งที่มีความเหมาะสมใน •การออกแบบขนาดและความหนาของหินทิ้ง หินเรียง
ดานปฐพีกลศาสตร •การออกแบบขนาดของกลองลวดตาขาย Gabion หรือ Mattress

วัตถุประสงคการใชงาน
• ผลกระทบตอลําน้ําเดิม
• การใชพื้นที่ริมตลิ่ง

ราคาคากอสรางเบื้องตน

รูปแบบมาตรฐานแนะนําเขื่อนปองกันตลิ่ง

รูปที่ 2.1-1 ขั้นตอนการคัดเลือกรูปแบบมาตรฐานแนะนําเขื่อนปองกันตลิ่ง

2-1 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 2 การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําที่เหมาะสม

2.2 การวิเคราะหดานปฐพีกลศาสตร
การวิ เ คราะห ด า นปฐพี ก ลศาสตร มี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ คั ด เลื อ กรู ป แบบเขื่ อ นป อ งกั น ตลิ่ ง ที่ มี ค วาม
เหมาะสมทางดานปฐพีกลศาสตร โดยในการวิเคราะหจะตองทําการเตรียมขอมูลดินและคุณสมบัติทางวิศวกรรม
หรือกําลังรับแรงของดินเพื่อใชในการวิเคราะหหาคา เสถียรภาพความลาดของลาดตลิ่ง ดังนั้นผูทําการวิเคราะห
จึงจําเปนจะตองมีความรูเกี่ยวกับคุณสมบัติของดินและการจําแนกชนิดของดินพรอมทั้งสามารถประเมินรูปแบบ
ที่อาจจะเกิดการวิบัติได เพื่อใหสามารถเลือกคุณสมบัติของดินและหนาตัดที่เหมาะสมมาใชในการวิเคราะหได
อยางเหมาะสม

2.2.1 ขอแนะนําในการวิเคราะหดานปฐพีกลศาสตร

ในการวิเคราะหดานปฐพีกลศาสตรมีขอแนะนําดังตอไปนี้

1) ขอมูลดินที่ใชในการวิเคราะห จะตองใชขอมูลจากการเจาะสํารวจชั้นดินในพื้นที่กอสราง โดย


บริษัทเจาะสํารวจดินและรับรองโดยวิศวกร

2) การวิเคราะหหาคาเสถียรภาพความลาด (Safety Factor) สามารถดําเนินการโดยใชโปรแกรม


สําเร็จรูป เพื่อชวยลดระยะเวลาในการวิเคราะห อัตราสวนความปลอดภัยที่ต่ําสุด เชน KU Slope, G-Slope,
Slope W หรือ SB-Slope เปนตน ตัวอยางการวิเคราะหดวยโปรแกรม KU Slope ดังแสดงในรูปที่ 2.2-1

รูปที่ 2.2-1 การวิเคราะหอัตราสวนความปลอดภัยต่ําสุดโดยใชโปรแกรม KU Slope

2-2 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 2 การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําที่เหมาะสม

3) การหาคาเสถียรภาพความลาดตองมีน้ําหนักกระทํากับตลิ่งเทากับน้ําหนักบรรทุกทั่วไปไมเกิน 1
2
ตัน/ม

4) วิเคราะหในกรณีระดับน้ําลดลงอยางรวดเร็ว (Rapid Drawdown)

5) การหาคาเสถียรภาพของความลาดของลาดตลิ่งที่มีการปรับปรุงลาดตลิ่งเดิมโดยการปรับลดคา
ความลาดชันหลังจากปรับปรุงแลวไมเกิน 1: 2.5 (ระยะในแนวตั้ง : ระยะในแนวนอน)

6) การวิเคราะหทางดานปฐพีกลศาสตรเปนการวิเคราะหเพื่อใชในการคัดเลือกรูปแบบแนะนําเขื่อน
ปองกันตลิ่งและเปนแนวทางในการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งที่มีความเหมาะสมกับพื้นที่เทานั้น กอนทําการ
กอสรางจริงจําเปนตองมีการวิเคราะหออกแบบโดยละเอียดโดยวิศวกรที่มีความชํานาญเพื่อความปลอดภัยอีก
ครั้งหนึ่ง

2.2.2 ขั้นตอนการวิเคราะห

การวิเคราะหดานปฐพีกลศาสตรมีขั้นตอนดังแสดงในรูปที่ 2.2-2 โดยมีรายละเอียดดังนี้

1) ทําการเจาะสํารวจชั้นดินในพืน้ ที่กอสรางโดยบริษัทเจาะสํารวจดินและรับรองโดยวิศวกร พรอมกัน


นั้นตองทําการสํารวจเก็บขอมูลหนาตัดตลิ่งของลําน้ํา (Cross Section) บริเวณที่จะกอสราง โดยมีขั้นตอนการ
เจาะสํารวจดินแสดงดังภาคผนวก ข

2) จากขอมูลการเจาะสํารวจดิน และ ขอมูลการสํารวจหนาตัดตลิ่งของลําน้ํา นํามาจําแนกชนิดของ


ดินและหาตัวแปรทางดานปฐพีกลศาสตรของดินในแตละชัน้ เชน คาหนวยน้ําหนัก (Unit Weight), คาความ
เชื่อมแนนของดิน (Undrain Shear Strength, C) และคามุมเสียดทาน (Friction Angle, θ) เปนตน เพื่อใชเปน
ขอมูลในการวิเคราะหคาเสถียรภาพของลาดตลิ่ง

3) หาคาเสถียรภาพความลาดของลาดตลิ่งเดิมจากขอมูลการเจาะสํารวจดิน และ ขอมูลการสํารวจ


หนาตัดตลิ่งของลําน้ํา ซึ่งสามารถใชโปรแกรมสําเร็จรูปในการวิเคราะห เชน KU Slope, G-Slope, Slope W
หรือ SB-Slope เปนตน

2-3 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 2 การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําที่เหมาะสม

การวิเคราะหดานปฐพีกลศาสตร

การสํารวจบริเวณพื้นที่กอสราง
•ผลการเจาะสํารวจชั้นดิน
•ผลการสํารวจรูปตัดลําน้ํา

ผลการวิเคราะหเสถียรภาพของลาดตลิ่งเดิม
(โปรแกรมสําเร็จรูป)

Safety Factor (SF) นอยกวา1.3 Safety Factor (SF) มากกวาเทากับ 1.3


รูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งที่มีความ รูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งที่มีความ
เหมาะสมดานปฐพีกลศาสตร เหมาะสมดานปฐพีกลศาสตร
• ชนิดมีโครงสรางกันดิน (5 รูปแบบ) • ชนิดมีโครงสรางกันดิน (5 รูปแบบ)
• ชนิดไมมีโครงสรางกันดิน (5 รูปแบบ) • ชนิดไมมีโครงสรางกันดิน (5 รูปแบบ)

ผลการวิเคราะหเสถียรภาพของลาดตลิ่งหลังจากปรับปรุง
ความลาดชันของลาดตลิ่งเดิมเปน 1:2.5 (โปรแกรมสําเร็จรูป)
SF นอยกวา 1.3 SF มากกวาเทากับ 1.3

รูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งที่มีความ รูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งที่มีความ
เหมาะสมดานปฐพีกลศาสตร เหมาะสมดานปฐพีกลศาสตร
• ชนิดมีโครงสรางกันดิน (5 รูปแบบ) • ชนิดมีโครงสรางกันดิน (5 รูปแบบ)
• ชนิดไมมีโครงสรางกันดิน (5 รูปแบบ)

รูปที่ 2.2-2 ขั้นตอนการวิเคราะหดานปฐพีกลศาสตร

3.1) ผลการวิเคราะหหาคาเสถียรภาพความลาดของลาดตลิ่งเดิม กําหนดเกณฑความปลอดภัย


ของลาดตลิ่งเดิมที่ 1.3 ในกรณีที่ SF ของลาดตลิ่งเดิมมีคามากกวาหรือเทากับ 1.3 แสดงวาลาดตลิ่งเดิมมี
เสถียรภาพเพียงพอแตยังคงมีปญหาในดานการกัดเซาะตลิ่ง ดังนั้นเลือกใชรูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดไมมี
โครงสรางกันดิน 5 รูปแบบ หรือ สามารถเลือกใชรูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดมีโครงสรางกันดิน 5 รูปแบบ ดังนี้
รูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดไมมีโครงสรางกันดิน 5 รูปแบบ
- เขื่อนปองกันตลิ่งแบบหินทิ้ง
- เขื่อนปองกันตลิ่งแบบหินเรียง
- เขื่อนปองกันตลิ่งแบบหินเรียงและขั้นบันได
- เขื่อนปองกันตลิ่งแบบวางลาดตลิ่งดวยกลอง Gabion
- เขื่อนปองกันตลิ่งแบบวางลาดตลิ่งดวยกลอง Mattress

2-4 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 2 การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําที่เหมาะสม

รูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดมีโครงสรางกันดิน 5 รูปแบบ
- เขื่อนปองกันตลิ่งแบบเข็มหลักและเข็มสมอ
- เขื่อนปองกันตลิ่งแบบโครงสรางยกลอย
- เขื่อนปองกันตลิ่งแบบเข็มเดีย่ วพรอมสมอยึดรั้ง
- เขื่อนปองกันตลิ่งแบบตาขายเสริมกําลังดินหรือ Geogrid
- เขื่อนปองกันตลิ่งแบบกลองลวดตาขายบรรจุหิน (Gabion)

3.2) ในกรณีที่ความ SF ของลาดตลิ่งเดิมมีคานอยกวา 1.3 แสดงวาลาดตลิ่งเดิมมีเสถียรภาพไม


เพียงพอดังนั้นตองมีการเพิ่มเสถียรภาพของลาดตลิ่งเดิม โดยแบงไดเปน 2 รูปแบบ คือ รูปแบบเขือ่ นปองกัน
ตลิ่งชนิดไมมีโครงสรางกันดินและรูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดมีโครงสรางกันดิน ในการวิเคราะหเริ่มจากการ
พิจารณาหาคาเสถียรภาพของความลาดของลาดตลิ่งที่มีการปรับลดคาความลาดชันของลาดตลิ่งเดิมเปน 1: 2.5
ดังแสดงในรูปที่ 2.2-3 โดยการหาคาเสถียรภาพสามารถโปรแกรมสําเร็จรูปในการวิเคราะห

แนวสันเขื่อน

วัสดุปองกันการกัดเซาะ
2.5
1
1
นอยกวา 2.5

ทรายถมชุมน้ําอัดแนน

ดินเดิม

รูปที่ 2.2-3 การปรับปรุงลาดตลิ่งเดิมเปน 1:2.5

3.2.1) ผลการวิเคราะหคาเสถียรภาพของความลาดของลาดตลิ่งที่มีการปรับลดคาความ
ลาดชันของลาดตลิ่งเดิมเปน 1:2.5 แลว กําหนดเกณฑความปลอดภัยเทากับ 1.3 ในกรณีที่ SF ของลาดตลิ่งที่มี
การปรับลดคาความลาดชันของลาดตลิ่งเดิมเปน 1: 2.5 มีคามากกวาหรือเทากับ 1.3 แสดงวามีเสถียรภาพ
เพียงพอดังนั้นเลือกใชรูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งที่สอดคลองกับการวิเคราะหความลาดของลาดตลิ่งที่มีการปรับ
ลดคาความลาดชันของลาดตลิ่งเดิมเปน 1: 2.5 คือรูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดไมมีโครงสรางกันดิน 5
รูปแบบ หรือ สามารถเลือกใชรูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดมีโครงสรางกันดิน 5 รูปแบบ ดังนี้
รูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดไมมีโครงสรางกันดิน 5 รูปแบบ
- เขื่อนปองกันตลิ่งแบบหินทิ้ง
- เขื่อนปองกันตลิ่งแบบหินเรียง
- เขื่อนปองกันตลิ่งแบบหินเรียงและขั้นบันได
- เขื่อนปองกันตลิ่งแบบวางลาดตลิ่งดวยกลอง Gabion
- เขื่อนปองกันตลิ่งแบบวางลาดตลิ่งดวยกลอง Mattress
2-5 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 2 การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําที่เหมาะสม

รูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดมีโครงสรางกันดิน 5 รูปแบบ
- เขื่อนปองกันตลิ่งแบบเข็มหลักและเข็มสมอ
- เขื่อนปองกันตลิ่งแบบโครงสรางยกลอย
- เขื่อนปองกันตลิ่งแบบเข็มเดีย่ วพรอมสมอยึดรั้ง
- เขื่อนปองกันตลิ่งแบบตาขายเสริมกําลังดินหรือ Geogrid
- เขื่อนปองกันตลิ่งแบบกลองลวดตาขายบรรจุหิน (Gabion)

3.2.2) ในกรณีที่ SF ของลาดตลิ่งที่มีการปรับลดคาความลาดชันของลาดตลิ่งเดิมเปน 1:


2.5 มีคานอยกวา 1.3 แสดงวารูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดไมมโี ครงสรางกันดินไมเหมาะสม ดังนั้นรูปแบบ
เขื่อนปองกันตลิ่งที่เหมาะสมทางดานปฐพีกลศาสตรไดแก รูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดมีโครงสรางกันดิน โดย
ในการเลือกรูปแบบจะถูกกําหนดโดยเสถียรภาพของตัวโครงสรางเองซึ่งมีขอกําหนดดังนี้
• กลองลวดตาขายบรรจุหน ิ (Gabion)
ขอกําหนด : กําลังรับน้ําหนักของดิน (Bearing Capacity) ตองเพียงพอตอการ
รับน้ําหนักของ Gabion ที่ระดับความสูงตางๆ โดยแบงตามชนิดของดินดังนี้
ดินทราย (Cohesion less Soil)
- ความสูงของ Gabion ไมเกิน 2 เมตร กําหนด Friction angle มากกวา 25o
- ความสูงของ Gabion ระหวาง 2 – 4 เมตร กําหนด Friction angle
มากกวา 28o
ดินเหนียว (Cohesive Soil)
- ความสูงของ Gabion ไมเกิน 2 เมตร กําหนด Undrain Shear Strength
มากกวา 3 t/m2
- ความสูงของ Gabion ระหวาง 2 – 4 เมตร กําหนด Undrain Shear
Strength มากกวา 6 t/m2

ทั้งนี้ไมควรใชโครงการปองกันตลิ่งชนิดกลองตาขายบรรจุหินในกรณีที่มคี วามสูง
ของลาดตลิ่งเกินกวา 4 เมตร

• เข็มหลักและเข็มสมอ
ขอกําหนด : ความสูงของโครงสรางกันดินตองสามารถรับแรงดันดานขาง
(Lateral Earth Pressure) ในสถานะ Active Earth Pressure ได
• เขื่อนปองกันตลิ่งแบบตาขายเสริมกําลังดินหรือ Geogrid
ขอกําหนด : สามารถทําการกอสรางไดทุกกรณีโดยกําหนดการออกแบบและ
การกอสรางจากบริษัทผูผลิต

จากการกําหนดรูปแบบที่มีความเหมาะสมดานปฐพีกลศาสตรโดยแบงรูปแบบเปน 2 กลุมหลัก
ดังกลาวขางตน เปนการกําหนดรูปแบบในเบื้องตนทั้งนี้ กอนจะทําการกอสรางจริงจําเปนตองทําการวิเคราะห
ออกแบบโดยละเอียดดวยชั้นดินที่ไดจากการเจาะสํารวจจริงโดยคํานึงถึงคาเสถียรภาพความปลอดภัยในทุก
กรณีโดยวิศวกรตอไป
2-6 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 2 การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําที่เหมาะสม

2.2.3 ตัวอยางการวิเคราะหดานปฐพีกลศาสตร

1) การรวบรวมขอมูลการเจาะสํารวจดินและการสํารวจหนาตัดตลิ่งดังแสดงตามตัวอยางขางลางนี้

ขอมูลดินจากการเจาะสํารวจ (Boring log)

PCB TECHNOLOGY CO.,LTD.

BORING LOG BORING NO : N-NH-2/2 ELEV. (m) :


PROJECT : เขื่อนปองกันตลิ่งราคาประหยัด สําหรับลําน้ําขนาดเล็กทั่วประเทศ DEPTH (m) : 7.95 GWL. (m) : -2.50
LOCATION : น้ําแหง บ.หัวเมื อง ต.ศรีษะเกษ อ.นานอย จ.นาน COORD. N : DATE STARTED : 11/11/2549
E : DATE FINISHED : 11/11/2549

RECOVERY (cm)
GRAPHIC LOG

SAMPLE NO.

Su
DEPTH (m)

Wn TOTAL
METHOD

SOIL DESCRIPTION SPT-N VALUE PL UC UNIT


(blows/ft) LL FVT WEIGHT
(%) (t/sq.m) (t/cu.m)
10 20 30 40 20 40 60 80 1 2 3 4 1.6 1.8 2.0
0.00 - 2.50 m. Sandy Lean Clay. (CL);
About 66% fines with low plasticity; 1
very stiff; about 31% fine sand;
about 3% gravel; brown; moist. 2 SS 40 28

WO
2.50 - 4.00 m. Clayey Sand. (SC); 3 WO
About 52% fine sand; dense; SS 40 31
about 44% fines with low-plasticity; 4 WO
about 4% gravel; brown; moist. WO
4.00 - 7.95 m. Silty Sand with Gravel. (SM); 5 SS 40 26

About 63% fine sand; medium to very dense; WO


about 16% fines with non-plasticity; 6 WO
about 23% gravel; gray; moist. SS 40 50/
7"
7 WO
WO
58/
8 SS 40 6"
END OF HOLE AT 7.95 M. WO

PCB TECHNOLOGY CO., LTD.


SUMMARY OF TEST RESULTS
PROJECT โครงการฯเขื่อนปองกันตลิ่งราคาประหยัดสําหรับลําน้ําขนาดเล็กทั่วประเทศ BORING NO. N-NH-2/2 TESTED BY สุรินทร DATE 22 พฤศจิกายน 2549
LOCATION น้ําแหง บ.หัวเมือง ต.ศรีษะเกษ อ.นานอย จ.นาน TOTAL DEPTH 7.95 M. CHECKED BY สิทธิชัย DATE 23 พฤศจิกายน 2549
SAMPLE DEPTH (M) Wn ATTERBERG LIMITS (%) GRADATION (% PASSING) SOIL TYPE γt SPT-N
Friction Angle
NO. FROM TO % LL. PL. PI. NO.4 NO.10 NO.40 NO.100 NO.200 (USCS) (t/m3) 2
(blow/ft) qu(t/m ) (degree) C(t/m2)
SS-1 1.50 1.95 20.05 SC 2.12 28 38
SS-2 3.00 3.45 22.11 29.50 20.54 8.96 96.01 88.45 71.11 53.92 43.7 SC 2.12 31 39
SS-3 4.50 4.95 9.76 NP NP - SM 1.96 26 37
SS-4 6.00 6.45 7.45 NP NP - 79.22 48.61 26.59 19.07 15.98 SM 1.97 50/7" 42
SS-5 7.50 7.95 9.90 SM 1.97 58/6" 41

2-7 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 2 การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําที่เหมาะสม

ขอมูลการสํารวจหนาตัดตลิ่ง
ความชันของลาดตลิ่งกําหนดที่ความชันในกรณีที่อันตรายที่สุดไดแก slope 1:1
กําหนดความสูงตลิ่งวัดจากทองคลองถึงริมตลิ่ง เทากับ 6 เมตร แสดงดังรูป

1
6 ม. 1

2) การวิเคราะหคา เสถียรภาพความลาด (SF) และคัดเลือกรูปแบบเบื้องตน

ก) การวิเคราะหดานเสถียรภาพความลาดตลิ่งเดิม (โปรแกรม KU Slope)

_______ กรณี SF>=1.3 : ใชรูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดไมมีโครงสรางกันดิน 5 รูปแบบ


- เขื่อนปองกันตลิ่งแบบหินทิ้ง
- เขื่อนปองกันตลิ่งแบบหินเรียง
- เขื่อนปองกันตลิ่งแบบหินเรียงและขั้นบันได
- เขื่อนปองกันตลิ่งแบบวางลาดตลิ่งดวยกลอง Gabion
- เขื่อนปองกันตลิ่งแบบวางลาดตลิ่งดวยกลอง Mattress

_______ กรณี SF<1.3 : ตองมีการเพิ่มเสถียรภาพของลาดตลิ่งเดิม

2-8 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 2 การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําที่เหมาะสม

ข) การวิเคราะหดานเสถียรภาพความลาดรูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดไมมีโครงสรางกันดิน
โดยมีการปรับลดคาความลาดชันของลาดตลิ่งเดิมเปน 1: 2.5 (โปรแกรม KU Slope)

_______ กรณี SF>=1.3 : รูปแบบที่ใชได


รูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดไมมีโครงสรางกันดิน 5 รูปแบบ
เขื่อนปองกันตลิ่งแบบหินทิ้ง
เขื่อนปองกันตลิ่งแบบหินเรียง
เขื่อนปองกันตลิ่งแบบหินเรียงและขั้นบันได
เขื่อนปองกันตลิ่งแบบวางลาดตลิ่งดวยกลอง Gabion
เขื่อนปองกันตลิ่งแบบวางลาดตลิ่งดวยกลอง Mattress
รูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดมีโครงสรางกันดิน 5 รูปแบบ
เขื่อนปองกันตลิ่งแบบเข็มหลักและเข็มสมอ
เขื่อนปองกันตลิ่งแบบโครงสรางยกลอย
เขื่อนปองกันตลิ่งแบบเข็มเดีย่ วพรอมสมอยึดรั้ง
เขื่อนปองกันตลิ่งแบบตาขายเสริมกําลังดิน (Geogrid)
เขื่อนปองกันตลิ่งแบบกลองลวดตาขายบรรจุหิน (Gabion)

_______ กรณี SF<1.3 : รูปแบบที่ใชได

รูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดมีโครงสรางกันดิน 5 รูปแบบ
เขื่อนปองกันตลิ่งแบบเข็มหลักและเข็มสมอ
เขื่อนปองกันตลิ่งแบบโครงสรางยกลอย
เขื่อนปองกันตลิ่งแบบเข็มเดีย่ วพรอมสมอยึดรั้ง
เขื่อนปองกันตลิ่งแบบตาขายเสริมกําลังดิน (Geogrid)
เขื่อนปองกันตลิ่งแบบกลองลวดตาขายบรรจุหิน (Gabion)
2-9 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 2 การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําที่เหมาะสม

***ขอกําหนด : กําลังรับน้ําหนักของดิน (Bearing Capacity) ตองเพียงพอตอการรับน้ําหนัก


ของ Gabion ที่ระดับความสูงตางๆ โดยแนะนําคาดังนี้แบงตามชนิดของดินดังนี้

ดินทราย (Cohesion less Soil)


- ความสูงของ Gabion ไมเกิน 2 เมตร กําหนด θ มากกวา 25o
- ความสูงของ Gabion ระหวาง 2 – 4 เมตร กําหนด θ มากกวา 28o
ดินเหนียว (Cohesive Soil)
- ความสูงของ Gabion ไมเกิน 2 เมตร กําหนด Su มากกวา 3 t/m2
- ความสูงของ Gabion ระหวาง 2 – 4 เมตร กําหนด Su มากกวา 6 t/m2

เนื่องจากความสูงของตลิ่งเกิน 4 เมตร ดังนั้นรูปแบบกลองลวดตาขายบรรจุหิน (Gabion) จึงไม


เหมาะสม ดังนัน้ รูปแบบแนะนําเขื่อนปองกันตลิ่งที่มีความเหมาะสมดานปฐพีกลศาสตร ประกอบดวย

รูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดไมมีโครงสรางกันดิน 5 รูปแบบ
เขื่อนปองกันตลิ่งแบบหินทิ้ง
เขื่อนปองกันตลิ่งแบบหินเรียง
เขื่อนปองกันตลิ่งแบบหินเรียงและขั้นบันได
เขื่อนปองกันตลิ่งแบบวางลาดตลิ่งดวยกลอง Gabion
เขื่อนปองกันตลิ่งแบบวางลาดตลิ่งดวยกลอง Mattress
รูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดมีโครงสรางกันดิน 5 รูปแบบ
เขื่อนปองกันตลิ่งแบบเข็มหลักและเข็มสมอ
เขื่อนปองกันตลิ่งแบบโครงสรางยกลอย
เขื่อนปองกันตลิ่งแบบเข็มเดีย่ วพรอมสมอยึดรั้ง
เขื่อนปองกันตลิ่งแบบตาขายเสริมกําลังดิน (Geogrid)
เขื่อนปองกันตลิ่งแบบกลองลวดตาขายบรรจุหิน (Gabion)

จากผลการวิเคราะหดานปฐพีกลศาสตรจะสามารถคัดเลือกชนิดของเขื่อนปองกันตลิ่งที่เหมาะสมได
ทั้งเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดมีโครงสราง หรือไมมีโครงสราง ซึ่งในขั้นตอนตอไปจะเปนการวิเคราะหดานชลศาสตร
เพื่อออกแบบขนาด และความหนาของวัสดุที่ใชปองกันการกัดเซาะบริเวณลาดตลิ่ง รวมถึงวัสดุที่ใชในการ
ปองกันการกัดเซาะบริเวณ Toe Slope ซึ่งมีรายละเอียดในการวิเคราะหดังนี้

2-10 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 2 การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําที่เหมาะสม

2.3 การวิเคราะหดานชลศาสตร
การวิ เ คราะห ด า นชลศาสตร จ ะเป น การวิ เ คราะห เ พื่ อ ออกแบบการป อ งกั น ผิ ว หน า ของลาดตลิ่ ง
ประกอบดวย (1) ลาดตลิ่งแบบหินเรียงหรือหินทิ้ง และ (2) ลาดตลิ่งแบบกลอง Gabion หรือ Mattress หรือ
เขื่อนปองกันตลิ่งรูปแบบที่ 4 ถึงรูปแบบที่ 10 ภายใตสมมุติฐาน และขอจํากัดตางๆ พรอมทั้งขั้นตอนในการ
วิเคราะหดังแสดงในรูปที่ 2.3-1 โดยมีรายละเอียดนี้

การวิเคราะหดานชลศาสตร

การสํารวจบริเวณพื้นที่กอสราง
•ผลการเจาะสํารวจชั้นดิน,การทดสอบตะกอนทองน้ํา
•ผลการสํารวจรูปตัดและความยาวลําน้าํ

วิเคราะหความเร็วของกระแสน้ํา และความลึกของการกัดเซาะที่ Toe Slope

ออกแบบวัสดุปองกัน ออกแบบวัสดุรองพื้น ออกแบบขนาดและ ออกแบบขนาดและ


การกัดเซาะที่ Toe Slope (Filter Material) ความหนาของหินทิ้ง หินเรียง ความหนาของกลอง
ลวดตาขาย Gabion หรือ
Mattress

รูปที่ 2.3-1 ขั้นตอนการวิเคราะหดานชลศาสตร

2.3.1 สมมติฐานและขอจํากัดตางๆ

1) คาระดับน้ําสูงสุดและอัตราการไหลสูงสุดที่ใชออกแบบ คือที่ระดับน้ําเต็มตลิ่ง สมมติใหการไหล


เปนแบบสม่ําเสมอ (Uniform Flow) ใชสูตรคํานวณการไหลของแมนนิง (Manning’s Equation)
2) ลําน้ํามีลักษณะการไหลแบบสม่ําเสมอ ไดรับอิทธิพลจากคลื่นน้ําทะเลคอนขางนอย

2.3.2 ขั้นตอนในการวิเคราะห

ขั้นตอนที่ 1 : รวบรวมขอมูลพื้นฐาน ไดแก ขอมูลสํารวจหนาตัดลําน้ํา แบบแปลนลําน้ํา ขอมูลทดสอบ


ขนาดคละตะกอนทองน้ํา(Gradation) ความลาดชันลําน้ํา โครงสรางอาคารบังคับน้ํา และอื่นๆ
ขั้นตอนที่ 2 : วิเคราะหคาระดับน้ําสูงสุดโดยเฉลี่ยในการออกแบบ สําหรับลําน้ําขนาดเล็กมีคาอยูที่
ระดับเต็มตลิ่ง
ขั้นตอนที่ 3 : คํานวณคาสัมประสิทธิ์ความหยาบผิวของแมนนิง (n’s Manning) ของชวงลําน้ําเมื่อมี
เขื่อนปองกันตลิ่ง

2-11 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 2 การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําที่เหมาะสม

ขั้นตอนที่ 4 : คํานวณคาความเร็วการไหลของน้ําที่ผานเขือ่ นปองกันตลิ่งจากสูตรของแมนนิง ใชคา n


จากขั้นตอนที่ 3 ขางตน คาระดับน้ําสูงสุดใชที่ระดับน้ําเต็มตลิ่ง
ขั้นตอนที่ 5 : คํานวณขนาดของหินทิ้ง หินเรียงและวัสดุกรอง
ขั้นตอนที่ 6 : คํานวณขนาดของGabion หรือ Mattress
ขั้นตอนที่ 7 : คํานวณความลึกของการกัดเซาะที่ Toe Slope

โดยมีรายละเอียดและตัวอยางในการวิเคราะหดังตอไปนี้

2.3.3 ตัวอยางในการวิเคราะห

การวิเคราะหดานชลศาสตรของเขื่อนปองกันตลิ่งลําน้ําแหง ตั้งอยู บานหัวเมือง ต.ศรีษะเกษ อ.นานอย


จ.นาน โดยมีสมมติฐานคาอัตราการไหลสูงสุดอยูที่ระดับเต็มตลิ่ง ออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งที่มีความลาดชัน
(แนวนอน:แนวตั้ง) เทากับ 2.5:1

จากการสํารวจสภาพภูมิประเทศของแนวตลิง่ ที่ถูกกัดเซาะ แสดงดังรูปดานลาง

1 2

3 4

2-12 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 2 การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําที่เหมาะสม

จากขอมูลสํารวจรูปตัดลําน้ํา คํานวณคาพารามิเตอรตางๆ สภาพภายหลังมีเขื่อน ไดดังนี้


- ความลึกน้ําโดยเฉลี่ย (จากระดับตลิ่ง ถึง พืน้ ทองน้ํา) มีคา = 6 เมตร
- ความกวางระหวางตลิ่งซาย-ขวา โดยเฉลี่ย = 24 เมตร
- ความกวางทองน้ําโดยเฉลี่ย = 14 เมตร
- ความลาดชันทองน้ําโดยเฉลี่ย = 0.0046

จากขอมูลสํารวจดินตะกอนบริเวณริมตลิ่ง นํามาทดสอบคา Gradation (%Passing) ไดผลดังนี้

ชื่อ SAMPLE ตําแหนงเก็บ GRADATION (% PASSING)


คลอง NO. ตัวอยาง NO.4 NO.10 NO.40 NO.100 NO.200
N-NH-R ฝงขวา 90.30 84.20 70.02 60.03 56.83
น้ําแหง
N-NH-L ฝงซาย 89.50 85.05 69.50 59.86 54.62

นําขอมูลขนาดคละของตะกอนดิน (Gradation หรือ %Passing) ที่ตลิ่งฝงซาย (ซึง่ เปนฝงลําน้ําที่


พิจารณาสรางเขื่อน) มาวิเคราะหหาคาขนาดคละตะกอนดินที่รอยละ 15 รอยละ 50 และรอยละ 85 หรือเรียกวา
D15, D50 และ D85 ตามลําดับ โดยใชกราฟดังแสดงในรูปดานลาง

จากกราฟขางตน พบวา ขนาดคละที่ D15 และ D50 มีคานอยกวา 0.0004 ม. และการทดสอบชนิด


ของดินตะกอนลําน้ํา พบวา ชนิดของดินเปน Lean Clay (CL)

นําขอมูลสํารวจและคาทดสอบพื้นฐานตางๆ ขางตน มาทําการวิเคราะหเพื่อออกแบบเขื่อนปองกัน


ตลิ่งชนิดหินทิง้ ชนิดหินเรียง ชนิดกลอง Gabion และ กลอง Mattress ดังมีรายละเอียดตอไปนี้

2-13 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 2 การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําที่เหมาะสม

1) หาคาความเร็วการไหลน้ําที่ระดับน้ําเต็มตลิ่ง

จากสูตรของแมนนิ่ง (Manning’s Equation)


2 1
R 3 .S 2
V=
n
ในที่นี้ สมมติใหการเปลี่ยนแปลงรูปตัดลําน้ําภายหลังกอสรางเขื่อนมีคาไมเปลี่ยนแปลงมากนัก
จากสภาพรูปตัดลําน้ําเดิม
เมื่อ R = รัศมีชลศาสตร = A/P
A = หนาตัดลําน้ํา (คิดเปนสี่เหลี่ยมคางหมู)
= 0.5x6x(24+14) = 114 ตร.ม.
P = เสนขอบเปยก
= 14+2x[{(24/2)-(14/2)}2+62]0.5 = 29.62 ม.
ดังนั้น
R = 114/29.62 = 3.85 ม.
S = ความลาดชันทองน้ํา
= 0.0046

ประเมินคา n ไดจากสูตร n=m(nb+n1+n2+n3+n4)


การประมาณคา nb เมื่อคาความลาดชัน(S)>0.002 และขนาดคละกลางของตะกอนดินลําน้ํา
(D50)>0.06 ม. ใหประเมินคา nb จากสูตร

n b = 0.3225S 0.38 R −0.16

หากไมเปนตามเงื่อนไขขางตน ใหประเมินคา nb จากตารางแนะนําดานลาง โดยพิจารณาจาก


วัสดุพื้นผิวภายหลังกอสรางเขื่อน สําหรับลําน้ําแหง คา S>0.002 แต D50<0.006 ม. ประเมินคา nb ตามตาราง
ดานลางซึ่งมีวัสดุทองน้ําและตลิ่งเปนแบบกรวดละเอียด มีคาเทากับ 0.024

ชนิดวัสดุพื้นผิว คา nb
ดิน (Earth) 0.020
หินตัด (Rock Cut) 0.025
กรวดละเอียด (Fine Gravel) 0.024
กรวดหยาบ (Coase Gravel) 0.028

คา n1 n2 n3 n4 และ m ใหประเมินตามตารางแนะนําถัดไป สําหรับลําน้ําแหง ไดคา n1=0.005


n2=0 n3=0 n4=0.018 และ m=1.000 จะได

n = 1x(0.024+0.005+0.018) = 0.047

2-14 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 2 การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําที่เหมาะสม

ดังนั้น V = (3.852/3x0.00460.5)/0.047 = 3.54 เมตรตอวินาที

คา n ที่ใช
ลักษณะของลําน้าํ ระดับความรุนแรง คา n
ออกแบบ
เรียบ (Smooth) 0.000
ความไมสม่ําเสมอของพื้นผิวหนาตัดลํา
เล็กนอย (Minor) 0.005 0.005
น้ําตามแนวขวาง (Degree of
ปานกลาง (Moderate) 0.010
Irregularity), n1
มาก (Severe) 0.020
ความเปลี่ยนแปลงของรูปตัดตามยาวลํา คงที่ (Gradual) 0.000 0.000
น้ํา (Variations of Channel Cross เล็กนอย (Alternating Occasionally) 0.005
Section), n2 หลากหลาย (Alternating Frequently) 0.013
ไมมี (Negligible) 0.000 0.000
อาคารหรือสิ่งกีดขวาง (Relative Effect เล็กนอย (Minor) 0.013
of Obstructions), n3 มาก (Appreciable) 0.025
รุนแรง (Severe) 0.050
นอย (Low) 0.008
พืชปกคลุมเขื่อนปองกันตลิ่ง ปานกลาง (Medium) 0.018 0.018
(Vegetation), n4 สูง (High) 0.038
สูงมาก (Very High) 0.075
บางเล็กนอย (Minor) 1.000 1.000
ความโคงตามยาวลําน้ํา (Degree of
มาก (Appreciable) 1.150
Meandering), m
รุนแรง (Severe) 1.300

2) การคํานวณเขื่อนหินเรียงหรือหินทิ้ง

2.1 คํานวณหาขนาดของหินเรียงหรือหินทิง้

จากสูตร
0.00594.C.V 3
D50 =
d 0.5 .K11.5

ในที่นี้ D50 = ขนาดคละกลางของหินเรียงหรือหินทิ้ง หนวยเมตร


C = แฟกเตอรปรับคาเนื่องจากสภาพลําน้ํา คาถวงจําเพาะหินเรียงหินทิง้
และสิ่งกีดขวางทางน้ํา คํานวณไดจาก
C = Csf.Css.Cp/a

เมื่อ Csf = แฟกเตอรปรับคาเนื่องจากสภาพการไหลของลําน้ํา


= (SF/1.2)1.5 โดยคา SF ประเมินคาไดจากตารางขางลาง

2-15 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 2 การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําที่เหมาะสม

ตารางประเมินคา SF
(ก) การไหลของน้ําเปนแบบราบเรียบ ลําน้ําเปนชวงตรงหรือโคงเล็กนอย(รัศมีความโคง/ความกวางลําน้ํา มีคา
1.2
>30) ไมมีคลื่นมากระทบ อิทธิพลอื่นๆ ที่อาจจะเกี่ยวของมีนอยหรือไมมีอีก
(ข) การไหลมีลักษณะเปลีย่ นแปลงแบบคอยเปนคอยไป โคงลําน้ําปานกลาง (รัศมีความโคง/ความกวางลําน้ํา มี
1.3-1.6
คาระหวาง 10-30) มีคลื่น(รวมถึงจากการเดินเรือ) มากระทบบางปานกลาง

(ค) การไหลมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว มุมโคงลําน้ํานอยมาก (รัศมีความโคง/ความกวางลําน้ํา มีคา <10)


มีคลื่น(รวมถึงคลื่นจากการเดินเรือ) มากระทบตลอดเวลา (ความสูงคลื่นประมาณ 0.30-0.61 ม.) การไหลมีความปนปวน มี 1.6-2.0
น้ํากวนจากการไหลผานอาคารกีดขวาง มีอิทธิพลอื่นๆ ที่อาจจะเกี่ยวของกับความมั่นคงอีก

สําหรับลําน้ําแหงมีสภาพการไหลเปนแบบ (ก) คา SF = 1.2


คาแฟกเตอรปรับคาเนื่องจากสภาพการไหลในลําน้ําแหง มีคา
Csf = (SF/1.2)1.5 = (1.2/1.2)1.5 = 1.0

Css = คาแฟกเตอรปรับคาเนื่องจากคาความถวงจําเพาะของหินเรียงหรือหินทิ้ง
คํานวณไดจาก
Css = 2.12/(SS-1)1.5

เมื่อ SS = ความถวงจําเพาะของหินเรียงหรือหินทิง้

สําหรับลําน้ําแหง คาความถวงจําเพาะของหินเรียงหรือหินทิ้ง มีคา 2.65 ดังนั้น จะไดคา


Css = 2.12/(2.65-1)1.5 = 1.000

Cp/a = คาแฟกเตอรปรับคาเนื่องจากกีดขวางทางน้ํา (Pier or Abutment) คํานวณ


ไดจาก
Cp/a = 3.38 กรณีมีสิ่งกีดขวางทางน้ํา
= 1.00 กรณีไมมีสิ่งกีดขวางทางน้ําในชวงลําน้ําที่พิจารณา
ลําน้ําแหงชวงที่พิจารณา ไมมีสิ่งกีดขวางทางน้ํา จะไดคา Cp/a = 1.00

V = ความเร็วกระแสน้ํา, เมตรตอวินาที ที่ไดคํานวณไวขางตน


d = คาความสูงของตลิ่งเฉลี่ย, เมตร
2 2 0.5
K1 = [1-(sin θ /sin θ)]

เมื่อ θ = มุมความลาดชันของตลิ่งเขื่อนปองกันกระทําตามแนวราบ (จากการวิเคราะห


เสถียรภาพความมั่นคงของลาดตลิ่ง)

2-16 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 2 การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําที่เหมาะสม

θ = มุมการวางตัวของหินเรียงหรือหินทิง้ กระทําตามแนวราบ หาคาไดจากกราฟ


ความสัมพันธระหวางรูปรางของหินและขนาดคละกลาง ตามรูปดานลาง

จากสูตรดังกลาวขางตนสามารถคํานวณขนาดของหินเรียงหรือหินทิ้งไดดังนี้
C = Csf.Css.Cp/a = 1.0x1.0x1.0 = 1.0
V = 3.54 เมตรตอวินาที (จากผลการคํานวณในขอ 1))
d = 6.00 เมตร (จากขอมูลรูปตัดลําน้ํา)
2 2 0.5
K1 = [1-(sin θ /sin θ)]
เมื่อ θ = 21.8 องศา, ความลาดชันของเขื่อนฯมีคา (นอน:ตั้ง) 2.5:1
θ = 41 องศา
แทนคา K1 = [1-(sin2(21.8)/sin2(41))]0.5 = 0.824
แทนคา C, V, d, K1 จะได
D50 = 0.00594x1x3.543/(60.5x0.8241.5) = 0.144 ม.

คัดเลือกขนาดคละหินเรียงหินทิ้งจากตารางแนะนําถัดไป (หรือจากโรงงาน) ในที่นี้ได


คัดเลือกหินประเภท Facing Class มีขนาดคละกลาง (D50) เทากับ 0.29 ม.

2.2) การคํานวณหาขนาดความหนาชั้นหินเรียงหินทิ้ง

จากเงื่อนไข ดังตอไปนี้
(1) มีคาไมนอยกวา D100 (ของหินเรียงหินทิ้ง) = 0.4 เมตร
(2) มีคาไมนอยกวา 1.5 เทาของ D50 (ของหินเรียงหินทิ้ง) = 1.5x0.29 = 0.44 เมตร
(3) มีคาไมนอยกวา 0.3 เมตร
(4) คาความหนาที่ไดจากขอ (1) ถึงขอ (3) ควรเพิ่มอีก 50% หากวางหินทิ้งใตน้ําที่มีความไม
แนนอนของคาพารามิเตอรอื่นรวมอยู
2-17 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 2 การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําที่เหมาะสม

(5) คาความหนาที่ไดจากขอ (1) ถึงขอ (3) ควรเพิ่มอีก 150-300 มม. เมื่อเขื่อนปองกันตลิ่ง


ไดรับแรงกระทําจากคลื่นและวัสดุลอยน้ํา

สําหรับลําน้ําแหงจะใชคาความหนาที่ไมนอ ยกวา 0.44 เมตร สําหรับหินเรียง และ ความ


หนาไมนอ ยกวา 0.65 เมตร สําหรับหินทิ้ง

Rock Size1 Rock Size2 Percent of Riprap


NO. Riprap Class
(m) (kg) Smaller Than
(1) (2) (3) (4) (5)
0.4 91 100
1 Facing 0.29 34 50
0.12 2.3 10
0.55 227 100
2 Light 0.4 91 50
0.12 2.3 10
0.68 454 100
3 0.23 Metric Ton 0.55 227 50
0.29 34 10
0.87 907 100
4 0.45 Metric Ton 0.68 454 50
0.55 227 5
1.1 1814 100
5 0.91 Metric Ton 0.87 907 50
0.68 454 5
1.37 3629 100
6 1.81 Metric Ton 1.1 1814 50
0.87 907 5
1
Assuming a specific gravity of 2.65.
2
Based on AASHTO specifications for Highway Bridges (1983)

2.3) การคํานวณหาความหนาของชั้นหินเรียงหินทิ้งเพื่อการปองกันการกัดเซาะบริเวณ Toe

จากสูตร dtoe = 2(D50)-0.11 = 2x0.29-0.11 = 2.29 เมตร

2.4) การวิเคราะหขนาดคละชั้นหินรองพื้น (Filter Layer)

ตรวจสอบความพอเพียงของขนาดหินชัน้ ทีว่ างซอนกันเพือ่ ปองกันโพรงดานลางของชัน้ หิน


เรียง ไดจาก

2-18 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 2 การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําที่เหมาะสม

D15(ชั้นวัสดุหยาบ) D15(ชั้นวัสดุหยาบ)
<5< < 40
D85(ชั้นวัสดุละเอียด) D15(ชั้นวัสดุละเอียด)

เมื่อ D15 คือ ขนาดของเม็ดดินที่รอยละการคละ 15


D85 คือ ขนาดของเม็ดดินที่รอยละการคละ 85

โดยขนาดคละของหินทิ้งใชตามตารางแนะนําดังนี้

ชวงขนาดหิน ชวงน้ําหนักหิน รอยละขนาดคละ


เมตร กิโลกรัม มีคานอยกวา
1.5 D50 ถึง 1.7 D50 3.0 W50 ถึง 5.0 W50 100
1.2 D50 ถึง 1.4 D50 2.0 W50 ถึง 2.75 W50 85
1.0 D50 ถึง 1.4 D50 1.0 W50 ถึง 1.5 W50 50
0.4 D50 ถึง 0.6 D50 0.1 W50 ถึง 0.2 W50 15

ในกรณีที่ ขนาดของหินไมอยูในเงื่อนไขดังกลาวขางตน จําเปนตองมีชั้นหินรองพื้น หรือปูดวย


แผนใยสังเคราะห ซึง่ จากชั้นดินตะกอนตลิ่งของลําน้ําแหงมีความละเอียดมาก คือ D15<0.0004 ม. ดังนั้นจึง
เลือกใชแผนใยสังเคราะหเปนวัสดุรองพื้น

3) การออกแบบขนาดความหนาของ Gabion หรือ Mattress

จากตารางแนะนําการออกแบบคาความหนาต่ําสุดของ Gabion หรือ Mattress ดังตาราง


ดานลาง

ความหนาต่ําสุดของ
ความเร็วสูงสุด ความลาดตลิ่ง
ชนิดของดินบริเวณตลิ่ง Mattress ที่ตองการ
(ม./วินาที) (แนวตั้ง:แนวนอน) (มม.)
3.048 <3V:1H 228.6
ดินเหนียว, ดินที่มีแรงยึด
3.962 - 4.877 <2V:1H 304.8
เหนี่ยวมาก
อื่นๆ <2V:1H >457.2
ดินปน, ทรายละเอียด 3.048 <2V:1H 304.8
4.877 <3V:1H 228.6
กรวด 6.096 <2V:1H 304.8
อื่นๆ <2V:1H >457.2

สําหรับลําน้ําแหง ดินบริเวณตลิ่งเปนชนิด ดินเหนียว หรือ ดินทีม่ ีแรงยึดเหนี่ยวมาก คา


ความเร็วการไหลน้ํา เทากับ 3 ม.ตอวินาที และความลาดชันของเขื่อนนอยกวาคาที่แสดงในตารางขางตน

2-19 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 2 การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําที่เหมาะสม

ดังนั้น คาความหนาต่ําสุดของ Gabion หรือ Mattress จากตารางแนะนํามีคาไมนอยกวา 228.6


มม. ขนาดมาตรฐานแนะนําสําหรับ Gabion และ Mattress ที่ผลิตในโรงงานภายในประเทศ มีดังตารางตอไปนี้

ขนาดกลอง Gabion ขนาดกลอง Mattress


ความหนา ความกวาง ความยาว ความหนา ความกวาง ความยาว
(ม.) (ม.) (ม.) (ม.) (ม.) (ม.)
0.5 1 1 0.3 1 1
0.5 1 2 0.3 1 2
0.5 1 3 0.3 1 3
0.5 1 4 0.3 2 3
0.5 2 3 0.3 2 4
0.5 2 4 0.3 2 6
1 1 1
1 1 1.5
1 1 2
1 1 3
1 1 4
1 2 3
1 2 4

ขนาดแนะนําโดยทั่วไปของเขื่อนประเภทตางๆ เมื่อวิศวกรไมไดระบุขนาด เปนดังนี้


- ขนาดของ Gabion (กวางxยาวxสูง) = 1x2x0.5 ม. และ
- ขนาดของ Mattress (กวางxยาวxสูง) = 2x6x0.3 ม.

สรุปขนาดของ Gabion ที่ใช (กวางxยาวxสูง) 1x2x0.5 ม. และ ขนาดของ Mattress 2x6x0.3 ม.

สรุปการวิเคราะหดานชลศาสตร เพื่อหาขนาดของหินเรียงหินทิง้ ขนาดกลอง Gabion และ


Mattress ของลําน้ําแหง ไดคา ดังนี้
1) เขื่อนหินทิ้ง คาขนาดคละกลางของหินเทากับ 0.29 ม. ความหนาของชั้นหินทิ้งไมนอย
กวา 0.65 ม. และใชแผนใยสังเคราะหในการรองพืน้ เนื่องจากตะกอนดินลําน้ํามีขนาดเล็กมาก
2) เขื่อนหินเรียง ขนาดคละกลางของหินเทากับ 0.29 ม. ความหนาของชั้นหินทิ้งไมนอยกวา
0.44 ม. และใชแผนใยสังเคราะหในการรองพื้น
3) กลอง Gabion และกลอง Mattress มีขนาดความหนากลองไมนอยกวา 0.5 ม.และ 0.3 ม.
ตามลําดับ

ทั้งนี้เพื่อใหสะดวกและงายตอการวิเคราะห สามารถใชโปรแกรม Microsoft Excel โดยแสดง


ตัวอยางการวิเคราะหดังภาคผนวก ค

2-20 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 2 การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําที่เหมาะสม

2.4 การวิเคราะหดานการใชพื้นที่บริเวณริมตลิ่ง

การใชพื้นที่บริเวณริมตลิ่ง ในแตละลําน้ําเปนอีกปจจัยหนึ่งในการคัดเลือกรูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่ง
นอกเหนื อ จากการวิ เ คราะห ด า นปฐพี ก ลศาสตร และชลศาสตร ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให รู ป แบบที่ ไ ด รั บ การคั ด เลื อ กมี
ผลกระทบตอรองน้ํา การไหลของกระแสน้ํา และตลิ่งเดิม รวมถึงอาคารสิ่งปลูกสรางหรือระบบสาธารณูปโภค
อื่นๆ บริเวณริมตลิ่งนอยที่สุด นอกจากนี้จะตองตอบสนองตอความตองการของชุมชนและประโยชนใชสอยที่
ตองใชพื้นที่บริเวณริมตลิ่งและลาดตลิ่ง ทั้งในปจจุบันและอนาคต โดยหัวขอที่นํามาพิจารณาประกอบดวย

1) การลวงล้ําลําน้ําเดิมหลังจากกอสรางเขื่อนปองกันตลิ่งแตละรูปแบบแลว สวนปลายสุดของเขื่อน
ปองกันตลิ่ง(Toe) จะตองลวงล้ําเขาไปในลําน้ําเดิมไมเกินแนวน้ําลึกแตทั้งนี้ตองไมเกิน 1 ใน 3 ของความกวาง
ของลําน้ํา

2) พื้นที่ดานหลังเขื่อน ในกรณีที่เลือกใชรูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งชนิดมีโครงสราง (ยกเวนรูปแบบ


กลองลวดตาขายบรรจุหิน) จะตองมีระยะทางจากแนวสันเขื่อนถึงสิ่งปลูกสรางดานหลังเขื่อนเพียงพอสําหรับการ
กอสราง

3) ความต อ งการใช พื้ น ที่ ริ ม เขื่ อ นหรื อ ลาดตลิ่ ง เพื่ อ ดํ า เนิ น กิ จ กรรมต า งๆของชุ ม ชน เช น การ
พักผอน การสันทนาการ หรือการสัญจร

ในแตละหัวขอที่พิจารณาขางตนจะนํามาใชในการคัดเลือกความเหมาะสมของเขื่อนปองกันตลิ่งแตละ
รูปแบบ แสดงดังตารางที่ 2.4-1

ตารางที่ 2.4-1 รูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งที่มีความเหมาะสมตอการใชพื้นที่ริมตลิ่งแตละกรณี

รูปแบบเขื่อนปองกันตลิง่ ที่มีความเหมาะสมตอการใชพื้นทีข่ องแตละกรณี


ความตองการ กรณีชุมชนมีความตองการใชพื้นที่เพื่อกิจกรรมสาธารณะ
รูปแบบ
รายละเอียด การลวงล้ําลําน้ําเดิม ของเขื่อน ระยะทางจากแนว
ที่
ปองกันตลิ่งแตละรูปแบบ สันเขื่อนถึงสิ่งปลูก พื้นที่หลังเขื่อน(ริมตลิง่ ) พิ้นที่หนาเขื่อน(ลาดตลิง่ )
สราง
1 แบบเข็มหลักและเข็มสมอ ไมเกิน 1ใน3 ของความกวางลําน้ํา ไมควรนอยกวา 10 ม. ตองปรับปรุงพื้นที่ริมตลิ่งเพิ่มเติม ไมสามารถใชได
2 แบบโครงสรางยกลอย ไมเกิน 1ใน3 ของความกวางลําน้ํา ไมควรนอยกวา 10 ม. ตอบสนองความตองการ ไมสามารถใชได
3 แบบเข็มเดี่ยวพรอมสมอยึดรั้ง ไมเกิน 1ใน3 ของความกวางลําน้ํา ไมควรนอยกวา 10 ม. ตองปรับปรุงพื้นที่ริมตลิ่งเพิ่มเติม ไมสามารถใชได
4 แบบตาขายเสริมกําลังดินหรือGeogrid ไมเกิน 1ใน3 ของความกวางลําน้ํา ไมควรนอยกวา 10 ม. ตองปรับปรุงพื้นที่ริมตลิ่งเพิ่มเติม ไมสามารถใชได
5 แบบกลองลวดตาขายบรรจุหิน ไมเกิน 1ใน3 ของความกวางลําน้ํา ไมควรนอยกวา 5 ม. ตองปรับปรุงพื้นที่ริมตลิ่งเพิ่มเติม ไมสามารถใชได
6 แบบหินทิ้ง มีโอกาสเกิน 1ใน3 ของความกวางลําน้ํา * ไมควรนอยกวา 5 ม. ตองปรับปรุงพื้นที่ริมตลิ่งเพิ่มเติม ตองปรับปรุงลาดตลิ่งเพิ่มเติม
7 แบบหินเรียง มีโอกาสเกิน 1ใน3 ของความกวางลําน้ํา * ไมควรนอยกวา 5 ม. ตองปรับปรุงพื้นที่ริมตลิ่งเพิ่มเติม ตองปรับปรุงลาดตลิ่งเพิ่มเติม
8 แบบหินเรียงและขั้นบันได มีโอกาสเกิน 1ใน3 ของความกวางลําน้ํา * ไมควรนอยกวา 5 ม. ตอบสนองความตองการ ตอบสนองความตองการ
9 แบบวางลาดตลิ่งดวยกลอง Gabion มีโอกาสเกิน 1ใน3 ของความกวางลําน้ํา * ไมควรนอยกวา 5 ม. ตองปรับปรุงพื้นที่ริมตลิ่งเพิ่มเติม ตองปรับปรุงลาดตลิ่งเพิ่มเติม
10 แบบวางลาดตลิ่งดวยกลอง Mattress มีโอกาสเกิน 1ใน3 ของความกวางลําน้ํา * ไมควรนอยกวา 5 ม. ตองปรับปรุงพื้นที่ริมตลิ่งเพิ่มเติม ตองปรับปรุงลาดตลิ่งเพิ่มเติม
* ขึ้นอยูกับความสูงและความลาดชันของตลิ่งเดิม

2-21 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 2 การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําที่เหมาะสม

2.5 การวิเคราะหดานราคาคากอสรางเบื้องตน
การประมาณราคาเขื่อนปองกันตลิ่งแตละรูปแบบเปนขั้นตอนสุดทายในการคัดเลือกรูปแบบเขื่อน
ปองกันตลิ่งที่มีความเหมาะสมทั้งในดานปฐพีกลศาสตร ชลศาสตร การใชพื้นที่และมีคากอสรางประหยัดที่สุด
โดยการประมาณราคาคากอสรางเบื้องตนนั้น จะใชราคาคากอสรางเฉลี่ยทั่วประเทศ ของเขื่อนปองกันตลิ่งแตละ
รูปแบบที่ไดมีการศึกษาไวในโครงการศึกษาจัดทําแบบมาตรฐานแนะนํางานออกแบบกอสราง เขื่อนปองกันตลิ่ง
ราคาประหยัดสําหรับลําน้ําขนาดเล็กทั่วประเทศ ซึ่งเปนราคา ณ ป พ.ศ.2549 โดยรวมคาดําเนินการกอสราง,
ภาษี, กําไร หรือ Factor F ไวทั้งหมดแลว ดังแสดงในตารางที่ 2.5-1

ตารางที่ 2.5-1 ราคาคากอสรางเขื่อนปองกันตลิ่งแตละรูปแบบตอความยาว 1.00 เมตร


รูปแบบที่ รายละเอียด ราคาคากอสรางเฉลี่ย (บาท/เมตร)
1 แบบเข็มหลักและเข็มสมอ (เสาเข็มยาว 15 ม.) 73,417
2 แบบโครงสรางยกลอย (เสาเข็มยาว 15 ม.) 74,370
3 แบบเข็มเดี่ยวพรอมสมอยึดรั้ง (เสาเข็มยาว 15 ม.) 65,767
4 แบบตาขายเสริมกําลังดิน (Geogrid) 37,189
5 กลองลวดตาขายบรรจุหิน (Gabion) 33,585
6 แบบหินทิ้ง 6,033
7 แบบหินเรียง 20,373
8 แบบหินเรียงและขั้นบันได 36,724
9 แบบวางลาดตลิ่งดวยกลอง Gabion 38,569
10 แบบวางลาดตลิ่งดวยกลอง Mattress 33,229

2.6 รูปแบบมาตรฐานแนะนําเขื่อนปองกันตลิ่งที่เหมาะสม

จากผลการวิเคราะหดานวิศวกรรมประกอบดวยการวิเคราะหดานปฐพีกลศาสตร และชลศาสตร การ


พิจารณาดานการใชพื้นที่บริเวณริมตลิ่ง และราคาคากอสรางเบื้องตนของเขื่อนปองกันตลิ่งแตละรูปแบบ ใน
ขั้นตอนตอไปคือการนําผลการวิเคราะหของทั้ง 4 ดานดังกลาวขางตนมาพิจารณารวมกันโดยมีแบบฟอรมดัง
แสดงในตารางที่ 2.6-1 โดยมีตัวอยางในการคัดเลือกรูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งที่เหมาะสมดังแสดงในตารางที่
2.6-2 ซึ่งเปนการวิเคราะหเพือ่ คัดเลือกรูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งบริเวณลําน้ําแหง ต.ศรีษะเกษ อ.นานอย จ.นาน
โดยลักษณะทางกายภาพของคลองมีความลาดตลิ่งเดิม 1:1 ความสูงของตลิ่งถึงทองน้ําประมาณ 6 เมตร เมื่อ
วิเคราะหเสถียรภาพของลาดตลิ่งเดิมพบวามีคา SF นอยกวา 1.3 ดังนั้นสามารถเลือกใชเขื่อนปองกันตลิ่งไดทั้ง
2 ชนิด คือชนิดมีโครงสรางและชนิดไมมีโครงสราง และเมือ่ วิเคราะหเสถียรภาพของลาดตลิ่งใหมโดยกําหนดให
ปรับปรุงลาดตลิ่งใหมใหมีความลาดชัน 1:2.5 พบวา คา SF = 1.699 ซึ่งมากกวา 1.3 จึงทําใหรูปแบบเขื่อน
ปองกันตลิ่งชนิดมีโครงสรางและไมมีโครงสรางมีความเหมาะสม ยกเวนรูปแบบกลองลวดตาขายบรรจุหิน
เนื่องจากกําลังรับน้ําหนักของดินไมสามารถรับได ดังนัน้ รูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งที่มคี วามเหมาะสมดานปฐพี
กลศาสตรของคลองนีค้ ือ รูปแบบที่ 1 ถึง 4 และรูปแบบที่ 6 ถึง 10

2-22 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 2 การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําที่เหมาะสม

หลังจากที่ไดรปู แบบที่เหมาะสมทางดานปฐพีกลศาสตรแลว ขั้นตอนตอไปคือการวิเคราะหดานชล


ศาสตรซึ่งจากการวิเคราะหพบวา ความเร็วของกระแสน้ํามีคาประมาณ 3.54 เมตร/วินาที ความลึกของการกัด
เซาะทองน้ําถาไมมีการปองกัน จะมีความลึกประมาณ 3.66 เมตร และถามีการปองกันจะตองกําหนดความลึก
ของวัสดุปองกันต่ําจากทองน้ําประมาณ 2.29 เมตร และในกรณีที่ตอ งปองกันการกัดเซาะลาดตลิ่งสําหรับ
Mattressจะตองมีความหนาของวัสดุปองกันไมนอยกวา 0.30 เมตร และหินเรียงหรือGabion จะตองมีความหนา
ไมนอยกวา 0.50 เมตร สวนหินทิ้งจะตองมีความหนาไมนอ ยกวา 1.40 เมตร (รวมหินรองพื้น) หรือตองใชแผน
ใยสังเคราะหเปนวัสดุรองพื้นซึ่งไมมรี ะบุไวในรูปแบบมาตรฐานแนะนํา ดังนั้นเมื่อพิจารณารูปแบบที่มีความ
เหมาะสมดานชลศาสตรแลวจึงมีความเหมาะสมทุกรูปแบบเหมือนกับดานปฐพีกลศาสตร ยกเวนเขื่อนปองกัน
ตลิ่งแบบหินทิง้ ซึ่งตองใชความหนาของหินทิ้งมากกวา 1 เมตรหรือตองรองพื้นดวยแผนใยสังเคราะห

สําหรับการพิจารณาความเหมาะสมดานการใชพื้นทีร่ ิมตลิง่ จะเห็นไดวาสวนของโครงสรางเขื่อน


ปองกันตลิ่งแตละรูปแบบที่ล้ําเขาไปในลําน้ําไมเกิน รอยละ 33 ของความกวางลําน้ํา ดังนั้นทั้ง 8 รูปแบบจึงมี
ความเหมาะสม แตอยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาถึงระยะทางจากริมตลิ่งถึงสิ่งปลูกสรางหลังเขือ่ นมีระยะทางเพียง
4 เมตร ซึง่ รูปแบบที1่ ถึง 4 ตองการพื้นทีว่ างหลังเขื่อนไมนอย 10 เมตร ขณะที่รูปแบบที่ 7 ถึง 10 ตองการ
เพียง 5 เมตร ดังนัน้ ในการพิจารณาดานการใชพื้นที่ริมตลิ่งรูปแบบที่ 7 ถึง 10 จึงมีความเหมาะสมที่สุด และ
ขั้นตอนสุดทายคือการพิจารณาราคาคากอสรางตอเมตร ซึ่งจะเห็นไดวาเขื่อนปองกันตลิ่งรูปแบบที่ 7 มีราคาคา
กอสรางต่ําที่สุด ดังนั้นในการคัดเลือกรูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับพืน้ ที่นี้ เขื่อนปองกันตลิ่งรูปแบบที่ 7 หรือ
แบบหินเรียง จึงมีความเหมาะสมที่สุด

ทั้งนี้การคัดเลือกรูปแบบมาตรฐานแนะนําเปนการคัดเลือกเบื้องตน ในบางกรณีอาจมีปญหาหรือ
ขอจํากัดของพืน้ ที่หรือการใชประโยชนบริเวณพื้นที่หลังเขือ่ น อาจจําเปนตองคัดเลือกรูปแบบที่ไมเปนไปตาม
รูปแบบมาตรฐานแนะนํา ซึ่งผูออกแบบควรจะตองทําการวิเคราะหเพิ่มเติม เพื่อใหไดเขือ่ นปองกันตลิ่งที่มีความ
มั่นคงแข็งแรงและสามารถใชพื้นที่หลังเขื่อนไดตามวัตถุประสงคของชุมชน รวมทั้งอาจจะมีราคาคากอสรางสูง
เกินกวาปกติ ซึ่งจะอยูในดุลยพินิจของผูอ อกแบบและเจาของโครงการที่จะพิจารณาเพื่อคัดเลือกรูปแบบเขื่อน
ปองกันตลิ่งตอไป

2-23 กรมโยธาธิการและผังเมือง
ตารางที่ 2.6-1 แบบฟอรมการคัดเลือกรูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่ง
คลอง __________________ ตําบล ____________________ อําเภอ ________________ จังหวัด ___________________
การวิเคราะหดานวิศวกรรม การลวงล้ําลําน้ําและการใชพื้นที่ริมตลิ่ง
ดานปฐพีกลศาสตร ดานชลศาสตร การลวงล้ําลําน้ํา
ความตองการพื้นที่
ความลึกของการ เปอรเซ็นต
Safety Factor Safety Factor หลังจากมี เพื่อกิจกรรมตางๆ
กัดเซาะทองน้ํา การปองกันการกัดเซาะลาดตลิ่ง ความยาว
ตลิ่งเดิม การปองกัน ระยะทาง ของชุมชน
(เมตร) ของ ลําดับ
จากริม ราคาคา
รูปแบบ ความสูง ความเร็ว ความ โครงสราง ความสําคัญ
รายละเอียด ความ ตลิ่งถึงสิ่ง รูปแบบที่ กอสราง
ที่ ลาด ตลิ่งถึง รูปแบบที่ กระแสน้ํา ความลึก ความ ความ รูปแบบที่ กวาง เขื่อนฯที่ ของรูปแบบ
มากกวา มากกวา ขนาด กวางตลิ่ง ปลูกสราง เหมาะสม (บาท/เมตร)
ตลิ่งเดิม ทองลําน้ํา ลาด เหมาะสม (เมตร/ ของการ หนาของ หนา เหมาะสม ทองน้ํา ลวงล้ําลําน้ํา ที่เหมาะสม
เดิม(ม.) หลังเขื่อน หลังเขื่อน หนาเขื่อน
(เมตร) นอย หรือ นอย หรือ ตลิ่งที่ วินาที) ทองน้ํา ปองกัน คละของ วัสดุ ของชั้น เดิม(ม.) เทียบกับ
กวา1.3 เทากับ กวา1.3 เทากับ เดิม หิน (ม.) (ริมตลิ่ง) (ลาดตลิ่ง)
ปรับปรุง ทองน้ํา ปองกัน กรอง ความกวาง
1.3 1.3 (D50), (ม.) ของตลิ่งเดิม
(ม.) ต่ําสุด (ม.) (ม.)
(%)

สภาพปจจุบัน
แบบเข็มหลักและ
1 73,417
เข็มสมอ

2-24
แบบโครงสรางยก
2 74,370
ลอย
แบบเข็มเดี่ยว
3 65,767
พรอมสมอยึดรั้ง
แบบตาขายเสริม
4 กําลังดินหรือ 37,189
Geogrid
แบบกลองลวดตา
5 33,585
ขายบรรจุหิน
6 แบบหินทิ้ง 6,033
7 แบบหินเรียง 20,373
แบบหินเรียงและ
8 36,724
ขั้นบันได
แบบวางลาดตลิ่ง
9 38,569
ดวยกลอง Gabion

แบบวางลาดตลิ่ง
10 33,229
ดวยกลอง Mattress

กรมโยธาธิการและผังเมือง
บทที่ 2 การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําที่เหมาะสม
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
ตารางที่ 2.6-2 ตัวอยางการคัดเลือกรูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่ง
คลอง น้ําแหง ตําบล ศรีษะเกษ อําเภอ นานอย จังหวัด นาน
การวิเคราะหดานวิศวกรรม การลวงล้ําลําน้ําและการใชพื้นที่ริมตลิ่ง
ดานปฐพีกลศาสตร ดานชลศาสตร การลวงล้ําลําน้ํา
ความตองการพื้นที่เพื่อ
ความลึกของการ เปอรเซ็นต
Safety Factor Safety Factor หลังจากมี กิจกรรมตางๆของ
กัดเซาะทองน้ํา การปองกันการกัดเซาะลาดตลิ่ง ความยาว
ตลิ่งเดิม การปองกัน ระยะทาง ชุมชน ลําดับ
(เมตร) ของ ราคาคา
จากริม ความสําคัญ
รูปแบบ ความสูง ความเร็ว ความ โครงสราง กอสราง
รายละเอียด ความ ตลิ่งถึงสิ่ง รูปแบบที่ ของ
ที่ ลาด ตลิ่งถึง รูปแบบที่ กระแสน้ํา ความลึก เขื่อนฯที่ (บาท/
มากกวา มากกวา ขนาด
ความ ความ รูปแบบที่ กวางตลิ่ง กวาง ปลูกสราง เหมาะสม รูปแบบที่
ตลิ่งเดิม ทองลําน้ํา ลาด เหมาะสม (เมตร/ ของการ เมตร)
หรือ นอย หรือ คละของ
หนาของ หนา เหมาะสม เดิม(ม.) ทองน้ํา ลวงล้ําลําน้ํา หลังเขื่อน
หลังเขื่อน หนาเขื่อน เหมาะสม
(เมตร) นอย ตลิ่งที่ วินาที) ทองน้ํา ปองกัน วัสดุ ของชั้น เดิม(ม.) เทียบกับ
กวา1.3 เทากับ กวา1.3 เทากับ เดิม หิน (ม.) (ริมตลิ่ง) (ลาดตลิ่ง)
ปรับปรุง ทองน้ํา ปองกัน กรอง ความกว า ง
1.3 1.3 (D50), (ม.) ของตลิ ง
่ เดิ ม
(ม.) ต่ําสุด (ม.) (ม.)
(%)

สภาพปจจุบัน 1:1.0 6 / 3.54 3.66 35 20 4 (บาน) ไมมี ไมมี


แบบเข็มหลักและ
1 / / / 8 73,417
เข็มสมอ

2-25
แบบโครงสรางยก
2 / / / 8 74,370
ลอย
แบบเข็มเดี่ยว
3 / / / 8 65,767
พรอมสมอยึดรั้ง
แบบตาขายเสริม
4 กําลังดินหรือ / / 2.29 0.5 / 21 37,189
Geogrid
แบบกลองลวดตา
5 / 33,585
ขายบรรจุหิน
6 แบบหินทิ้ง / 1 : 2.5 / 2.29 0.29 0.65 0.6 32 6,033
7 แบบหินเรียง / 1 : 2.5 / 0.29 0.5 / 32 / 20,373 1
แบบหินเรียงและ
8 / 1 : 2.5 / 2.29 0.29 0.5 / 32 / 36,724 3
ขั้นบันได
แบบวางลาดตลิ่ง
9 / 1 : 2.5 / 2.29 0.5 / 32 / 38,569 4
ดวยกลอง Gabion

แบบวางลาดตลิ่ง
10 / 1 : 2.5 / 0.3 / 32 / 33,229 2
ดวยกลอง Mattress

กรมโยธาธิการและผังเมือง
บทที่ 2 การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําที่เหมาะสม
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 2 การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําที่เหมาะสม

2.7 การประมาณราคาคากอสรางในรายละเอียด

หลั ง จากที่ ไ ด รู ป แบบมาตรฐานแนะนํ า เขื่ อ นป อ งกั น ตลิ่ ง ที่ มี ค วามเหมาะสมแล ว ท อ งถิ่ น หรื อ ผู ที่
เกี่ยวของจะตองนํารูปแบบที่ผานการคัดเลือกแลวไปออกแบบรายละเอียดและประมาณราคาคากอสรางกอนที่จะ
ดําเนินการกอสรางตอไป โดยมีขอแนะนําในการออกแบบทั่วๆไปดังนี้

1) การวางระดับคันหินทิ้งตีนเขื่อนควรอยูสูงกวาระดับน้ําต่ําสุดและทองคันหินตีนเขื่อนควรวางอยู
ใกลเคียงกับระดับทองน้ํา โดยมีความหนาไมนอยกวา 2.00 เมตร
2) ชั้นทรายถมควรมีความหนาไมนอยกวา 1.00 เมตร
3) การวางแนวเขื่อนไมควรล้ําออกจากแนวตลิ่งเดิมมากเกินไป
4) ความหนาของชั้นหินเรียงและหินทิ้งไมควรนอยกวา 0.50 เมตรและ 1.00 เมตร ตามลําดับ และ
ลาดเอียงไมนอยกวา 1:2.5 (ตั้ง:นอน)

สําหรับในการประมาณราคาคากอสรางโดยละเอียด ในคูมือเลมนี้ไดจัดทําเปนโปรแกรม Microsoft


Excel สําหรับคํานวณราคาคากอสรางเขื่อนปองกันตลิ่งในรายละเอียด ซึ่งราคาคากอสรางจะมีทั้งราคาตนทุนคา
กอสราง และราคาประเมินคากอสราง (มูลคาโครงการ) ที่รวมคาดําเนินการกอสราง, ภาษี, กําไร (Factor F) ซึ่งได
จัดทําเปนโปรแกรมสําเร็จรูป ที่สามารถคํานวณราคาคากอสรางของเขื่อนปองกันตลิ่งที่ออกแบบรายละเอียด

โดยในการปอนขอมูลจะปอนใน 2 Sheet คือ Sheet “สรุปราคา” ดังแสดงในรูปที่ 2.7-1 และ Sheet


“ใบประมาณราคา” ดังแสดงใน รูปที่ 2.7-2 โดยปอนปริมาณงาน ราคาคาวัสดุสิ่งของ และคาแรงงานตอหนวย
ตามหัวขอที่กําหนดและเปนปริมาณงานที่คิดเปอรเซ็นตเผื่อตาม Sheet “ขอกําหนด” ดังแสดงในรูปที่ 2.7-3
เรียบรอยแลว ซึ่งเมื่อกรอกขอมูลดังกลาวเสร็จแลว ราคาคากอสรางจะปรากฏใน Sheet “สรุปราคา”

2-26 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 2 การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําที่เหมาะสม

สรุปผลการประมาณราคาคากอสราง

สวนราชการ ฝายประมาณราคา กลุมงาน พัฒนาพื้นที่ตลิ่งและชายฝง สํานัก สนับสนุนและพัฒนาตามผังเมือง

ประเภทงาน เขื่อนปองกันตลิ่งริมแมน้ํายม ความยาว 315 เมตร


สถานที่กอสราง หมู1 ต.ปากแคว อ.เมือง จ.สุโขทัย
เจาของงาน กรมโยธาธิการและผังเมือง
แบบเลขที่ บ.3417-บ.3428
ประมาณราคาตามแบบ ปร.4 จํานวน 2 แผน
ประมาณราคา เมื่อวันที่ 2 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2549

ลําดับที่ รายการ รวมคางานตนทุน Factor F รวมคากอสราง หมายเหตุ

1 ประเภทงานเขื่อน
14,760,596 1.264 18,651,489 Factor F
- เงินจายลวงหนา ..15%..
- ดอกเบี้ยเงินกู …7%..
- เงินประกันผลงานหัก ......%..

รวมเปนเงินคากอสราง 18,651,489
สรุป เปนเงินคากอสรางประมาณ 18,651,000

ตัวอักษร (…สิบแปดลานหกแสนหาหมื่นหนึ่งพันบาทถวน…)

ความยาวตามแนวเขื่อน 315 เมตร เฉลี่ยราคาเมตรละ 59,210 บาท

ผูประมาณราคา

ตรวจ

เห็นชอบ

อนุมัติ

= ชองกรอกขอมูล

รูปที่ 2.7-1 Sheet “สรุปราคา”

2-27 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 2 การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําที่เหมาะสม

ใบประมาณราคาจางเหมาทําการกอสรางเขื่อนปองกันตลิ่ง

งบประมาณป 2549

ประเภทงาน เขื่อนปองกันตลิ่งริมแมน้ํายม ความยาว 315 เมตร


สถานที่กอสราง หมู1 ต.ปากแคว อ.เมือง จ.สุโขทัย
ประมาณราคาวันที่ 2 พฤษภาคม 2549 แบบเลขที่ บ.3417-บ.3428

ราคาตอหนวย
ลําดับ รายการ ปริมาณ หนวย คาวัสดุสิ่งของ คาแรงงาน ราคารวม(บาท) หมายเหตุ
(บาท) (บาท)

1 งานเตรียมพื้นที่กอสราง
1.1 งานปรับพื้นที่ 500.00 ตร.ม. - 10.00 5,000
2 งานคันเขื่อนฯ
2.1 งานดินตัด/ขุดแตงดิน ลบ.ม. 0
2.2 งานวัสดุถมบดอัดแนน (ดินถม) 1,000.00 ลบ.ม. 84.00 46.00 130,000
2.3 งานวัสดุถมบดอัดแนน (ทรายถม) 2,500.00 ลบ.ม. 294.00 46.00 850,000
2.4 งานหินคลุกบดอัดแนน (Stripping 0.10 m.) ลบ.ม. 0
2.5 งานปูแผนใยสังเคราะห (Geotextile) 2,000.00 ตร.ม. 50.00 10.00 120,000
2.6 งานปลูกหญาหลังเขื่อนฯ 2,000.00 ตร.ม. - 10.00 20,000
3 งานคอนกรีตเสริมเหล็ก
3.1 งานเสาเข็มสี่เหลี่ยม(Batter Pile) ขนาด 0.30x0.30 ม. ม. 0
3.2 งานเสาเข็มสี่เหลี่ยม(Batter Pile) ขนาด 0.26x0.26 ม. ม. 0
3.3 งานเสาเข็มตัวไอ(Master Pile) ขนาด 0.30x0.50 ม. ม. 0
3.4 งานเสาเข็มหลอในที่ (Batter & Master pile)
- คอนกรีตโครงสรางทั่วไป (210 ksc.,Cylinder) 2,550.00 ลบ.ม. 2,295.00 325.00 6,681,000
- ไมแบบทั่วไป 9,500.00 ตร.ม. 250.00 85.00 3,182,500
- เหล็กเสริม ขนาด SR24, RB6-9 5,000.00 กก. 20.27 3.00 116,330
- เหล็กเสริม ขนาด SD40, DB12 55,000.00 กก. 18.95 3.00 1,207,025
- เหล็กเสริม ขนาด SD40, DB16-32 กก. 0
3.5 งานคานยึดรั้ง, คานหัวเสาเข็มหลอในที่
- คอนกรีตโครงสรางทั่วไป (210 ksc.,Cylinder) 200.00 ลบ.ม. 2,295.00 325.00 524,000
- ไมแบบทั่วไป 400.00 ตร.ม. 250.00 85.00 134,000
- เหล็กเสริม ขนาด SR24, RB6-9 3,500.00 กก. 20.27 3.00 81,431
- เหล็กเสริม ขนาด SD40, DB12 500.00 กก. 18.95 3.00 10,973
- เหล็กเสริม ขนาด SD40, DB16-32 กก. 0
3.6 งานพื้นสําเร็จรูป Hollow Core ขนาด 0.60x4.00x0.08 ม. ตร.ม. 0
3.7 งานพื้น คสล.,พื้นTopping, งานบันได คสล.หลอในที่
- คอนกรีตโครงสรางทั่วไป (210 ksc.,Cylinder) ลบ.ม. 0
- ไมแบบทั่วไป ตร.ม. 0
- เหล็กเสริม ขนาด SR24, RB6-9 กก. 0
3.8 งานแผนผนัง คสล. หนา 0.12 ม.กวาง 1.00 ม.(สําเร็จรูป) ตร.ม. 0
3.9 งานแผนผนัง คสล.หลอในที่
- คอนกรีตโครงสรางทั่วไป (210 ksc.,Cylinder) 100.00 ลบ.ม. 2,295.00 325.00 262,000
- ไมแบบทั่วไป 500.00 ตร.ม. 250.00 85.00 167,500
- เหล็กเสริม ขนาด SR24, RB6-9 600.00 กก. 20.27 3.00 13,960
- เหล็กเสริม ขนาด SD40, DB12 400.00 กก. 18.95 3.00 8,778

- หินใหญ ระยะทางขนสง 20.00 กม.


คาขนสง (บาท/ลบ.ม.) 50.40

- ทราย ระยะทางขนสง 20.00 กม.


คาขนสง (บาท/ลบ.ม.) 50.40
(ระยะทางตามที่ระบุในเอกสารประกวดราคา)

รวมราคางานกอสราง เปนเงิน (บาท) 14,760,596


FACTOR F = 1.264
รวมเปนเงินคากอสรางทั้งสิ้น (บาท) 18,651,489
หรือประมาณ (บาท) 18,651,000
เฉลี่ยเมตรละ (บาท) 59,210

= ชองกรอกขอมูล

รูปที่ 2.7-2 Sheet “ใบประมาณราคา”


2-28 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 2 การเลือกรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งแนะนําที่เหมาะสม

หลักเกณฑการถอดแบบหาปริมาณวัสดุของงานเขื่อนปองกันตลิ่ง
ในการคํานวณหาปริมาณงาน ใหคิดตามรูปแบบของแตละรายการ โดยมีเกณฑการเผื่อวัสดุตางๆ ในงานแตละประเภทไวดังนี้

2.1 งานคอนกรีต
- งานคอนกรีตผสมเสร็จ ......................................................... เผื่อ 5%
- งานคอนกรีตหลอในที่ ......................................................... เผือ่ 5%
สําหรับงานคอนกรีตหยาบ (1:3:5)
- ปูนซีเมนต Type I 252 กก.
- ทรายหยาบ 0.62 ลบ.ม.
- หินเบอร 1-2 0.97 ลบ.ม.
สําหรับงานคอนกรีตโครงสราง (1:2:4)
- ปูนซีเมนต Type I 336 กก.
- ทรายหยาบ 0.54 ลบ.ม.
- หินเบอร 1-2 1.03 ลบ.ม.

2.2 งานเหล็กเสริม
- ขนาด ศก. 6 มม. ......................................................................... เผื่อ 5%
- ขนาด ศก. 9 มม. ......................................................................... เผื่อ 7%
- ขนาด ศก. 12 มม. ........................................................................ เผื่อ 9%
- ขนาด ศก. 16 มม. ........................................................................ เผื่อ 11%
- ขนาด ศก. 19 มม. ........................................................................ เผื่อ 13%
- ขนาด ศก. 20 มม. ........................................................................ เผื่อ 13%
- ขนาด ศก. 25 มม. ........................................................................ เผื่อ 15%
- ขนาด ศก. 28 มม. ........................................................................ เผื่อ 15%
- ลวดผูกเหล็กใช 20 กก./เหล็กเสริม 1 เมตริกตัน

2.3 งานหินใหญ
- หินใหญตีนเขื่อน ....................................... เผื่อ 20%
- หินใหญปด หัว-ทาย เขื่อน ....................................... เผื่อ 20%
- หินใหญหนาเขื่อน ....................................... เผื่อ 15%
- หินคละรองใตพื้นหินใหญ ....................................... เผื่อ 15%
- กรวดคละรองใตพื้นหินใหญ-หลังแผง ....................................... เผื่อ 15%
- หินใหญในกลองเกเบียน-แมทเทรส ....................................... เผื่อ 15%
- เรียงหินใหญบันได ....................................... เผื่อ 15%
- ทรายถม, ดินถม ....................................... เผื่อ 20%
- แผนใยสังเคราะห ....................................... เผื่อ 10%

2.4 งานไมแบบ ใหใชดังนี้


- ไมแบบหนา 1" เนื้อที่ 1 ตร.ม. ใชไมแบบปริมาตร ประมาณ 1 ลบ.ฟ.(คิดไมแบบ 30%)
- ไมเครายึดไมแบบ คิด 15% ของปริมาณไมแบบ
- ไมค้ํายันไมแบบ
- ไมค้ํายันทองคาน, ประเภทคาน คิด 1 ตน/ความยาว 1 ม.
- ไมค้ํายันทองพื้นและงานประเภทพื้น คิด 1 ตน/ตร.ม.
- ตะปูยึดไมแบบ คิด 0.20 กก./ไมแบบ 1 ตร.ม.

รูปที่ 2.7-3 Sheet “ขอกําหนด”


2-29 กรมโยธาธิการและผังเมือง
บทที่ 3
มาตรฐานและขอกําหนด
บทที่ 3
มาตรฐานและขอกําหนด

3.1 แบบมาตรฐานแนะนําเขื่อนปองกันตลิ่ง

แบบมาตรฐานแนะนําเขื่อนปองกันตลิ่งที่นําเสนอนี้มีวัตถุประสงคเพื่อใหทองถิ่นสามารถนําไปใช
ประกอบในการออกแบบรายละเอียดและประมาณราคาคากอสรางเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
ภายใตเงื่อนไขที่ระบุไวในแบบมาตรฐานแตละรูปแบบเทานั้น โดยรูปแบบมาตรฐานเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลํา
น้ําขนาดเล็กมีทั้งหมดจํานวน 10 รูปแบบ ดังแสดงในภาคผนวก “ก” ประกอบดวย

รูปแบบที่ 1 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบเข็มหลักและเข็มสมอ
รูปแบบที่ 2 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบโครงสรางยกลอย
รูปแบบที่ 3 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบเข็มเดีย่ วพรอมสมอยึดรั้ง
รูปแบบที่ 4 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบตาขายเสริมกําลังดินหรือ Geogrid
รูปแบบที่ 5 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบกลองลวดตาขายบรรจุหิน (Gabion)
รูปแบบที่ 6 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบหินทิ้ง
รูปแบบที่ 7 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบหินเรียง
รูปแบบที่ 8 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบหินเรียงและขั้นบันได
รูปแบบที่ 9 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบวางลาดตลิ่งดวยกลอง Gabion
รูปแบบที่ 10 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบวางลาดตลิ่งดวยกลอง Mattress

3.2 มาตรฐานและขอกําหนดงานกอสราง

มาตรฐานและขอกําหนดงานกอสรางใหใชตาม มยธ. 101-106 ของกรมโยธาธิการและผังเมือง


ประกอบดวย
1) มยธ. 101-2533 มาตรฐานงานคอนกรีต และคอนกรีตเสริมเหล็ก
2) มยธ. 102-2533 มาตรฐานงานคอนกรีตอัดแรง
3) มยธ. 103-2533 มาตรฐานงานเหล็กเสนเสริมคอนกรีต
4) มยธ. 104-2533 มาตรฐานงานไม
5) มยธ. 105-2533 มาตรฐานงานฐานราก
6) มยธ. 106-2533 มาตรฐานงานเสาเข็ม

สําหรับมาตรฐานการออกแบบ มีดังตอไปนี้

3-1 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการใชออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 3 มาตรฐานและขอกําหนด

3.2.1 โครงสรางและฐานราก

(1) มาตรฐานที่ใชในการออกแบบ
- American Concrete Institute ACI
- American Institute of Steel Construction AISC
- American Association of State Highway AASHTO
And Transportation Officials
- American Society for Testing and Materials ASTM
- American welding Society AWS
- มาตรฐานกรมทางหลวง DOH
- มาตรฐานกระทรวงอุตสาหกรรม มอก.(TlS)
- มาตรฐานกรมโยธาธิการและผังเมือง มยธ. (PWD)
- ขอบัญญัตกิ รุงเทพมหานคร

(2) น้ําหนักบรรทุก (Loading)


น้ําหนักจร (Live load) ประกอบดวย
- Surcharge for wall 500-2000 กก. /ตร.ม.
- Operating platform with stoplog 750-1000 กก. / ตร.ม.
- Operating platform without stoplog 500-750 กก. / ตร.ม.
- Live load on floor 300-500 กก. /ตร.ม.

ในกรณีที่โครงสรางตองรับน้ําหนักของยานพาหนะ จะตองออกแบบใหสามารถรับน้ําหนักบรรทุก
จรสําหรับรถบรรทุกตามมาตรฐานของ AASHTO

น้ําหนักคงที่ (Dead load) ประกอบดวย


- น้ําหนักน้ํา 1.0 ตัน/ลบ.ม.
- น้ําหนักดินถมแหง 1.6 ตัน/ลบ.ม.
- น้ําหนักดินถมเปยก 2.0 ตัน/ลบ.ม.
- น้ําหนักดินถมอัดแนนแหง 1.9 ตัน/ลบ.ม.
- น้ําหนักดินถมอัดแนนเปยก 2.2 ตัน/ลบ.ม.
- น้ําหนักหิน 2.7 ตัน/ลบ.ม.
- น้ําหนักทรายแหง 1.7 ตัน/ลบ.ม.
- น้ําหนักทรายเปยก 2.2 ตัน/ลบ.ม.
- น้ําหนักคอนกรีตลวน 2.2 ตัน/ลบ.ม.
- น้ําหนักคอนกรีตเสริมเหล็ก 2.4 ตัน/ลบ.ม.
- น้ําหนักเหล็กหลอ 7.5 ตัน/ลบ.ม.
- น้ําหนักเหล็กเหนียว 7.85 ตัน/ลบ.ม.

3-2 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการใชออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 3 มาตรฐานและขอกําหนด

• แรงลมใช 50-160 กก./ตร.ม. (Static pressure)


• แรงดันน้ํา 1, 000 กก./ตร.ม. ตอความลึก 1 เมตร แรงดันน้ํามีรูปเปนสามเหลี่ยมที่มีศูนย
รวมแรงดันอยูที่ 1/3 ของความสูงจากฐานของรูปสามเหลี่ยม
• แรงดันดินทางขาง หาไดโดยใชสมการของ coulomb หรือ Rankine รูปของแรงดันดิน
ดานขางเปนสามเหลี่ยมและมีแรงรวมอยูที่ 1/3 ของความสูงจากฐานของรูปสามเหลี่ยม
เชนเดียวกับน้าํ
• ในกรณีที่ออกแบบอาคารที่คาดวาจะใชเครื่องจักรกลในการกอสราง หรือทํางานอยู
บริเวณใกลเคียงและทําใหเกิดแรงดันเพิ่มขึน้ ตออาคารเนื่องจากเครื่องจักรนั้นใหคิดแรง
กระทําหรือ แรงดันดานขางเพิ่มขึ้นเทากับ 1,000 กก./ตร.ม. แรงดันนี้จะมีรูปของ
แรงดันเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาจากระดับถมไป จนพื้นที่ลางของอาคาร

(3) วัสดุผสมคอนกรีต
ลักษณะวัสดุที่ใชเปนสวนผสมในงานคอนกรีตเสริมเหล็ก
- งานโครงสรางเหนือพื้นดินใชปูนซีเมนตปอรตแลนดประเภท 1
- งานโครงสรางที่สัมผัสดินหรือใตดินใชปนู ซีเมนตปอรตแลนดประเภท 1 หรือประเภท 5
- หินหรือกรวดตองมีขนาดไมใหญกวา 40 มม. (1 1/2”) และไมใหญกวา 1/5 ของดานที่คาบ
ที่สุดของแบบหลอ และตองไมใหญกวา 3/4 ของชองหางระหวางเหล็กเสริม

(4) คอนกรีตเหล็กเสริม
การคํานวณรายระเอียดคอนกรีตเสริมเหล็ก ใชทฤษฏี Working stress design ตามขอกําหนด
ตางๆ ดังนี้
(ก) ชนิดของคอนกรีตและคาแรงอัดประลัยต่ําสุด แสดงในตารางที่ 3.2-1
(ข) ขนาด น้ําหนัก เสนรอบรูป พืน้ ที่หนาตัด และความตานแรงดึงที่จุดคราก
(fy) ของเหล็กเสริม แสดงในตารางที่ 3.2-2
(ค) หนวยแรงอัดทีย่ อมใหของคอนกรีต (fc) ตองไมเกิน 0.45 fc’
(ง) หนวยแรงดึงทีย่ อมใหของเหล็กเสริม (fs)
- fs = 1,200 กก./ตร.ซม. เมื่อใชเหล็กกลมเรียบชนิด SR24 ตามมาตรฐาน มอก
- fs = 1,500 กก./ตร.ซม. เมื่อใชเหล็กขอออยชนิด SD30 ตามมาตรฐาน มอก.
- fs = 1,700 กก./ตร.ซม. เมื่อใชเหล็กขอออยชนิด SD40 ตามมาตรฐาน มอก.
(จ) การตอเหล็กเสริมโดยวิธที าบ (Lapped splices)
- ควรหลีกเลี่ยงการตอเหล็กเสริม ณ จุดที่เกิดหนวยแรงสูงสุด
- ไมควรใชวิธีทาบ (lapped splices) กับเหล็กที่มีขนาดใหญกวา 25 มิลลิเมตร
- การตอเหล็กเสริมโดยวิธีทาบ สําหรับเหล็กขอออยจะตองมีระยะทาบไมนอยกวา 24
เทาของเสนผาศูนยกลางของเหล็กหรือไมนอยกวา 30 เซนติเมตร สําหรับเหล็กกลม
เกลี้ยงจะตองมีระยะทาบไมนอยกวา 48 เทาของเสนผาศูนยกลางของเหล็ก

3-3 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการใชออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 3 มาตรฐานและขอกําหนด

ตารางที่ 3.2-1 ชนิดของคอนกรีตและแรงอัดประลัยต่ําสุด


แรงอัดประลัยต่ําสุดของแทงคอนกรีตมาตรฐานที่อายุ 28 วัน (กก. / ซม.)
ชนิดของคอนกรีต
ลูกบาศก 15x15x15 ซม. ทรงกระบอก 15x30 ซม.
ค1 180 145
ค1-2 210 175
ค2 240 200
ค3 300 250
ค3-4 360 300
ค4 420 350

ตารางที่ 3.2-2 รายละเอียดของเหล็กเสริม


ขนาดเสนผาศูนยกลาง น้ําหนัก เสนรอบรูป พื้นที่หนาตัด fy
(มม.) (กก./ม.) (ซม.) (ซม.) (กก. /ซม.)
RB6 0.222 1.886 0.283 2,400(sr24)
RB9 0.499 2.829 0.636 2,400(sr24)
3,000(sd30)
DB10 0.617 3.140 0.780
4,000(sd40)
3,000(sd30)
DB12 0.888 3.771 1.130
4,000(sd40)
3,000(sd30)
DB16 1.578 5.029 2.010
4,000(sd40)
3,000(sd30)
DB20 2.466 6.290 3.140
4,000(sd40)
3,000(sd30)
DB25 3.853 7.857 4.910
4,000(sd40)
3,000(sd30)
DB28 4.834 8.800 6.160
4,000(sd40)
- RB = เหล็กกรมเรียบ - DB = เหล็กขอออย

(ฉ) ระยะของเหล็กเสริม (Spacing of Bars)


- ระยะเรียงของเหล็กเสริมเอกในผนังหรือพืน้ จะตองไมเกิน 3 เทาของ
ความหนาของผนังหรือพื้น หรือไมเกิน 30 เซนติเมตร
(ช) ความหนาของคอนกรีตที่หุมเหล็กเสริม
1) คอนกรีตหลอในที่
ความหนาของคอนกรีตที่หมุ เหล็กเสริมที่วัดจากผิวเหล็กจะตองไมนอ ยกวาเกณฑตอไปนี้
- สําหรับคอนกรีตเทหลอกับดินโดยตรง 6 เซนติเมตร
- สําหรับคอนกรีตที่เมื่อถอดแบบแลวสัมผัสกับดินหรือถูกแดดฝน
และเหล็กเสริมมีเสนผาศูนยกลาง 15 มิลลิเมตร ขึน้ ไป 4 เซนติเมตร
3-4 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการใชออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 3 มาตรฐานและขอกําหนด

- สําหรับคอนกรีตที่เมื่อถอดแบบแลวสัมผัสกับดินหรือถูกแดดฝน
และเหล็กเสริมมีเสนผาศูนยกลาง 15 มิลลิเมตร ลงมา 3 เซนติเมตร
- สําหรับพื้นทีร่ ม ที่ไมสัมผัสดินหรือถูกแดดและน้ําโดยตรง 2 เซนติเมตร
ความหนาของคอนกรีตที่หมุ เหล็กปลอกของเสาทุกชนิดจะตองไมนอ ยกวา 3 เซนติเมตร หรือ
1.5 เทาของขนาดวัสดุผสมหยาบที่ใหญสดุ และจะตองเปนเนื้อเดียวกันกับคอนกรีตภายในแกนเสา

2) คอนกรีตหลอสําเร็จ
ความหนาของคอนกรีตที่หุมเหล็กเสริมที่วัดจากผิวเหล็กจะไมนอยกวาเกณฑตอไปนี้
- สําหรับคอนกรีตที่ผสมกับดินหรือถูกแดดฝน
และเหล็กเสริมมีเสนผาศูนยกลาง 15 มิลลิเมตร ขึน้ ไป 3.5 เซนติเมตร
- สําหรับคอนกรีตที่ผสมกับดินหรือถูกแดดฝน
และเหล็กเสริมมีเสนผาศูนยกลาง 15 มิลลิเมตร ลงมา 2.5 เซนติเมตร
- สําหรับพื้นที่ในรมที่ไมสัมผัสดินหรือถูกแดดฝนโดยตรง 1.5 เซนติเมตร
- สําหรับคานและเสาในรมที่ไมสัมผัสดินหรือถูกแดดฝนโดยตรง 2.5 เซนติเมตร
(ซ) การเสริมเหล็กของแผนพืน้ คอนกรีต (slab)
- ความหนาไมเกิน 15 เซนติเมตร ใหเสริมเหล็กชั้นเดียว
- ความหนาไมเกิน 15 เซนติเมตร ใหเสริมเหล็กสองชัน้
(ฌ) ปริมาณเหล็กเสริมปองกันการยืดหดหรือปริมาณเหล็กเสริมต่ําสุด (temperature or Minimum
reinforcement) กําหนด เปนเปอรเซ็นตของ พืน้ ที่ของคอนกรีตที่จะตอง เสริมเหล็กดังนี้
- As min = 0.0025 x พื้นที่หนาตัด สําหรับเหล็กกลม SB24
- As min = 0.002 x พืน้ ที่หนาตัด สําหรับเหล็กขอออย SD30
- As min = 0.0018 x พื้นที่หนาตัด สําหรับเหล็กขอออย SD40
- As min = 14/Fy x พื้นที่หนาตัด สําหรับคาน
- As min = 0.01 x พื้นที่หนาตัด สําหรับเสา
(ญ) ความหนาต่ําสุดของกําแพงคอนกรีต สําหรับกําแพงชนิดยื่น (cantilever wall) ที่ไมสูงเกิน
2.40 เมตร จะตองมีความหนา 0.10 เมตรตอความสูง 1 เมตร โดยประมาณ และจะตองไมนอ ยกวา 1.5 เมตร
สําหรับกําแพงสูงกวา 2.40 เมตร ความหนาของกําแพงคอนกรีตใชอัตราสวน 0.08 เมตร ตอความสูงแตละเมตร
โดยประมาณ
(ฎ) โครงสรางที่รับแรงดันจะมีความหนาไมนอยกวา 0.20 เมตร

(5) คอนกรีตอัดแรง

เกณฑการคํานวณรายละเอียดคอนกรีตอัดแรง ใชทฤษฎี Service load stress design ตาม


ขอกําหนดตางๆ ดังนี้
• กําลังรับแรงอัดของคอนกรีต (fc‘) อาคารคอนกรีตอัดแรงจะตองมีกําลังรับแรงอัดของ
คอนกรีต (fc’) ไมนอยกวา 350 กก./ตร.ซม. เมื่อทดสอบแทงคอนกรีตรูปทรงกระบอก 15
เซนติเมตร สูง 30 เซนติเมตร เมื่ออายุครบ 28 วัน
3-5 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการใชออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 3 มาตรฐานและขอกําหนด

• กําลังรับแรงอัดของคอนกรีตทันทีที่ถายแรงมาจากเหล็กเสริมอัดแรง (fci’) ตองไมนอยกวา


70 เปอรเซ็นต ของกําลัง รับแรงอัดประลัย (fc’) คอนกรีต
• ขนาดน้ําหนัก พื้นทีห่ นาตัด ความตานแรงดึงที่จุดคราก (fpy) และความตานแรงดึงสูงสุด
(fpu) ของลวดเหล็กแรงอัด (pc wire) และลวดเหล็กอัดแรงตีเกลียว (pc strand) แสดงใน
ตารางที่ 3.2-3

ตารางที่ 3.2-3 รายละเอียดของลวดเหล็กอัดแรงและลวดเหล็กอัดแรงตีเกลียว


ขนาดเสนผาศูนยกลาง น้ําหนัก พื้นที่หนาตัด Fpy Fpu
ชนิด
(มม.) (กก. /ม.) (ซม.) (กก. / ซม.) (กก./ซม.)
4 0.0987 0.1257 16.800 18.400
5 0.1540 0.1964 16.600 18.300
ลวดเหล็กอัดแรง
7 0.3020 0.3848 15.700 17.200
9 0.4990 0.6333 14.100 15.700
3/8” grade 1725 0.4050 0.5161 14.900 17.500
3/8” grade 1860 0.4320 0.5484 16.100 19.000
ลวดเหล็กแรงอัดตีเกลียว
1/2” grade 1725 0.7300 0.9290 14.900 17.500
1/2” grade 1860 0.7750 0.9871 16.100 19.000

• หนวยแรงที่ยอมใหของคอนกรีต
- หนวยแรงในคอนกรีตทันทีทถี่ ายแรงมามาจากเหล็กเสริมอัดแรง
ตองไมเกินคาดังตอไปนี้
หนวยแรงอัด 0.60 fci ‘ กก. /ตร.ซม.
หนวยแรงดึง 0.8 √fci กก. /ตร.ซม.
- หนวยแรงในคอนกรีตหลังจากสูญเสียแรงอัดตองไมเกินคาดังตอไปนี้
หนวยแรงอัด 0.45 fc ‘ กก. /ตร.ซม.
หนวยแรงดึง 1.6 √fci กก. /ตร.ซม.

• หนวยแรงที่ยอมใหของเหล็กเสริมอัดแรง
- หนวยแรงดึงทันทีที่ถายแรงตองไมเกินคาดังตอไปนี้
0.7 fpu หรือ 0.8 fpy
- หนวยแรงดึงหลังจากการสูญเสียแรงอัดในลวดอัดแรงตองไมเกินคาดังตอไปนี้
0.56 fpu หรือ 0.64 fpy

• การสูญเสียแรงอัด
การสูญเสียแรงอัดในคอนกรีตตองไมเกินคาดังตอไปนี้
- ในขณะขนสงและติดตั้ง 15 เปอรเซ็นต
- ในขณะใชงาน 20 เปอรเซ็นต

3-6 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการใชออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 3 มาตรฐานและขอกําหนด

• ความหนาของคอนกรีตที่หุมเหล็กเสริม
ความหนาของคอนกรีตที่หุมเหล็กเสริมที่วัดจากผิวเหล็กจะตองไมนอยกวาเกณฑตอไปนี้
- สําหรับคอนกรีตที่เทหลอกับดินโดยตรง 6.0 เซนติเมตร
- สําหรับคอนกรีตที่สัมผัสกับดินหรือถูกแดดฝน 2.5 เซนติเมตร
- สําหรับพื้นที่ในรมที่ไมสัมผัสดินหรือถูกแดดฝนโดยตรง 1.5 เซนติเมตร
- สําหรับคานและเสาในรมที่ไมสัมผัสดินหรือถูกแดดฝนโดยตรง 2.5 เซนติเมตร

(6) โครงสรางเหล็ก (structural steel)

คุณสมบัติของวัสดุและอุปกรณีที่เกี่ยวของงานโครงสรางเหล็ก รายละเอียดแสดงไวในตารางที่ 3.2-4

ตารางที่ 3.2-4 คุณสมบัติของวัสดุและอุปกรณทเี่ กี่ยวของกับงานโครงสรางเหล็ก


ชนิดของวัสดุ มาตรฐาน
(1) เหล็กรูปพรรณ มอก. 116 “เหล็กโครงสรางรูปพรรณ
(2) เหล็กแผน Astm designatiom : A- 22
(3) เหล็กกลวง มอก.107 “เหล็กโครงสรางรูปพรรณกลวง”
(4) ทอเหล็กกลาอาบสังกะสี มอก.277 “ทอเหล็กกลาอาบสังกะสีชนิดตอเกลียว
(5) เหล็กทอ ASTM Designation :A -48
(6) เหล็กกลาไรสนิม(Stainless Steel) ASTM Designation :A-264 หรือ JIS G4303,4304,4317
(7) สลักเกลียว แปนเกลียวและแหวนรอง แปนเกลียว มอก.291,171และ258 สลักเกลียวหัวหกเหลีย่ มแปนเกลียวและแหวนรองเกลียว”
มอก.49 ลวดเชื่อมชนิดเหล็กกลาเหนียว ซึ่งมีเปลือกหุมสําหรับเชื่อมดวยประกาย
(8) ลวดเชื่อมเหล็ก
ไฟฟา

(1) เหล็กรูปพรรณใช A36 Fy = 2,500 กก./ซม.


(2) สลักเกลียวใช A307 Fy = 4,200 กก./ซม.
- หนวยแรงดึงทีย่ อมให = 0.6 Fy
- หนวยแรงเฉือนสําหรับการตอแบบแรงกด (Bearing-Type Connection) = 0.33 Fy
- หนวยแรงกด = 0.90 Fy
(3) คาคงที่ของเหล็ก
- โมดูลัสยืดหยุน (E) = 2.03x10 กก./ซม.
- อัตราสวนปวซอง (V) = 0.3
E
- โมดูลัสแข็งแรง (G) =
2(1 + ν )
- หนวยน้ําหนัก = 7,850 กก./ซม.
(4) สัญลักษณการเชื่อมใหใชตาม AWS
(5) ลวดเชื่อมใช AWS A5.1 หรือ A55, E70 xx หนวยแรงเฉือนที่ยอมใหเทากับ 1,470 กก./ซม.

3-7 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการใชออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 3 มาตรฐานและขอกําหนด

เกณฑการคํานวณรายละเอียดของโครงสรางเหล็กรูปพรรณ
ใชวิธี Elastic Design ตามขอกําหนดตอไปนี้

(1) หนวยแรงดึงทีย่ อมให (Ft) บนหนาตัดสุทธิ


-- สําหรับโครงการสรางอาคาร Ft = 0.60 FY, หรือ 0.50 Fu (ใชคานอย)
-- สําหรับโครงสรางสะพาน Ft = 055 FY
เมื่อ FY = กําลังที่จุดครากของเหล็กรูปพรรณ
Fu = กําลังดึงประลัยของเหล็กรูปพรรณ

(2) หนวยแรงอัดทีย่ อมให (Fa) บนหนาตัดสุทธิ


Fa > 0.60 FY
ทั้งนี้ตองพิจารณาผลของอัตราสวนความชะลูด (Slenderness ratio) ในการคํานวณหา
หนวยแรงอัดทีย่ อมใหและชนิดชิ้นสวนโครงสรางประกอบดวย

(3) หนวยแรงเฉือนที่ยอมให (Fv)


Fv = 0.40 FY

(4) หนวยแรงดัดทีย่ อมให (Fb)


Fb = 0.60 FY
ทั้งนี้ตองพิจารณาผลของการเกิด Buckling ของปกคานดานรับแรงอัดในการคํานวณหา
หนวยแรงดัดทีย่ อมใหประกอบดวย

(5) หนวยแรงกดทีย่ อมให (Fp)


Fp = 0.90 FY

(6) สําหรับโครงสรางที่มีชิ้นสวนรับแรงในแนวแกนและแรงดัดรวมกันใหใชสมการ Interaction


ในการออกแบบดังนี้
fa f f by
+ bx + ≤ 1.0
Fa Fbx Fby

เมื่อ fa = หนวยแรงในแนวแกนที่เกิดขึน้ จริง


fbx = หนวยแรงดัดทีเ่ กิดขึ้นจริงรอบแกนx
fby = หนวยแรงดัดทีเ่ กิดขึ้นจริงรอบแกน y
Fa = หนวยแรงในแนวแกนที่ยอมให
Fbx = หนวยแรงดัดทีย่ อมใหรอบแกน x
Fby = หนวยแรงดัดทีย่ อมใหรอบแกน y

3-8 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการใชออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 3 มาตรฐานและขอกําหนด

นอกจากนี้ยังมีมาตรฐานและขอกําหนดอืน่ ๆแนะนํา ดังตอไปนี้

1) ผูรับจางตองดําเนินการปกผังวางแนวเขื่อนและแจงตอผูวา จาง เพื่อทําการตรวจสอบและให


ความเห็นชอบกอนดําเนินการกอสราง
2) กอนดําเนินการกอสราง ผูร ับจางตองดําเนินการขุดลอกผิวดินริมตลิ่ง จนปราศจากตอไม รากไม
เศษหญา ขยะ อินทรียวัสดุอื่นใดที่อาจเปนอันตรายตอความมั่นคงของตัวเขื่อนรวมทั้งดินออนทีไ่ มมนั่ คงออกให
หมด และนําสวนที่ขุดลอกทั้งหมดไปทิ้งในสถานที่ที่เหมาะ โดยไมกระทบตอสาธารณะ และความสงบเรียบรอย
ของบานเมือง
3) การกอสราง ใหดําเนินการดวยความระมัดระวัง โดยไมกอใหเกิดความเสียหายตอชีวิต และ
ทรัพยสิน อาคารบานเรือน สถานที่ราชการ สาธารณะสถาน สาธารณูปโภคและโบราณสถานในบริเวณกอสราง
และใกลเคียงรวมทั้งใหพยายามรักษาตนไมใหญ บริเวณกอสรางไว โดยหากจําเปนตองตัดโคนตองไดรับ
อนุญาตจากผูวาจาง
4) การดําเนินการ ตามขอ 2 และ 3 หากเกิดความเสียหายใดๆ ผูรับจางจะตองรับผิดชอบในความ
เสียหายที่เกิดขึ้นทั้งหมดในทุกกรณี โดยผูร ับจางตองเปนผูรับผิดชอบคาใชจายใดๆที่เกิดขึ้นแตเพียงผูเ ดียว
5) ขณะกอสรางหากมีการขุดพบหรือคนพบโบราณวัตถุ หรือวัตถุมีคาใดๆ วัตถุตางๆ ดังกลาวจัก
ตองตกเปนสมบัติของทางราชการทั้งสิ้น ซึง่ หากมีกรณีดังกลาว ผูรับจางจะตองแจงใหผวู าจางทราบโดยทันที
6) ขณะกอสรางหากตรวจพบตาน้ํา ใหผูรับจางแจงใหผูวาจางทราบโดยทันทีและดําเนินการแกไข
โดยคาใชจายเปนของผูร ับจางทั้งสิ้น
7) ทรายถมตัวเขื่อน
7.1 ใหใชวัสดุถมประเภททราย มีคุณสมบัติตามระบบ UNIFIED SYSTEM SOIL
CLASSIFICATION (ASTM D – 2487-85) แตทั้งนี้ตองมีปริมาณของวัสดุที่ผานตะแกรง
เบอร 200 ไดไมเกิน 10%
7.2 การทดสอบทรายถมตัวเขื่อน
7.2.1 การทดสอบจะตองดําเนินการโดยสถาบันที่เชื่อถือได และผูรับจางตองรับผิดชอบ
คาใชจาย ในการทดสอบทั้งหมด
7.2.2 วิธีการทดสอบใหยึดตามมาตรฐาน ASTM โดยมีรายละเอียดดังนี้
- ทําการทดสอบ PARTICLE SIZE DISTRIBUTION (ASTM B-422-63)
- ใหทําการทดสอบวัสดุถมจํานวน 2 ตัวอยาง ทุกๆ 5,000 ลบ.ม. และเมื่อมีการ
เปลี่ยนแหลงของวัสดุถม
7.2.3 ผูรับจางตองสงผลการทดสอบตามขอ 7.2.2 เพื่อขออนุมัติตอ ผูวาจางกอนนําไปใชงาน
7.3 การบดอัดใหดําเนินการบดอัดเปนชั้น โดยความหนาหลังจากการบดอัดไมเกิน 0.30 ม.
ดวยวิธีฉีดน้ําใหชุม และบดอัดใหมีความแนน ยกเวนทรายถมในสวนที่ต่ํากวาระดับน้ํา
ในขณะกอสราง
7.4 การฉีดน้ําใหชมุ และบดอัดใหแนนตามขอ 7.3 ผูรับจางตองดําเนินการใหทรายถมตัวเขื่อน
มีความแนน และมีกําลังความแข็งแรงในการรองรับน้ําหนักตัวเขื่อนรวมทั้งน้ําหนักบรรทุก
ที่กระทําตอตัวเขื่อน โดยไมเกิดความเสียหาย

3-9 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการใชออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 3 มาตรฐานและขอกําหนด

8) หินทิ้งฐานเขื่อน หินเรียงหนาเขื่อน และหินทิ้งปดหัว – ทายเขื่อน


8.1. หินทิ้งฐานเขื่อน ใหทงิ้ หินขนาดประมาณ ∅ 0.30 ม. หรือตามที่ระบุในแบบ
8.2 หินเรียงหนาเขือ่ น ใหทิ้งหินขนาดประมาณ ∅ 0.30 ม. หรือตามที่ระบุในแบบ และแทรก
โพรง หรือชองวางดวยหินเล็กใหแนน
8.3 หินทิ้งปดหัว – ทายเขื่อน ใหทิ้งหินขนาดประมาณ ∅ 0.30 ม. หรือตามที่ระบุในแบบ
8.4 หินที่จะนํามาใชตองเปนหินชนิดที่มีความแกรงทนทานตอสภาพดินฟาอากาศ และไม
เสียหายแตกหักระหวางทําการกอสราง
9) วัสดุในกลองลวดตาขายเกเบี้ยนและแมทเทรส
9.1 ใหใชหินหรือกรวด ขนาดประมาณ ∅ 0.12 ม. หรือตามที่ระบุในแบบ บรรจุจนแนนและ
เต็มกลอง
9.2 ในระหวางการกอสราง ผูร ับจางจะตองทําการดวยความระมัดระวังไมใหหินหรือกรวดหลุด
ลอดออกจากกลองได
10) ชั้นวัสดุกรอง
10.1 วัสดุกรองที่เปนหินคละหรือกรวดคละโดยคุณสมบัติดังตอไปนี้
10.1.1 วัสดุกรองจะตองมีความสามารถในการซึมไดมากพอที่ใหน้ําในดินสามารถไหล
ผานไดสะดวก
D15 F D D D
10.1.2 >4, 15 F <5, 50 F <25, และ 15 F <20
D15 B D85 B D50 B D15 B
เมื่อ D15F ขนาดของวัสดุกรองที่มีเปอรเซ็นตของวัสดุที่เล็กกวาเทากับ 15%
D15B ขนาดของวัสดุใตวัสดุกรองที่มีเปอรเซ็นตของวัสดุที่เล็กกวาเทากับ 15%
D50F ขนาดของวัสดุกรองที่มีเปอรเซ็นตของวัสดุที่เล็กกวาเทากับ 50%
D50B ขนาดของวัสดุใตวัสดุกรองที่มีเปอรเซ็นตของวัสดุที่เล็กกวาเทากับ 50%
D85B ขนาดของวัสดุใตวัสดุกรองที่มีเปอรเซ็นตของวัสดุที่เล็กกวาเทากับ 85%
10.1.3 ขนาดของวัสดุกรองตองมีเสนผาศูนยกลาง ไมมากกวา 3 นิ้ว
10.1.4 ชั้นวัสดุกรองหนาไมนอยกวา 0.30 ม. หรือตามที่ระบุในแบบ
10.1.5 วัสดุกรองตองมีปริมาณของวัสดุที่ผานตะแกรงเบอร 200 ไมมากกวา 5 %
10.2 ใหทําการทดสอบคุณสมบัติของวัสดุกรองดวย การทดสอบ PARTICLE SIZE
DISTRIBUTION ตามมาตรฐาน ASTM D 422-67 โดยทําการทดสอบจํานวน 2 ตัวอยาง
ทุก ๆ 5000 ลบ.ม. ในกรณีทปี่ ริมาณวัสดุกรองที่ใชไมถงึ 5000 ลบ.ม. ใหทําการทดสอบ
อยางนอย 2 ตัวอยาง
10.3 ผูรับจางสามารถเลือกใชแผนใยสังเคราะหตามขอ 11) แทนวัสดุกรองได
10.4 ใหผูรับจางเลือกใชวัสดุกรองเปนหินคละหรือกรวดคละ หรือแผนใยสังเคราะหอยางใด
อยางหนึ่ง จะใชปนกันไมได
11) แผนใยสังเคราะห
11.1 แผนใยสังเคราะห (GEOTEXTILE) จะตองผลิตจากวัสดุ POLYPROPYLENE แบบ
NONWOVENS
11.2 เสนใยสังเคราะหจะตองอัดกันเปนแผน ไมหลุดจากกันงาย
11.3 ความกวางของแผนใยสังเคราะหจะตองเทากับหรือมากกวา 4.00 ม.
3-10 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการใชออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 3 มาตรฐานและขอกําหนด

11.4 คุณสมบัติของแผนใยสังเคราะหจะตองมีคาไมนอยกวาหรือเทากับเกณฑกําหนดดังนี้
11.4.1 น้ําหนักตอพืน้ ที่ (MASS/UNIT AREA), (ASTM D5216) เทากับหรือไมนอย
กวา 310 กรัม/ม. 2
11.4.2 ความหนา (THICKNESS), (ASTM D5199 ;1991) เทากับหรือไมนอยกวา 2.8 มม.
11.4.3 ความตานทานแรงดึง (GRAB TENSILE), (ASTM D4632) เทากับหรือไมนอย
กวา1,100 นิวตัน
11.4.4 การยึดตัว (ELONGATION), (ASTM D4632) ไมนอ ยกวาหรือเทากับ 50 %
11.4.5 ความตานทานแรงฉีกขาด (TEAR STRENGTH), (ASTM D4533) ไมนอยกวา
หรือเทากับ 450 นิวตัน
11.4.6 อัตราซึมผาน (FLOW RATE), (BS 6906 ; PART 3) ไมนอยกวาหรือเทากับ
100 ลิตร/วินาที/ม.2
11.5 การตอเปนผืน
ใหตอดวยการเย็บ หรือทาบ ดังนี้
11.5.1 การเย็บ
ใหเย็บดวยฝเข็มเดียว โดยมีระยะฝเข็มไมนอ ยกวา 1 ซม. และคา ( TENSILE
STRENGTH ) ของตะเข็บรอยตอ ตองมีคาไมนอยกวา 500 กิโลกรัม / ม.
ดายหรือเสนเอ็นที่ใชในการเย็บตองมีคุณสมบัติดังนี้
น้ําหนัก ไมนอยกวา 200 TEX
เสนผาศูนยกลาง ไมนอยกวา 4 MICRON
TENSILE STRENGTH ไมนอยกวา 140 NEWTON
ELONGATON เมื่อขาด ไมเกิน 20 %
11.5.2 การทาบ
ใหทาบโดยมีระยะทาบไมนอยกวา 0.50 ม.
11.6 ผูรับจางจะตองจัดเตรียมเอกสาร แคตตาล็อคฉบับของโรงงานผูผลิต และตัวอยางของ
ผลิตภัณฑขนาดไมเล็กกวา 0.25 X 0.30 เมตร จํานวน 3 ชิ้น แลวจัดสงใหผูวาจาง เพื่อ
พิจารณาใหความเห็นชอบกอนนําไปใช
11.7 การนําแผนใยสังเคราะหไปใชงาน ใหมีการสุมทดสอบคุณสมบัติโดยใหมีการเก็บตัวอยาง
วัสดุเพื่อทดสอบตามคุณสมบัติที่กําหนดในขอ16.4 จํานวน 1 ชุดของการทดสอบตอวัสดุ
5,000 ตารางเมตร และใหแสดงผลการทดสอบตอคณะกรรมการตรวจการจาง ตรวจสอบ
รับรองความถูกตอง โดยการทดสอบวัสดุตองดําเนินการโดยสถาบันที่เชื่อถือไดและ
คาใชจายในการดําเนินการทั้งหมดเปนของผูร ับจาง และการสุมเก็บตัวอยางและการสง
ตัวอยางทดสอบจะตองอยูภายใตการกํากับของผูควบคุมงานของเจาของงาน
12) งานคอนกรีต
- ใหใชคอนกรีต ค.2 ตาม มยธ. 101 หรือตามที่ระบุในแบบ
13) เหล็กเสริมคอนกรีต
- เหล็กขนาด 6 มม. และ 9 มม. ใชเหล็กเสนกลม เกรด SR – 24
- เหล็กขนาด 12 มม. และ ใหญกวาใชเหล็กขอออย เกรด SD – 30

3-11 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการใชออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 3 มาตรฐานและขอกําหนด

14) ระบบระบายน้าํ หลังเขื่อน


- ใหทําราง คสล. พรอมฝาปดยาวตลอดความยาวของเขื่อน พรอมกับบอพักและทอลอดระบาย
น้ําตามที่ไดแสดงไวในแบบ
15) เหล็กรูปพรรณ ตองเปนผลิตภัณฑที่ไดรับเครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมโดยมี
กําลังที่จุดคลากไมนอยกวา 2,400 กก/ซม.2
16) รายละเอียดกําหนดลักษณะและคุณสมบัติของกลองเกเบี้ยนและแมทเทรส
16.1 กลองเกเบี้ยนและแมทเทรส ใหใชกลองรูปทรงสี่เหลี่ยมรูปลูกบาศก ประกอบรูปตาขาย
เหล็ก นํามาพับขึ้นรูปกลอง โดยมีลวดเหล็กโครงกลองยึดขอบทุกดานฝาปดกลองจะตอง
แยกสวนออกจากตัวกลอง ดังแสดงในรูปที่ 3.2-1 และ 3.2-2

รูปที่ 3.2-1 รูปกลองเกเบี้ยนและผนังกั้น

รูปที่ 3.2-2 รูปกลองแมทเทรสและผนังกัน้


3-12 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการใชออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 3 มาตรฐานและขอกําหนด

16.2 ตาขายเกเบี้ยนและแมทเทรสเปนตาขายลวดเหล็กที่นํามาพันเกลียวเปนหกเหลี่ยม ดัง


แสดงในรูปที่ 3.2-3 และมีขนาดของชองตาขาย ดังนี้
- ขนาด 10x12 ซม. หรือนอยกวา สําหรับกลองเกเบี้ยน
- ขนาด 6x8 ซม. สําหรับกลองแมทเทรส

รูปที่ 3.2-3 ตาขายลวดเหล็กพันเกลียวเปนหกเหลี่ยม

16.3 ลวดเหล็กตาขาย,ลวดเหล็กโครงกลองและลวดที่ใชผูกยึดของกลองเกเบี้ยนและ
แมทเทรสใหใชลวดเหล็กเคลือบสังกะสีซึ่งตองมีคุณสมบัติดังนี้
16.3.1 การตานทานแรงดึงลวดเหล็กที่เคลือบสังกะสีจะตองมีการตานแรงดึง(TENSILE
STRENGTH) ระหวาง 3,800-5,500 กก/ซม 2 (38-55 กก./มม.2) โดยวิธีทดสอบ
ตาม มอก.71
16.3.2 น้ําหนักของสังกะสีที่เคลือบ น้ําหนักของสังกะสีที่เคลือบ ลวดเหล็กแตละขนาด
จะตองมีคาไมนอยกวาคาที่กําหนดไวในตารางที่ 3.2-5 ในกรณีของลวดที่ไมมี
กําหนดไวในตารางที่ 3.2-1 ลวดที่นํามาใชจะตองมีน้ําหนักของสังกะสีที่เคลือบ
เปนไปตาม มอก.71

ตารางที่ 3.2-5 คุณสมบัติลวดเหล็กสังกะสี

ประเภทกลอง ความสูงกลอง ประเภทลวดเหล็ก ขนาดเสน น้ําหนักสังกะสีที่


ม. ผาศูนยกลาง เคลือบ กรัม/ม.2
ไมหุม พี.วี.ซี. แมทเทรส 0.30 ลวดทําโครงกลอง 2.7 275
ลวดตาขาย 2.2 240
ลวดผูกกลอง 2.2 240
หุม พี.วี.ซี. แมทเทรส 0.30 ลวดทําโครงกลอง 2.7 275
ลวดตาขาย 2.2 240
ลวดผูกกลอง 2.2 240

3-13 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการใชออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 3 มาตรฐานและขอกําหนด

16.4 ขนาดและมิติตางๆของกลองเกเบี้ยนและแมทเทรสใหยึดถือตามขนาดที่วิศวกร
ผูออกแบบกําหนดไว ในกรณีที่แบบไมไดกําหนดขนาดไวเปนอยางอื่น ใหใชขนาดดังนี้
- กลองเกเบี้ยน ใหใชขนาด 1x2x0.50 ม.
- กลองแมทเทรส ใหใชขนาด 2x6x0.30 ม.
16.5 กลองเกเบี้ยนและแมทเทรสทีม่ ีดานยาว ยาวมากกวา1 ม. จะตองแบงกั้นทุกระยะ 1 ม.
16.6 การผูกยึดเพื่อขึ้นรูปกลองและการผูกยึดระหวางกลองที่เรียงชิดติดกันเขาไวดวยกัน ให
ผูกยึดดวยลวดเหล็กที่มีขนาดและคุณสมบัติตามกําหนดในตารางที่ 3.2-5 โดยการพันรัด
ลวด 1 รอบ และ 3 รอบ สลับกันชองเวนชองตามรูปที่ 3.2-4

รูปที่ 3.2-4 การผูกยึดระหวางกลอง

16.7 การผูกยึดกลองเกเบี้ยนและแมทเทรส สามารถเลือกผูกยึดดวยแหวนรัดรูปตัว C


(SPENAX) ของ STANLEY หรือเทียบเทาได ใหผูกยึด 1 ชองเวน 1 ชอง สลับกัน แหวน
รัดรูปตัว C จะตองทําจากเหล็กชุบสังกะสี มีขนาดเสนผาศูนยกลางไมนอ ยกวา 3.2 มม.
มีน้ําหนักสังกะสีที่เคลือบไมนอ ยกวา 270 กรัม/ม.2 และสามารถตานแรงดึง (TENSILE
STRENGTH) เทากับหรือมากกวา 170 กก./มม.2 กอนนําไปใชจะตองจัดสงแคตตาลอก
เครื่องมือและตัวอยางแหวนรัดใหวิศวกรผูออกแบบพิจารณาใหความเห็นชอบกอนนําไปใช
16.8 ในกรณีของกลองแมทเทรสชนิดหุม พีวีซี
นอกจากลวดเหล็กเคลือบสังกะสี จะตองมีคุณสมบัติตามขอ 15.1 – 15.7 และตารางที่
3.2-1 แลว พีวซี ี ที่จะหุมตองหุมอยางสม่ําเสมอและมีความหนาของ พีวซี ี เฉลี่ยประมาณ
0.5 + 0.05 มม. โดยจะตองไมมีสวนใดของลวดที่ถูกหุมดวยพีวีซีหนานอยกวา 0.4 มม.
พีวีซี ทีห่ ุมจะตองไมมีรอยแตกปริ แตกราวและตองมีความทนทานตออุณหภูมิและการกัด
กรอน
16.9 ผูรับจางจะตองจัดสงเอกสารเกี่ยวกับยี่หอของผลิตภัณฑ แคตตาล็อคผลิตภัณฑแหลง
ผลิตและผูแทนจําหนาย โดยจะตองแจงแหลงหรือที่อยูที่สามารถตรวจสอบไดพรอมทั้ง
แนบตัวอยางผลิตภัณฑ ขนาดไมเล็กกวา 0.25 x 0.30 ม. จํานวน 3 ชิ้น ใหผูวาจางเพื่อ
พิจารณาใหความเห็นชอบกอนนําไปใชในการกอสรางตอไป
16.10 ผูรับจางจะตองจัดเตรียมเอกสารแสดงผลิตภัณฑของผูผลิตที่ไดจัดสงมาใชในหนวยงาน
กอสรางเพื่อใหสามารถตรวจสอบได
3-14 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการใชออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
บทที่ 3 มาตรฐานและขอกําหนด

16.11 การเก็บตัวอยางและการทดสอบ
ผูรับจ างจะตอ งสุมเก็ บตัวอยางของกลองเกเบี้ ยนและแมทเทรสที่จัด สงไปยัง สถานที่
กอสราง โดยเก็บตัวอยาง1 กลองตอจํานวน 100 กลอง เศษของ 100 กลองใหเก็บอีก 1
กลอง ลวดผูกยึดใหตัด 3 ชิ้นๆละ 1 ม. ตอลวด 1 มัดทั้งนี้จะตองอยูภายใตการกํากับของ
ผูควบคุมงานหรือผูแทนที่ผูวาจางแตงตั้งแลวนําตัวอยางไปทําการทดสอบกําลังแรงดึง
(TENSILE STRENGTH) วิเคราะหน้ําหนักของสังกะสีเคลือบลวดเหล็ก และวิเคราะห
คุ ณ สมบั ติ ข อง พี . วี . ซี . ที่ หุ ม ลวดเหล็ ก (ถ า มี ) โดยสถาบั น ที่ เ ชื่ อ ถื อ ได โ ดยค า ใช จ า ย
ทั้งหมดอยูในความรับผิดชอบของผูรับจางทั้งสิ้น
16.12 กรณีแบบเขื่อนปองกันตลิ่งมิไดระบุชนิดกลองลวดตาขาย ใหใชกลองเกเบี้ยนและ
แมทเทรสชนิดเคลือบสังกะสี (ไมหุม พีวซี ี)
17) ทอกลม คสล. เปนทอชนิดปากลิ้นราง ขนาดของทอใหเปนขนาดตามที่แสดงไวในแบบโดยที่
ความหนา และความแข็งแรงจะตองเปนไปตามขอกําหนด มอก. 128/2528 ชัน้ ที่ 3
18) วัสดุตาขายสําหรับเสริมแรงในดิน (Geogrid)
18.1 งานจัดหาวัสดุตาขายสําหรับเสริมแรงในดิน ซึ่งมีคุณสมบัติรับแรงดึงไดสูงที่ความลา
(Creep) ต่ํา จะตองมีคุณสมบัติตามที่แสดงตอไปนี้โดยครบถวนสมบูรณ
18.1.1 ตาขายเสริมกํ าลั งดินจะตองผลิ ตจากวั สดุ เสนใยโพลี เอสเตอร ที่มีความเหนียวสู ง
ประกอบกันขึ้นมาโดยกรรมวิธีการถัก (Knitted) และถูกเคลือบดวยสารโพลีเมอรสีดํา
18.1.2 ตาขายเสริมกําลังดินจะตองมีความทนทานตอสารเคมีตางๆ ที่มีอยูในดิน
18.1.3 ตาขายเสริมกําลังดินตองผานการทดสอบคุณสมบัติทางวิศวกรรมตามที่ระบุในแบบ
ตามมาตรฐาน ดังตอไปนี้
คุณสมบัติ มาตรฐานการทดสอบ หนวย
คากําลังรับแรงดึงที่กําหนด ณ จุดสูงสุด (md) ISO 10319 KN/m
คาการยืดตัว ณ แรงดึงที่กําหนด จุดสูงสุด (md) ISO 10319 %
คาการรับแรงดึงที่คาการยืดตัว 5% Strain ISO 10319 KN/m
Long Term Design Strengthที่ 120 ป - KN/m
คากําลังรับแรงดึงผลเนื่องจาก Creep limited strength ที่อายุ 120 ป EN ISO 13431 KN/m

18.2 ผูร ับจางตองเสนอแผนตาขายเสริมกําลังดิน ที่จะใชในการกอสรางตอวิศวกรผูออกแบบ


โดยผานเจาหนาที่ของผูวาจาง เพื่อขออนุมตั ิกอนการใชงานจริงไมนอยกวา 60 วัน และ ใน
การเสนอใชผลิตภัณฑผูรับจางตองเสนอเอกสารเพื่อประกอบการพิจารณาอนุมัติดังมี
รายการตอไปนี้
18.2.1 สําเนาหนังสือการไดรับการรับรองระบบคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001 ของผูผลิต
18.2.2 แคตาล็อก (Catalogue) แสดงขอมูลทางเทคนิคของผลิตภัณฑที่เสนอ จะตองเปน
เอกสารพิมพเผยแพรตอสาธารณะ
18.3 วัสดุสังเคราะหที่นํามาใชยังหนวยงานจะตองมีเครื่องหมายแสดงชื่อสินคา, ชนิดสินคาและ
เลขหมายการผลิต
18.4 วัสดุสังเคราะหที่สงมาถึงหนวยงานบริเวณกอสราง ตองไดรบั การตรวจสอบจากผูควบคุม
งานของผูวาจางกอนการนําไปใชงาน
3-15 กรมโยธาธิการและผังเมือง
ภาคผนวก ก
รูปแบบมาตรฐานแนะนําเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับ
ลําน้ําขนาดเล็ก
ภาคผนวก ข
การสํารวจในสนาม
ภาคผนวก ข
การสํารวจในสนาม

ข.1 การสํารวจทําแผนที่สภาพภูมิประเทศ

การสํารวจเพื่อทําแผนที่สภาพภูมิประเทศบริเวณพื้นที่ที่ออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งประกอบดวยการ
สรางหมุดหลักฐานถาวรเพื่อใชควบคุมพิกัดในแนวราบและควบคุมระดับในแนวดิ่งของโครงการ การสํารวจ
สภาพภูมิประเทศ เก็บรายละเอียดตางๆ เชน อาคารหรือสิ่งปลูกสราง ถนน เปนตน รวมถึงรูปตัดลําน้ํา โดยจะ
ดําเนินการสํารวจใหครอบคลุมขอบตลิ่งออกไปดานละ 50 เมตร และแสดงเสนชั้นความสูงทุก 0.50 เมตร และ
เขียนรูปตัดขวางทุกระยะประมาณ 25 เมตร

ข.1.1 การสํารวจวงรอบโดยใชระบบพิกัดฉาก UTM (Universal Transverse Mercator)

มีขั้นตอนการดําเนินงานดังนี้

(1) สํารวจหาหมุดหลักฐานระบบพิกัดฉาก UTM ในสนามจํานวน 1 คู พรอมกับตรวจสอบความ


ถูกตอง ในกรณีที่ไมมีหมุดพิกัดฉาก UTM ในบริเวณใกลพื้นที่โครงการ หรือตรวจสอบแลวผิดพลาดมากไม
เหมาะที่จะนํามาใชทําวงรอบปด จะตองจัดสรางหมุดหลักฐานขึ้นมาใหม 1 คู และหาคาพิกัดฉาก UTM ของ
หมุดหลักฐานใหม โดยใช GPS ชวยในการหา

(2) สํารวจทําวงรอบปดใหครอบคลุมพื้นที่โครงการ ที่จะทําการสํารวจและออกแบบรายละเอียด โดย


ปฏิบัติดังนี้
(ก) จัดวางหมุดตั้งกลองเพื่อใหสามารถทําวงรอบปดไดสะดวก
(ข) วัดระยะระหวางหมุดตั้งกลองไป–กลับ โดยใชเครื่องวัดระยะอิเล็คโทรนิค (Electronic
Distance Measurement : EDM) การวัดแตละครั้งจะอานคาอยางนอย 2 ครั้ง โดยอาน
ละเอียดถึง 1 มม. และหาคาเฉลี่ยเพื่อใชเปนระยะทางที่จะนํามาคํานวณวงรอบปด
(ค) การรังวัดมุม บริษัทที่ปรึกษาจะรังวัดอยางนอย 2 ศูนย (Double Center) โดยอานคามุมให
ละเอียดถึง 1 ฟลิปดา และหาคาเฉลี่ยเพื่อใชเปนคามุมที่จะนํามาคํานวณวงรอบปด

(3) ความละเอียดถูกตองในการทําวงรอบปด ซึ่งสามารถแบงออกไดเปนวงรอบหลัก (Main


Tranverse) และวงรอบยอย (Sub – Traverse)

วงรอบหลักเปนวงรอบที่สํารวจรังวัดใหครอบคลุมพื้นทีโ่ ครงการทั้งหมด กําหนดใหมีความ


ผิดพลาดเชิงมุมของวงรอบปดไมเกิน 15 √N ฟลิปดา เมื่อ N เปนจํานวนหมุดตั้งกลองที่ใชในการรังวัดของ
วงรอบปดและความถูกตองของวงรอบปด (Accuracy of Closure) ดีกวา 1:20,000
ข-1 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
ภาคผนวก ข การสํารวจในสนาม

วงรอบยอยเปนวงรอบทีอ่ อกและเขาบรรจบกับวงรอบหลักสํารวจรังวัดเพื่อการสํารวจเขาหา
พื้นที่ยอยที่ตองการสํารวจและออกแบบรายละเอียด กําหนดใหมีความผิดพลาดเชิงมุมของวงรอบบรรจบไมเกิน
30 √N ฟลิปดา เมื่อ N เปนจํานวนหมุดตั้งกลองที่ใชในการรังวัดวงรอบบรรจบ และความถูกตองของวงรอบ
บรรจบดีกวา 1 : 10,000

(4) การสรางหมุดหลักฐานถาวร (Permanent Monuments)

การจัดสรางหมุดหลักฐานถาวรเพื่อใชเปนหมุดควบคุมสําหรับการกอสรางในอนาคตไมนอยกวา
3 คู หมุดหลักฐานที่สรางดําเนินการโดยใชเสาเข็มคอนกรีตหกเหลี่ยมหลอสําเร็จขนาดเสนผาศูนยกลาง 6 นิ้ว
ยาว 3 เมตร หรือใชทอ เหล็กอาบสังกะสีขนาดเสนผาศูนยกลาง 4 นิ้ว ยาว 3 เมตร ตอกเสมอระดับดินแลวหลอ
ทับดวยคอนกรีตขนาด 30x30 ซม. หนา 20 ซม. ฝงหมุดทองเหลืองตามมาตรฐานของกรมโยธาธิการและผัง
เมือง ในการหลอคอนกรีตจะเวนพื้นที่ไวสําหรับฝงแผนสแตนเลส เพื่อบอกคาพิกัดฉาก UTM และคาระดับ รทก.
ตามมาตรฐานของกรมโยธาธิการและผังเมือง หลังจากที่ไดทําการรังวัดหาคาไดแลว ในกรณีที่มีโครงสรางถาวร
ในบริเวณใกลเคียงที่สามารถตั้งกลองรังวัดได จะใชโครงสรางนั้นเปนหมุดหลักฐานถาวร โดยการฝงหมุด
ทองเหลืองและแผนสแตนเลสไวบนโครงสราง

ข.1.2 การทําหมุดหลักฐานระดับ (BM)

หมุดหลักฐานระดับเปนหมุดที่ใชสําหรับอางอิงระดับในการกอสราง เพื่อใหระดับกอสรางเปนไปตาม
แบบกอสรางทีไ่ ดทําการออกแบบรายละเอียดไว โดยดําเนินการ ดังนี้
(1) คาระดับที่อางอิง จะใชคาระดับน้ําทะเลปานกลาง (Mean Sea Level) ที่ถูกตองจากกรมแผนที่
ทหารที่มีอยูในบริเวณใกลเคียง ถาบริเวณใกลเคียงไมมีหมุดระดับที่เปนคาระดับน้ําทะเลปานกลาง จะใชคา
ระดับจากหมุดระดับของถนนที่ตอเนื่องกันหรือใกลเคียงกัน

(2) หมุดหลักฐานระดับไดดําเนินการในที่ๆ คงทนถาวร ไมทรุด ไมสูงขึน้ ไมโยกคลอนงาย และยาก


แกการทําลาย พรอมทั้งตอกตะปูหรือฝงนอตในที่สามารถตั้งไมระดับ (Staff) ไดตรง

(3) สําหรับที่ราบ หมุดหลักฐานระดับมีระยะหางกันไมเกิน 500 เมตร และสําหรับที่ภูเขาหรือที่เนิน


หมุดระดับหางกันไมเกิน 250 เมตร

(4) การทําหมุดระดับจะทําในที่ ดังนี้


- ในที่ที่พนบริเวณที่คาดวาจะทําการกอสราง
- บนสะพาน คสล. และสถานที่ราชการสําคัญๆ จะพยายามทําหมุดหลักฐานระดับชนิดถาวร
ไวดวย

(5) ในที่โลงแจงไมมีตนไมใหญหรือถาวรวัตถุทพี่ อจะทําหมุดระดับไดจะใชหลักคอนกรีตขนาด 10 x


10 x 50 ซม. เปนหมุดระดับฝงไวในที่เหมาะสม
ข-2 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
ภาคผนวก ข การสํารวจในสนาม

(6) การทําหมุดหลักฐานระดับ จะใชวิธีรังวัดแบบเขาวงรอบ (Close Circuit) ไป-กลับ โดยจะ


พยายามใหมีความผิดพลาดไมเกิน 8 √K มม. ซึ่งคา K คือระยะทางระหวางหมุดเปนกิโลเมตร และจะใช
คาเฉลี่ยเปนคาระดับที่ใชงานตอไป

(7) ความละเอียดของการรังวัดระดับจะอานคาถึง 1 มม.

(8) ติดแผนปายบอกหมุดระดับ โดยใชไมเนื้อแข็งขนาด ½” x 6” x 40 ซม. เขียนบอกเลขทีข่ องหมุด


ระดับนั้นๆ ดวยตัวอักษรพองาม เปนที่เขาใจและเห็นไดชดั เจน

(9) การแจงสถานที่ตั้งของหมุดระดับในการรังวัด ไดแจงใหกะทัดรัดและละเอียดพอ เชน หมุดระดับ


มฐ 1 หัวนอต 6 เหลี่ยม โคนตนมะมวงขนาดเสนผาศูนยกลาง 0.80 เมตร ตรงกิโลเมตรที่ 0+600 ซายมือหาง
จากศูนยกลางทาง 30.50 เมตร มีคาระดับ 148.526 รทก. ในกรณีทใี่ ชหมุดหลักฐานถาวรเปนหมุดระดับ จะ
บอกคาพิกัดฉากของหมุดระดับนั้นดวยเพื่อสะดวกในการคนหา

(10) เครื่องมือที่ใชสํารวจรังวัดหมุดหลักฐานระดับ ใชเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพสูงในการสํารวจรังวัด


หมุดหลักฐานระดับ เพื่อใหไดคุณภาพของงานที่ดีมีความถูกตอง เชน
- กลอง WILD NAK-2 จํานวน 2 ชุด
- กลอง WILD NK-2 จํานวน 1 ชุด

ข.1.3 การสํารวจรายละเอียดผังบริเวณ (Site Plan)

การสํารวจทํา Site Plan เปนการสํารวจรายละเอียดสภาพภูมิประเทศเพื่อนําขอมูลมาใชประโยชนใน


การออกแบบ โดยดําเนินการ ดังนี้

(1) กําหนดขอบเขตพื้นที่ใหครอบคลุมผังบริเวณที่จะทําการสํารวจออกแบบรายละเอียด

(2) จัดสรางหมุดหลักฐานชั่วคราว เพื่อใชเปนเสนฐาน (Base Line) และหมุดตั้งกลอง โดยหมุดที่ใช


เปนเสนฐานและหมุดตั้งกลองจะตองสํารวจทําวงรอบยอยใหบรรจบกับวงรอบหลักเพื่อหาคาพิกัดฉาก UTM
และคาระดับทะเลปานกลาง (Mean Sea Level) การสํารวจรายละเอียดแบงออกเปน 2 ลักษณะคือ

(ก) การสํารวจรายละเอียดออกจากเสนฐาน ใชเพือ่ สํารวจสภาพภูมิประเทศสําหรับการ


ออกแบบเขือ่ นปองกันตลิ่ง และอาคารพิเศษตามแนวตลิ่งโดยเสนฐานจะขนานหรือเกือบขนานกับลําน้ํา และ
ถนนตามความเหมาะสม การสํารวจจะดําเนินการดังนี้
- การวัดระยะ
- การรังวัดรูปตัดตามขวาง
- การสํารวจรายละเอียดภูมิประเทศ

ข-3 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
ภาคผนวก ข การสํารวจในสนาม

(ข) การสํารวจรายละเอียดจากหมุดตั้งกลอง ใชเพือ่ สํารวจสภาพภูมิประเทศสําหรับการ


ออกแบบอาคารพิเศษ การจัดวางตําแหนงอาคาร การออกแบบภูมิทัศนและการออกแบบอื่น ๆ ทีต่ องใชพื้นที่
เปนวงกวาง ในปจจุบันการสํารวจสภาพภูมิประเทศจากหมุดตั้งกลองมีเทคโนโลยีกาวหนามาก เครือ่ งมือที่ใช
สํารวจเปนกลองแบบประมวลผล (Total Station) ซึ่งเปนกลองวัดมุมอิเล็คโทรนิค (Electronic Theodolite)
ประกอบกับเครื่องวัดระยะอิเล็คโทรนิคอยูในตัวเดียวกัน โดยมีสมุดสนามอิเล็คโทรนิค (Electronic Field Book)
เปนตัวเก็บรวบรวมขอมูล (Data Collector) สามารถทําใหการสํารวจสภาพภูมิประเทศในสนามเปนไปไดอยาง
รวดเร็ว หลังจากเก็บรวบรวมขอมูลแลวจะนํา Electronic Field Book มาถายขอมูลเขาคอมพิวเตอร ซึง่ จะแปลง
ขอมูลเปนแผนที่สภาพภูมิประเทศเพื่อใชในการออกแบบรายละเอียดตอไป

ลักษณะสภาพภูมิประเทศที่ใช Total Station ใชสํารวจเก็บขอมูล มีดังนี้

1) สํารวจจุดระดับใหครอบคลุมพื้นที่ทุกๆ ระยะ 10 เมตร หรือทุกๆ ชวงที่มีการ


เปลี่ยนแปลงความลาดชัน เพื่อใชเขียนชวงเสนชั้นความสูง (Contour Lines Interval) ทุกๆ 0.25 เมตร สําหรับ
พื้นที่ราบ และทุกๆ 1.0 เมตร สําหรับพื้นทีม่ ีความชันมาก หรือตามความเหมาะสม

2) สํารวจแนวและขนาดของถนนหรือคลองที่ผานเขามาในขอบเขตพืน้ ที่ที่ตองการสํารวจ
โดยสํารวจออกไปนอกขอบเขตที่กําหนดอยางนอย 10.0 เมตร หรือมากกวานัน้ เพือ่ เขียนลงในแผนที่ สํารวจ
ตําแหนงตนไมยืนตนที่มขี นาดเสนผาศูนยกลางตั้งแต 0.20 เมตรขึน้ ไป พรอมเขียนบอกขนาดและชื่อกํากับไวดวย

3) สํารวจอาคารโครงสราง และสิ่งปลูกสรางตางๆ ที่อยูในขอบเขตพื้นทีท่ ี่ตองการสํารวจ


และบริเวณใกลเคียง

4) สํารวจตําแหนงเสาไฟฟาและแนวสายไฟฟาที่อยูในขอบเขตพื้นที่ที่ตองการสํารวจ

5) สํารวจแนวและขนาดทอระบายน้ํา รางระบายน้ําและบอพักที่อยูในขอบเขตพื้นทีท่ ี่
ตองการสํารวจ

6) สํารวจแนวทอประปา ทอรอยสายเคเบิ้ล (ถามี)

7) สิ่งอื่นใดที่เห็นวาจะเปนประโยชนหรือเสียประโยชนในการออกแบบและกอสราง จะทํา
การสํารวจเก็บรายละเอียดใหครบถวน

หลั ง จากสํ า รวจรายละเอี ย ดลั ก ษณะภู มิ ป ระเทศประมวลผลและแปลงข อ มู ล ด ว ย


คอมพิวเตอรแลว จะทําการเขียนแบบ โดยใช Plotter ตอเขากับคอมพิวเตอร

(3) เครื่องมือที่ใชในการสํารวจรายละเอียดลักษณะภูมิประเทศ จะใชเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพสูงใน


การสํารวจลักษณะภูมิประเทศ เพื่อใหไดคณ ุ ภาพของงานที่ดี รวดเร็วและถูกตอง เชน
- กลอง WILD TC 1010 จํานวน 1 ชุด
- กลอง WILD TC 1000 จํานวน 1 ชุด
- กลอง WILD TC 600 จํานวน 3 ชุด
ข-4 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
ภาคผนวก ข การสํารวจในสนาม

ข.1.4 การทําหมุดอางอิง (Reference Points)

หมุดอางอิงเปนหมุดที่ใชประโยชนมากในการกอสราง เพราะตามปกติหมุดตั้งกลองและหมุดหลักฐาน
ชั่วคราวจะสูญหายเมื่อมีการกอสราง จึงจําเปนตองใชหมุดอางอิงเพื่อหาหมุดตั้งกลองสําหรับใชในการวาง
แนวทางและเสนฐาน โดยดําเนินการดังนี้

(1) ทําหมุดอางอิงในที่ไมถูกรบกวนงาย มัน่ คง แข็งแรง ไมโยกคลอน เคลื่อนงาย และจะทําการรังวัด


ทั้งระยะและมุมที่ทํากับแนวศูนยกลางทางหรือเสนฐานใหถกู ตองเปนพิเศษ ถาเปนหมุดไมจะทําไวไมนอยกวา 4
หมุด โดยอยูในแนวเสนตรงเดียวกัน และตองอยูในตําแหนงที่สามารถตั้งกลอง Theodolite ได

(2) ใชคอนกรีตหลอกับที่ขนาดเสนผาศูนยกลาง 15 ซม. ยาว 30 ซม. ฝงลึกเสมอดิน พรอมตอก


ตะปูเปนจุดหมายตามแนวเล็งของกลองแนว หรือใชรากไมใหญตอกตะปู แตจะไมตอกตะปูบนลําตนไม อาจใช
โครงสรางถาวรอื่น ๆ พรอมทั้งตอกตะปูเปนจุดหมายตามแนวเล็งของกลองแนว และทาสีเปนที่หมายไว หมุด
อางอิงทุกหมุดจะพยายามสรางใหเปนหมุดที่สามารถตั้งกลองรังวัดไดดวย

ข.1.5 งานสํารวจรูปตัดขวางลําน้ํา

การสํารวจรูปตัดขวางลําน้ํา เพื่อตองการทราบสภาพ ลักษณะรูปราง ขนาดความลาดเท และรายละเอียด


ภูมิประเทศทัง้ สองฝงของลําน้าํ สําหรับใชในการพิจารณาออกแบบรายละเอียด เพื่อใหไดขอมูลรูปตัดขวางใน
สภาพปจจุบัน โดยพิจารณาจากความกวางของลําน้ําในชวงเวลาที่ทําการสํารวจ ลักษณะทางธรณีวิทยา ระดับ
น้ํา ปริมาณน้าํ ความเร็วของกระแสน้ํา รวบรวมขอมูลพรอมคาพิกัดตําแหนงสิ่งปลูกสรางริมตลิ่งลึกเขาไป 20
เมตร ตลอดความยาวโครงการ ถาเปนบริเวณที่เกิดการพังทลาย ใหเก็บขอมูลพรอมแสดงพิกัดตําแหนงสิ่งปลูก
สรางริมตลิ่งลึกเขาไป 50 เมตร การสํารวจใชกลองระดับอัตโนมัติ

การดําเนินงานสํารวจรูปตัดขวางลําน้ํา จะกําหนดแนวตลิ่ง แนวสํารวจ และกําหนดตําแหนงแนวรูป


ตัดขวางลําน้ําลงบนแผนที่ทไี่ ดจากการสํารวจรายละเอียดผังบริเวณ ทุกระยะประมาณ 25 เมตร โดยใหแนวรูป
ตัดขวางลําน้ําตั้งฉากกับแนวตลิ่ง

ข.2 งานเจาะสํารวจดินและวิเคราะหคุณสมบัติ
ข.2.1 งานเจาะสํารวจดินฐานรากโครงสราง

ในการออกแบบฐานรากสําหรับโครงสรางจําเปนตองทราบคุณสมบัติทางปฐพีกลศาสตรของชั้นดินที่
จะรับน้ําหนักโครงสราง จึงจําเปนตองมีการเจาะสํารวจดินลึก (Deep Boring) ในบริเวณที่จะทําการกอสราง
โครงสรางตางๆ การเจาะจะทําการเจาะโดยใชปนจั่นติดหัวเจาะชนิดหมุนดวยระบบ Hydraulic และปองกันดิน
พังโดยใชปลอกเหล็ก (Casing) ขนาดเสนผาศูนยกลาง 4 นิ้ว ในชั้นดินออน สําหรับในชั้นดินแข็งและชั้นทราย
จะปองกันดินพังโดยใชน้ําโคลน (Bentonite)
ข-5 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
ภาคผนวก ข การสํารวจในสนาม

การเก็บตัวอยาง จะเก็บตัวอยางดินทุก ๆ ระยะความลึก 1.50 เมตร หรือชัน้ ดินเปลี่ยนสภาพ


ตัวอยางที่เก็บในชั้นดินออนและดินแข็งปานกลางจะเก็บตัวอยางแบบคงสภาพ (Undisturbed Samples) โดยใช
กระบอกบาง (Thin-Walled Tube) ขนาดเสนผาศูนยกลาง 3 นิ้ว ยาว 60 เซนติเมตร ตอกลงไปทุก ๆ ความลึก
1.50 เมตร สําหรับในชั้นดินแข็งและชัน้ ทราย จะเก็บตัวอยางแบบเปลี่ยนสภาพ (Disturbed Samples) โดยใช
กระบอกผา (Split-Barrel Sampler) ขนาดเสนผาศูนยกลางภายนอก 2 นิ้ว เสนผาศูนยกลางภายใน 1 3/8 นิ้ว
ตอกลงไปทุกๆ ความลึก 1.50 เมตร สําหรับความลึกในการเจาะสํารวจจะพิจารณาจากการวัดความแข็ง
Penetration Test มากกวา 35 ครั้งตอฟุต

ข.2.2 การทดสอบในสนาม

การทดสอบในสนาม เปนการทดสอบเบื้องตน เพือ่ นําผลการทดสอบมาพิจารณาเปรียบเทียบ


คุณสมบัติทางปฐพีกลศาสตรของวัสดุ ซึ่งนับเปนการทดสอบขั้นตน การทดสอบในสนามที่จําเปนไดแก การ
ทดสอบความแข็งของดินฐานราก ซึง่ จะกระทําโดยการทดสอบการเจาะทะลวงมาตรฐาน Standard Penetration
Test (SPT) ซึ่งเปนวิธีหาคากําลังตานทานตอแรงเฉือนของดินที่ไมมีความเชื่อมแนน (Cohesionless Soil) เชน
จําพวกดินทราย กรวดหรือดินเหนียวแข็ง เปนวิธีการที่เหมาะกับการทดสอบในสนาม กําหนดโดยตอกกระบอก
เก็บตัวอยาง (Split – Barrel Sampler) ที่กนหลุมเจาะ ณ ระดับที่ตองการกระบอกเก็บตัวอยางมีขนาด
เสนผาศูนยกลางภายนอก 2 นิ้ว เสนผาศูนยกลางภายใน 1 3/8 นิ้ว หนัก 15 ปอนด ตอกดวยลูกตุมหนัก 140
ปอนด (63.5 กิโลกรัม) ยกใหมีระยะตอกหรือกระแทก 30 นิ้ว ปลอยลงอิสระ นับจํานวนครั้งที่ตอกจมลงไปชั้น
ดิน 6 นิ้ว (15 ซม.) 3 ชั้น ผลรวมของจํานวนครัง้ ที่ตอก (N) 2 ชั้น สุดทายที่ทําใหกระบอกเก็บตัวอยางจมลงไป
1 ฟุต (30 ซม.) คา N นี้เรียกวา Blow Count จะเปนคา Standard Penetration Test N-Value ที่แสดงความ
แข็งและความแนนของดินในแตละชั้น สภาพของดินทีห่ าไดโดยวิธีนี้ แสดงไวใน ตารางที่ ข.2-1

ตารางที่ ข.2-1 ลักษณะของดินตามเกณฑการทดสอบการเจาะแบบมาตรฐาน


N = จํานวนครั้ง / 30 ซม. (1 ฟุต) ลักษณะของทรายและดินตะกอน
0-4 หลวมมาก
5-10 หลวม
11-30 ปานกลาง
31-50 แนน
มากกวา 50 แนนมาก
N = จํานวนครั้ง / 30 ซม. (1 ฟุต) ความออนแข็งของดินเหนียว
0-1 ออนมาก
2-4 ออน
5-8 ปานกลาง
9-15 คอนขางแข็ง
16-30 แข็ง
มากกวา 30 แข็งมาก

ข-6 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
ภาคผนวก ข การสํารวจในสนาม

ข.2.4 การทดสอบในหองปฏิบัตกิ าร

เมื่อเก็บตัวอยางดินที่ไดจากการสํารวจในสนามแลว จะตองเก็บรักษาดินตัวอยางใหดี ถูกรบกวนนอย


ที่สุด สูญเสียความชื้นนอยทีส่ ุด ทางที่ดีไมควรใหเกิดการสูญเสียความชื้นและถูกกระทบกระเทือน ควรรักษาให
อยูในสภาพเดียวกับเมื่อเก็บตัวอยางเมื่อสงถึงหองปฏิบัติการ

การทดสอบในหองปฏิบัติการ เปนการทดสอบคุณสมบัติทางปฐพีกลศาสตรของดิน เพื่อจําแนก


ประเภทของดิน ความสามารถในการรับแรงตานทางแรงเฉือนของดิน เพือ่ ใชเปนขอมูลในการออกแบบ
โครงสรางเขื่อนปองกันตลิ่ง และเสถียรภาพของลาดตลิ่ง ประกอบดวยการทดสอบดังนี้

(1) การทดสอบหาปริมาณความชื้นของดินตามธรรมชาติ (Natural Moisture Content)


เปนวิธีการทดสอบโดยการหาปริมาณน้ําที่ผสมอยูในมวลดิน เปรียบเทียบกับน้ําหนักของดิน
แหงหลังจากผานการอบ วิธีการทดสอบคือ เมื่อเก็บตัวอยางจากสนามแลว ตองเก็บตัวอยางใสภาชนะชั่ง
น้ําหนักทันทีทไี่ ดตัวอยางมาทดสอบ แลวดําเนินการทดสอบตามวิธีของ AASHTO : T265-86 : Determination
of Moisture Content of Soils = ASTM D2216-71 (1980)

(2) การทดสอบหาคาหนวยน้ําหนักของดิน (Unit Weight)


เปนการหาคาความหนาแนนแหงของดินตามธรรมชาติ เพื่อตรวจสอบวาดินเดิมตามธรรมชาติมี
การอัดตัวอยางไร เปนขอมูลสําหรับใชพิจารณาหาความสามารถในการรับน้ําหนัก วิธีการทดสอบกระทําโดยตัดดิน
ตัวอยางจากกระบอกเก็บตัวอยางมาชั่งน้ําหนักและวัดหาขนาดดวย Vernier เพื่อหาปริมาตร นําน้ําหนักมาหารดวย
ปริมาตรจะเปนหนวยน้ําหนักเปยก หาปริมาณความชืน้ ไดแลวนํามาหาหนวยน้ําหนักแหง ซึง่ มีขนั้ ตอน ดังนี้
γw = W/V
Ww = W – W s
m = Ww x 100/Ws%
γd = γw / (1+m/100)

เมื่อ γw = ความหนาแนนเปยก
γd = ความหนาแนนแหง
V = ปริมาตรของดินตัวอยาง
W = น้ําหนักดินเปยก
Ww = น้ําหนักน้ําในดิน
Ws = น้ําหนักดินแหง
m = ปริมาณความชื้น คิดเปน %

(3) การทดสอบหาขนาดคละของเม็ดดิน (Grain Size Distribution)

ดําเนินการโดยนําตัวอยางดินแหงมารอนผานตะแกรงมาตรฐาน (U.S. Sieve) ขนาดตางๆ ตาม


วิธีของ AASHTO T27-84 : Analysis of Fine and Coarse Aggregates = ASTM 136-82
ข-7 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
ภาคผนวก ข การสํารวจในสนาม

เปนการทดสอบหาคาการกระจายของเม็ดดิน เพื่อตรวจสอบวาเปนดินประเภทใด คุณสมบัติที่


นํามาพิจารณาคือ ถาดินมีมวลละเอียดมาก จะเปนพวกดินเหนียวหรือดินตะกอน ถามีมวลหยาบมากจะเปน
พวกทรายหรือกรวด

(4) การทดสอบหาคาพิกัดความขนเหลว (Atterberg’s Limits) : ASTM D4318


เปนการหาปริมาณความชื้นที่ทําใหดินไหลและดินเหนียวตัว โดยนําดินตัวอยางมาหาปริมาณ
ความชื้นที่ดินผสมน้ําแลวดินไหลตัวเรียกขีดจํากัดความเหลว (Liquid Limit, L.L) โดยวิธี AASHTO T89-86 :
Determining the Liquid Limit of Soils และหาปริมาณความชื้นที่ดินผสมน้ําแลวเหนียวตัวปนเปนกอนไดพอดี
เรียกขีดความจํากัดความเหนียว (Plastic Limit, P.L) โดยวิธี AASHTO T90-86 : Determining the Plastic
Limit and Plasticity Index of Soil นําคา Liquid Limit ลบดวย Plastic Limit จะเปนคา Plasticity Index (P.I) :
P.I = L.L – P.L คา P.I จะเปนคาที่ใชแยกประเภทดินตามคุณสมบัติความเหนียว

(5) การทดสอบหา Unconfined Compressive Strength of Cohesive Soils


เปนการทดสอบหาคากําลังตานทานแรงเฉือนของดินที่มแี รงยึดเหนี่ยว ทดสอบโดยวิธีของ
AASHTO T208-70 (1984) : Unconfined Compressive Strength of Cohesive Soils = ASTM D2166-66
(1979) เปนวิธีที่สะดวกและรวดเร็ววิธีหนึง่ ในการทดสอบจะไมมีแรงมากระทําดานขาง มีแตแรงในแนวดิ่ง
เทานั้น การทดสอบเพื่อวัดน้ําหนักดําเนินการโดยใชมือหมุนไปดึงตัวสปริงทําใหเกิดแรงกดตอแทงดินตัวอยาง
โดยจะมีเข็มบันทึกหนวยแรงกดและการหดตัวของดิน ซึง่ สามารถเขียนออกมาเปนกราฟไดทันที การทดลอง
ควรใชกับดินเหนียวอิ่มตัว คาที่ไดจะเปนคา Qu ซึ่ง Su = Qu/2

ข.2.5 การจําแนกประเภทของดิน (Soil Classification)

ระบบการจําแนกประเภทของดินทางวิศวกรรมทีน่ ิยมใชอยูทั่วไปมี 2 ระบบ คือ

(1) ระบบของ AASHTO (American Association of State Highway and Transportation


Officials)
แบงดินออกเปน 7 กลุมใหญ ตั้งแต A-1 ถึง A-7 ตามความประสงคของการใชดินเปนดินคันทาง
(Subgrade) ของถนน หลักการคือใชการกระจายขนาดของเม็ดดินและคาสภาพความเหนียวเปนขอกําหนดใน
การจําแนกดินดังแสดงไวใน ตารางที่ ข.2-2

เมื่อทราบการกระจายขนาดของเม็ดดินและสภาพความเหนียว ก็นําคาไปตรวจสอบกับตาราง
โดยเริ่มจากทางซายของตาราง ดูวาขอมูลสอดคลองกับดินกลุมใดในตาราง สวนดิน A-3 แสดงไวทางซายของ
ดิน A-2 เปนการจัดไวตามระบบ ไมใชเพราะวามีความสามารถเปนดินคันทางดีกวา
ลักษณะของดินกลุมตางๆ ตาม AASHTO มีดังนี้
กลุม A-1 เปนกรวดและทรายหยาบ มีสวนละเอียดและสภาพพลาสติกต่ํา
กลุม A-3 เปนทรายละเอียดสะอาด
กลุม A-2 เปนดินเม็ดที่มีสวนละเอียดถึง 35%
กลุมยอย A-2-4 เปนกรวดหรือทรายที่ประกอบดวยสวนละเอียดมากและ
ข-8 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
ภาคผนวก ข การสํารวจในสนาม

และ A-2-5 มีสภาพพลาสติกสูงเกินกวาจะเปนกลุม A-1


กลุมยอย A-2-6 เปนดินที่มีความเปนพลาสติกสูงกวาและมีสวนละเอียด
และ A-2-7 แบบดินเหนียว
กลุมA-4 และ A-5 เปนดินตะกอน
กลุมA-6 และ A-7 เปนดินเหนียว

และในกลุมใหญยังแยกเปนกลุมยอย ตารางที่ ข.2-3 แสดงแผนภูมิดัชนีกลุม (Group Index


Chart) และตารางที่ ข.2-4 แสดงการพิจารณากลุม A-4, A-5, A-6 และ A-7 จากขีดกําจัดความเปนของเหลว
(Liquid Limit) และดัชนีความเหนียว (Plasticity Index)

(2) ระบบ Unified Soil Classification

ใชในงานวิศวกรรมโดยทั่วไป และพิมพเปนมาตรฐานของ ASTM D2487 โดยจะกําหนดอักษร 2


ตัว โดยอักษรตัวแรกหมายถึง สวนประกอบหลักในดินนัน้ และตัวอักษรหลังจะหมายถึง สวนประกอบที่ขยาย
ความใหอักษรตัวแรก
สัญลักษณ คําอธิบาย
G กรวด (Gravel)
S ทราย (Sand)
อักษรตัวแรก ดินตะกอน
M (Silt)
ดินเหนียว
C (Clay)
ดินอินทรีย
O ดินพีต (Organic)
Pt (Peat)
W สวนคละดี (Well-graded)
P สวนคละไมดี (Poorly graded)
อักษรตัวที่สอง ตะกอนละเอียด
M (Silty fines)
ดินเหนียวละเอียด
C สภาพพลาสติกสูง (Clayey fines)
H สภาพพลาสติกต่ํา (High Plasticity)
L (Low Plasticity)

การจําแนกดินตามระบบนี้ จะแบงดินออกเปน 3 กลุมใหญ คือ

1) ดินเม็ดหยาบ (Coarse-Grained Soils) ไดแก กรวด (G) และทราย (S) โดยมีอักษรตัวที่


สองบงบอกขนาดคละ (W,P) หรือบงบอกความละเอียด (M,C)
2) ดินเม็ดละเอียด (Fine-grained Soils) ไดแก ดินตะกอน (M) ดินเหนียว (C) และดิน
อินทรีย (O) โดยมีอักษรตัวที่สองบงบอกสภาพความเหนียว (H,L)
3) ดินพีต (Peaty Soils) ซึ่งประกอบดวยสารอินทรีย (Pt) เปนสวนใหญ

ข-9 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
ภาคผนวก ข การสํารวจในสนาม

ตารางที่ ข.2-2 ประเภทของดินจําแนกตามขนาดองอนุภาค

ข-10 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
ภาคผนวก ข การสํารวจในสนาม
ตารางที่ ข.2-4 คุณสมบัตขิ องดินและการแยกประเภทดินตาม Unified Soil Classification System (ASTM Designation D-2487)

ข-11 กรมโยธาธิการและผังเมือง
PCB TECHNOLOGY CO., LTD.
SUMMARY OF TEST RESULTS
PROJECT โครงการฯเขื่อนปองกันตลิ่งราคาประหยัดสําหรับลําน้ําขนาดเล็กทั่วประเทศ BORING NO. C-YS-1 TESTED BY สุรินทร DATE 11 พฤศจิกายน 2549
LOCATION คลองยี่สาร บ.ยี่สาร ต.ยี่สาร อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม TOTAL DEPTH 20.00 M. CHECKED BY สิทธิชัย DATE 15 พฤศจิกายน 2549
SAMPLE DEPTH (M) Wn ATTERBERG LIMITS (%) GRADATION (% PASSING) SOIL TYPE γt SPT-N
Friction Angle
NO. FROM TO % LL. PL. PI. NO.4 NO.10 NO.40 NO.100 NO.200 (USCS) (t/m3) (blow/ft) qu(t/m2) (degree) C(t/m2)
SS-1 1.50 2.00 - No Recovery 2 1
SS-2 3.00 3.45 79.01 CH 1.40 3 2
SS-3 4.50 4.95 83.46 91.50 31.67 59.83 100.00 98.16 96.25 94.01 91.67 CH 1.39 2 1
SS-4 6.00 6.45 71.40 CH 1.41 3 2
SS-5 7.50 7.95 68.22 80.70 29.84 50.86 100.00 99.31 98.29 96.43 93.08 CH 1.46 3 2
SS-6 9.00 9.45 60.01 CH 1.70 4 2
SS-7 10.50 10.95 24.68 48.00 26.73 21.27 100.00 99.10 97.98 95.66 92.31 CL 2.11 24 25 12
SS-8 12.00 12.45 20.23 CL 2.13 50/11" 52 26

ข-12
SS-9 13.50 13.95 23.01 43.70 24.05 19.65 99.46 97.26 95.41 91.59 89.42 CL 2.14 50/8" 52 26
SS-10 15.00 15.45 24.14 SM 1.96 50/7" 39
SS-11 16.50 16.95 18.69 NP NP - 95.08 86.44 46.08 27.65 19.56 SM 1.97 50/8" 39
SS-12 18.00 18.45 16.54 CL 2.14 50/7" 52 26
SS-13 19.50 20.00 19.00 43.00 25.20 17.80 96.94 94.84 91.65 89.23 86.20 CL 2.15 50/8" 52 26
แสดงตัวอยาง Summary of test และ Log of boring ดังรูปที่ ข.2-5 ถึง ข.2-6 ตามลําดับ

กรมโยธาธิการและผังเมือง
ภาคผนวก ข การสํารวจในสนาม
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก

รูปที่ ข.2-5 Summary of test


คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
ภาคผนวก ข การสํารวจในสนาม

PCB TECHNOLOGY CO.,LTD.

BORING LOG BORING NO : C-YS-1 ELEV. (m) :


PROJECT : เขื่อนปองกันตลิ่งราคาประหยัดสําหรับลําน้ําขนาดเล็กทั่วประเทศ DEPTH (m) : 20.00 GWL. (m) : -0.10
LOCATION : คลองยี่สาร บ.ยี่สาร ต.ยี่สาร อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม COORD. N : DATE STARTED : 31/10/2549
E : DATE FINISHED : 31/10/2549

RECOVERY (cm)
GRAPHIC LOG

SAMPLE NO.
Q

DEPTH (m)
Wn TOTAL

METHOD
SOIL DESCRIPTION SPT-N VALUE PL UC UNIT
(blows/ft) LL FVT WEIGHT
(%) (t/sq.m) (t/cu.m)
10 20 30 40 20 40 60 80 1 2 3 4 1.6 1.8 2.0

0.00 - 10.00 m. Fat Clay. (CH); 1


About 92-93% fines with high plasticity;
stiff; about 7-8% fine sand; gray; moist. 2 SS 40
WO
3 WO
SS 40
4 WO
WO
5 SS 40
WO
6 WO
SS 40
7 WO
WO
8 SS 40
WO
9 WO
SS 40
10 WO
10.00 - 14.50 m. Lean Clay. (CL); WO
About 89-92% fines with low plasticity; 11 SS 40 24

very stiff to hard; about 8-11% fine sand; WO


brown; moist. 12 WO
50/
SS 40 11"
13 WO
WO
50/
14 SS 40 8"
WO
14.50 - 17.50 m. Silty Sand. (SM); 15 WO 50/
About 75% fine sand; dense to SS 40 7"

very dense; about 20% fines with 16 WO


non-plasticity; about 5% gravel; WO
50/
brown; moist. 17 SS 40 8"
WO
17.50 - 20.00 m. Lean Clay. (CL); 18 WO
SS 40 50/
About 86% fines with low plasticity; 7"
very stiff to hard; about 11% fine sand; 19 WO
about 3% gravel; brown; moist. WO 50/
20 SS 40 8"

END OF HOLE AT 20.00 M.

PA = POWER AUGERING HA = HAND AUGERING WO = WASH OUT ST = SHELBY TUBE SS = SPLIT SPOON

PARTY CHIEF: TS MADE BY: SB GEOLOGIST: SB FILE : boring 1 DISK: PECHABUL

รูปที่ ข.2-6 Log of boring

ข-13 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
ภาคผนวก ข การสํารวจในสนาม

ข.2.6 การเก็บตัวอยางและทดสอบตะกอนทองน้ํา

การเก็บตัวอยางตะกอนทองน้ํามีวัตถุประสงคเพื่อนําไปวิเคราะหความลึกของการกัดเซาะบริเวณ
Toe Slope โดยจะเก็บตัวอยางจํานวน 2 จุด ทั้ง 2 ฝงๆละ 1 จุด และทดสอบหาขนาดคละของดินตะกอนดวยวิธี
Sieve Analysis

ข.3 การสํารวจดานชลศาสตร

การสํารวจดานชลศาสตรมีวัตถุประสงคเพื่อใชในการวิเคราะหชนิดและความหนาของวัสดุที่นํามาใช
ในการปองกันการกัดเซาะบริเวณลาดตลิ่ง ซึ่งการสํารวจประกอบ ไดแก การสํารวจความเร็วของกระแสน้ํา ดัง
รายละเอียดการสํารวจตอไปนี้

ข.3.1 การสํารวจความเร็วกระแสน้ํา

ควรทําการสํารวจที่ระดับน้ําตางๆ กัน เพือ่ ใหไดคาความเร็วสูงสุด โดยวิธีการที่แนะนํามีดวยกัน 4 วิธี


ดังนี้

ก. สถานีวัดน้ําทาของหนวยงานตางๆ

สถานีวัดน้ําทาที่นํามาใชงาน จะตองทําการวัดขอมูลของลําน้ําสายเดียวกันกับที่กําลังพิจารณา
โดยหนวยงานที่ทําการวัดน้ําทาในประเทศไทย ไดแก กรมชลประทาน กรมทรัพยากรน้ํา กรมอุตนุ ิยมวิทยา
กรมอุทกศาสตรกองทัพเรือ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย การทาเรือแหงประเทศไทย กรมอุทยาน
แหงชาติสัตวปาและพันธุพืช และ กรมขนสงทางน้ําและพาณิชยนาวี โดยขอมูลทีท่ ําการวัดและความถี่ในการ
เก็บบันทึก จะขึ้นอยูกับวัตถุประสงคในการนําไปใชงานของแตละหนวยงาน ซึ่งจะประกอบดวย คาความเร็ว คา
ระดับน้ํา คาอัตราการไหล ปริมาณตะกอนแขวนลอย และหนาตัดลําน้ําที่ตําแหนงสถานีวัด

โดยวิธีนี้จะมีความสะดวกอยางยิ่งหากมีขอมูลบันทึกคาความเร็วภายในลําน้ําของโครงการ ซึ่งอาจ
รวบรวมไดจากสถานีวัดน้ําขางเคียงหรือหนวยงานอื่นที่ทาํ การศึกษาเกี่ยวกับลําน้ํา หากแตสถานีวัดน้ํามักจะติด
ตั้งอยูในลําน้ําสายหลัก จึงทําใหหาขอมูลไดยาก

ข. เครื่องมือวัด

ในปจจุบัน เครื่องมือวัดความเร็วกระแสน้าํ มีความทันสมัยและหลากหลายชนิด เพื่อสะดวก


รวดเร็วในการใชงานและเหมาะสมกับลักษณะของกระแสน้ําในลําน้ํา ตัวอยางเครื่องมือวัด อาทิ Current-Meter
เปนตน วิธีนี้อาจไมสะดวกนัก เพราะตองใชเครื่องมือวัดความเร็ว ซึ่งอาจยืมมาจากหนวยงานอืน่ และตอง
ดําเนินการโดยชางเทคนิคที่มที ักษะทางดานปฏิบัติและทฤษฎีการคํานวณ

ข-14 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
ภาคผนวก ข การสํารวจในสนาม

ค. การวัดในสนามอยางงาย

โดยใชทุนลอยหรือทอนไมใหลอยตามน้ํา (ดังรูปที่ ข.3-1) ทําการจับเวลาการลอยน้ําผาน


ระยะทางที่กําหนดไว จากนัน้ คํานวณดวยสูตร

รูปที่ ข.3-1 การใชทุนลอยวัดความเร็วที่ผิวน้ํา (หนา) วัดความเร็วโดยเฉลี่ย


ของกระแสน้ํา (กลางและหลัง)

วิธีนี้สามารถกระทําไดโดยไมยุงยากนัก สิ่งที่ตองคํานึงถึง คือ ตองกระทําในชวงน้ําหลากหรือน้ําเต็ม


ตลิ่ง และควรวัดคาซ้ําหลายรอบแลวนําคามาเฉลี่ย เพื่อใหไดคาที่มีความมั่นใจยิ่งขึ้น

ง. การคํานวณโดยใชสูตร จากลักษณะของลําน้ํา

โดยใชสูตรการคํานวณความเร็วการไหลของน้ําของแมนนิง (Manning’s Equation) ซึ่งเปนที่นิยม


กันโดยทั่วไป ดังนี้

เมื่อ คือ ความเร็วกระแสน้ํา, หนวยเปนเมตรตอวินาที


คือ รัศมีทางชลศาสตร
คือ ความลาดชันทองน้ํา
คือ สัมประสิทธิ์ความหยาบผิวของแมนนิง

ข-15 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
ภาคผนวก ข การสํารวจในสนาม

คารัศมีชลศาสตร หรือ คํานวณไดจากสูตรตอไปนี้

ในที่นี้ หนาตัดลําน้ําและเสนขอบเปยกจะคิดจากผิวน้ําลงไปถึงทองน้ํา และเสนขอบเปยกหมายถึง


ความยาวพื้นผิวหนาตัดที่สัมผัสกับน้ํา ดังเสนทึบในรูปที่ ข.3-2

พื้นที่หนาตัดลําน้ํา

เสนขอบเปยก

รูปที่ ข.3-2 แสดงการหาพื้นที่หนาตัดลําน้ําและเสนขอบเปยกในการคํานวณคารัศมีชลศาสตร

เพื่อการคํานวณที่รวดเร็วขึ้น นิยมประมาณหนาตัดลําน้ําเปนสี่เหลี่ยมคางหมู การสํารวจหนาตัดลําน้ํา


จึงวัดเพียงความลึกเฉลี่ยและความกวางระหวางตลิ่งทั้งสองฝง สมมติคาความลาดชันดานขางเปน 1:2 (ลึก:
กวาง) ดังนั้น คารัศมีทางชลศาสตรคํานวณไดอยางงาย ดังนี้

เมื่อ คือ ความลึกน้ําเฉลี่ย, หนวยเมตร


คือ ความกวางระหวางตลิ่งทั้งสองฝง, หนวยเมตร

ข-16 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
ภาคผนวก ข การสํารวจในสนาม

คาความลาดชันทองน้ํา หรือ หาไดจากการสํารวจทองน้ําเปนระยะๆ จากนั้นคํานวณไดจาก

คา แนะนําใหใชตามชนิดของวัสดุทองน้ํา ดังนี้

ชนิดของวัสดุทองน้ํา คา
หิน 0.05
กรวด 0.04
ทรายหยาบ 0.03
ดินเหนียว/ดินปน 0.025

วิธีนี้สะดวกอยางยิ่งและเปนทีย่ อมรับกันโดยทั่วไป เพราะเปนการประเมินคาความเร็วจากลักษณะ


ทางกายภาพของลําน้ําที่ไดสํารวจในสนาม ไดแก คาความลาดชันตามแนวยาวลําน้ํา การประเมินคาสัมประสิทธิ์
ความหยาบผิวของแมนนิง (n’s Manning) และรูปตัดขวางลําน้ํา

ข-17 กรมโยธาธิการและผังเมือง
ภาคผนวก ค
ตัวอยางการใชงานโปรแกรมวิเคราะหดานชลศาสตร
เพื่อคัดเลือกรูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่ง
ภาคผนวก ค
ตัวอยางการใชงานโปรแกรมวิเคราะหดา นชลศาสตร
เพื่อคัดเลือกรูปแบบเขื่อนปองกันตลิ่ง
ขั้นตอนการใชงาน

โปรแกรมถูกออกแบบดวย Spread Sheet จากโปรแกรม Microsoft Excel ซึ่งตองเปนเวอรชันต่ําสุดที่


ผูใชตองติดตั้งเพื่อเปดแฟมโปรแกรมนี้ ภายใน Work Sheet ประกอบดวย 7 Sheet ยอย ดังแสดงในรูปที่ ค-1
นี้

1 2 3
4 5 6 7

รูปที่ ค-1 Spread Sheet ภายในโปรแกรมสําหรับการออกแบบเขื่อน

ในแตละ Sheet ออกแบบใหมีหนาที่ดังนี้


1. “สรุปผลการคํานวณ” : แสดงรูปแบบเขื่อนตางๆ พรอมทั้งผลการคํานวณที่เกี่ยวของจาก Sheet
คํานวณทั้ง 5 ถัดไป ลงในเขื่อนแตละรูปแบบ
2. “1_ปอนขอมูลพื้นฐาน” : ใหผูใชกรอกขอมูลทั่วไปของเขื่อนออกแบบและสภาพลําน้ําเดิม เพื่อใช
วิเคราะหตอไป
3. “2_คํานวณความเร็วการไหลน้ํา : สําหรับประเมินคาความเร็วการไหลสูงสุดเฉลี่ยในลําน้ํา
4. “3_คํานวณขนาดหินเรียงหรือหินทิ้ง” : สําหรับการออกแบบเขื่อนประเภทหินเรียงหรือหินทิ้ง
ไดแก เขื่อนประเภทที่ 6 7 และ 8
5. “4_หาขนาด Gabion หรือ Mattress” : สําหรับออกแบบเขื่อนประเภท Gabion หรือ Mattress
ไดแก เขื่อนประเภทที่ 4 5 9 และ 10
6. “5_คํานวณ Toe Scouring” : สําหรับคาดการณความลึกกัดเซาะสูงสุดในบริเวณ Toe ของเขื่อน
หากไมมีการปองกัน และ
7. “อื่นๆ” : มีรูปกราฟสําหรับการพล็อตขนาดคละของตะกอนดินจากการทดสอบ Seive Analysis

ในการใชงาน ผูใชสามารถเติมขอมูลในชองวาง เทานั้น (สวนอื่นจะถูกปองกันการแกไข)


Password สําหรับการแกไขคือ “1234” การเลือกหรือการเติมตัวเลขจะมีขอความแนะนําอยู เชน 1:เลือก
หมายถึง หากเลือกขอความขางตน ใหกรอกตัวเลข 1 และการปลอยชองวางไวแสดงวาไมเลือก ขอใหดูตัวอยาง
การใสขอมูลของลําน้ําแหง ดังนี้
ค-1 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
ภาคผนวก ค ตัวอยางการใชงานโปรแกรมวิเคราะหดานชลศาสตรฯ

รูปที่ ค-2 Sheet “1_ปอนขอมูลพื้นฐาน”

ค-2 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
ภาคผนวก ค ตัวอยางการใชงานโปรแกรมวิเคราะหดานชลศาสตรฯ

การคํานวณคาความเร็วการไหลน้ํา ภายหลังมีเขื่อนปองกันตลิ่ง

ชองเติมขอมูล

1 คํา นวณคา ความเร็วการไหล จากสูต รของแมนนิง, V 3.54 เมตร/วินาที


ขนาดพืน ้ ที่หนาตัดลําน้ํา, A 114.00 ตารางเมตร
ความยาวของเสนขอบเปยก, P 29.62 เมตร
คารัศมีทางชลศาสตร, R 3.85 เมตร

2 การประเมินคา สัม ประสิทธิ์ค วามหยาบผิวของแมนนิง


จากสูตร n = m(nbase+n1+n2+n3+n4) = 0.047

หาคา nbase จากสูตร


(1) หากคาความลาดชันทองน้ํา (Sf) > 0.002 และ D50>0.006 ม.
ใหใช nbase = 0.3225 S0.38R - 0.16 สําหรับลําน้ํา พบวา Sf < 0.002 หรือ D50<0.06

ในที่นี้ R คือ คารัศมีชลศาสตร หนวยเมตร

(2) ประเมิน nbase จากวัสดุทองน้ําและตลิ่ง


1 : เลือก
ดิน (Earth)
หินตัด (Rock Cut)
0.024
กรวดละเอียด (Fine Gravel) 1
กรวดหยาบ (Coase Gravel)

หาคา n1, n2, n3, n4 และ m จากตารางดานลาง โดยใสเลข 1 ในชองที่เลือก


1 : เลือก
เรียบ (Smooth)
ความไมสม่ําเสมอของพืน
้ ผิวหนาตัด
เล็กนอย (Minor) 1
ลําน้ําตามแนวขวาง (Degree of 0.005
ปานกลาง (Moderate)
Irregularity), n1
มาก (Severe)
ความเปลี่ยนแปลงของรูปตัดตามยาว คงที่ (Gradual) 1
ลําน้ํา (Variations of Channel เล็กนอย (Alternating Occasionally) 0.000
Cross Section), n2 หลากหลาย (Alternating Frequently)
ไมมี (Negligible) 1
อาคารหรือสิ่งกีดขวาง (Relative เล็กนอย (Minor)
0.000
Effect of Obstructions), n3 มาก (Appreciable)
รุนแรง (Severe)
นอย (Low)
พืชปกคลุมเขื่อนปองกันตลิ่ง ปานกลาง (Medium) 1
0.018
(Vegetation), n4 สูง (High)
สูงมาก (Very High)
บางเล็กนอย (Minor) 1
ความโคงตามยาวลําน้ํา (Degree of
มาก (Appreciable) 1.000
Meandering), m
รุนแรง (Severe)

รูปที่ ค-3 Sheet “2_คํานวณความเร็วการไหลน้ํา”

ค-3 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
ภาคผนวก ค ตัวอยางการใชงานโปรแกรมวิเคราะหดานชลศาสตรฯ

การคํานวณขนาดหินเรียงหินทิ้ง

ชองเติมขอมูล

1 คํ านวณขนาดคละกลางของหินเรียงหรือ หินทิ้ง (Rip Rap Size), D50

3 0.5 1.5
จากสูตร D50=0.00594 C.V / (d K1 ) = 0.144 เมตร

เมื่อ C คือ แฟกเตอรปรับคาในหัวขอ 2


V คือ ความเร็วเฉลี่ยการไหลของน้ํา = 3.54 เมตรตอวินาที
d คือ ความลึกน้ําเฉลี่ย = 6 เมตร
2 2 0.5
K1 = [1-(sin θ/sin Ф)] = 0.824
θ มุมความลาดชันของตลิ่งเขื่อนปองกันกระทําตามแนวราบ (จากการวิเคราะหเสถียรภาพความมั่นคงของลาดตลิ่ง)

21.8 องศา
θ

Ф มุมการวางตัวของหินเรียงหรือหินทิ้งกระทําตามแนวราบ หาคาไดจากกราฟความสัมพันธระหวางรูปรางของหิน
และขนาดคละกลาง ตามรูปดานลาง

เมื่อ Crushed Ledge Rock คือ หินแตกหรือหินหัก จากการทุบหรือบด


Very Angular คือ หินที่มีลักษณะมีมุมมาก หรือ มุมคอนขางแหลม
Very Rounded คือ หินที่มีรูปรางคอนขางกลม

ลักษณะของหินทิ้งโดยทั่วไป จะเปน Crushed Large Rock สวนหินที่มีการคัดรูปรางแลว จะเปน


แบบ Very Angular และดีข้น ึ อีกเปน Very Rounded ตามลําดับ
ซึ่งมุม Ф ของหินทิ้ง (แบบ Crushed Ledge Rock) จะมีคาเทากับ 41 องศา

ดังนั้น คามุม Ф มีคาเทากับ (มีคาระหวาง 33-42 องศา) 41 องศา

รูปที่ ค-4 Sheet “3_คํานวณขนาดหินเรียงหรือหินทิ้ง”

ค-4 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
ภาคผนวก ค ตัวอยางการใชงานโปรแกรมวิเคราะหดานชลศาสตรฯ

2 การคูณ คาแฟกเตอร
(1) แฟกเตอรตัวคูณคาเสถียรภาพความมั่นคง เนื่องจากสภาพการไหลและลําน้ํา, SF (จากสูตร D50 ใชคา 1.2)
สภาพการไหลและลําน้ํา คา SF แนะนํา 1.00
(ก) การไหลของน้ําเปนแบบราบเรียบ ลําน้ําเปนชวงตรงหรือโคงเล็กนอย (รัศมีความโคง/
ความกวางลําน้ํา มีคา >30) ไมมีคลื่นมากระทบ อิทธิพลอื่นๆ ที่อาจจะเกี่ยวของมีนอยหรือไมมี 1.2 1.20
อีก
(ข) การไหลมลกษณะเปลยนแปลงแบบคอยเปนคอยไป โคงลานาปานกลาง (รศมความ
โคง/ความกวางลําน้ํา มีคาระหวาง 10-30) มีคลื่น(รวมถึงจากการเดินเรือ) มากระทบบางปาน 1.3-1.6
กลาง
(ค) การไหลมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว มุมโคงลําน้ํานอยมาก (รัศมีความโคง/ความ
กวางลําน้ํา มีคา <10) มีคลื่น(รวมถึงคลื่นจากการเดินเรือ) มากระทบตลอดเวลา (ความสูงคลื่น 1.6-2.0
ประมาณ 0.30-0.61 ม.) การไหลมีความปนปวน มีน้ํากวนจากการไหลผานอาคารกีดขวาง มี
อิทธิพลอื่นๆ ที่อาจจะเกี่ยวของกับความมั่นคงอีก

(2) แฟกเตอรตัวคูณ เนื่องจากคาความถวงจําเพาะของหินเรียงหินทิ้งมีคาไมเทากับ 2.65, Css 1.00


คาความถวงจําเพาะของหินเรียงหินทิ้งที่ใช 2.65

(3) แฟกเตอรตัวคูณ เนื่องจากการไหลกวน เมื่อมีสะพานหรือสิ่งกีดขวางทางน้ํา, Cp/a 1.00


1: มี

3 การคัด เลือกขนาดคละหินเรียงหินทิ้ง

ตารางแสดงตัวอยางขนาดคละของหินเรียงหินทิ้งในแตละ class
Rock Rock Percent คัดเลือก
Riprap Size
1
Size
2
of Riprap NO.
NO.
Class Smaller
(m) (kg) 1
Than
(1) (2) (3) (4) (5) Riprap Rock Size
0.4 91 100 Class (m)
1 Facing 0.29 34 50 D100 0.4
0.12 2.3 10 Facing D50 0.29
0.55 227 100 D10 0.12
2 Light 0.4 91 50
0.12 2.3 10
0.68 454 100
0.23
3 0.55 227 50
Metric Ton
0.29 34 10
0.87 907 100
0.45
4 0.68 454 50
Metric Ton
0.55 227 5
1.1 1814 100
0.91
5 0.87 907 50
Metric Ton
0.68 454 5
1.37 3629 100
1.81
6 1.1 1814 50
Metric Ton
0.87 907 5
1
Assuming a specific gravity of 2.65.
2
Based on AASHTO specifications for Highway Bridges
หมายเหตุ : สามารถปรับขนาดหินของตารางในคอลัมภ (1) (2) และ (3)
เพื่อดึงมาคํานวณในหัวขอ 4 และ 5 ตอไปได
4 ความหนาชั้นหินเรียงหินทิ้ง (Riprap Thickness Layer) ควรมีคาไมนอยกวา
1. >1.5D50 0.435 เมตร
2. >D100 0.4 เมตร
3. >0.3 เมตร 0.3 เมตร
4. คาความหนาในขอ 1-3 ควรเพิ่มอีก 50% หากวางหินทิ้งใตน้ําที่มีความไมแนนอนของคาพารามิเตอรอื่นร ไมมี (มี หรือ ไมมี)
5. คาความหนาควรเพิ่มอีก 150-300 มม.เมื่อเขื่อนปองกันตลิ่งไดรับแรงกระทําจากคลื่นและวัสดุลอยน้ํา ไมมี (มี หรือ ไมมี)
หมายเหตุ
กรณีเขื่อนหินทิ้ง การคํานวณคาความหนาในขอ 4 คิดวามีคาพารามิเตอรอ่น
ื ที่ไมแนนอนรวมอยูดวย และตองมีความหนาไมนอยกวา 1 เมตร

สรุปไดวา คาคํานวณความหนาในกรณีเขื่อนหินเรียง มีคาไมนอยกวา 0.44 เมตร


สรุปไดวา คาคํานวณความหนาในกรณีเขื่อนหินทิ้ง มีคาไมนอยกวา 0.65 เมตร

รูปที่ ค-4 (ตอ) Sheet “3_คํานวณขนาดหินเรียงหรือหินทิ้ง”


ค-5 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
ภาคผนวก ค ตัวอยางการใชงานโปรแกรมวิเคราะหดานชลศาสตรฯ

5 ความหนาของชั้นหินทิ้งบริเวณ Toe เพื่อปองกันการกัดเซาะจาก Toe Scouring


-0.11
จากสูตร dtoe = 2D50 = 2.29 เมตร

6 การคํา นวณชั้นหินรองพื้น สํา หรับ เขื่อนรูป แบบที่ 6

กรณีท่ช
ี ้น
ั ดินตลิ่งมีขนาดคละ D15<0.0004 ม. หรือ คํานวณชั้นหินรองพื้นมากกวา 2 ชั้น จึงไมเหมาะสมใชช้น
ั หินรองพื้น
แนะนําใหใชแผนใยสังเคราะห (หรือ Geotextile) มาใชรองพื้นไดเชนกัน

ตารางแนะนําขนาดคละหินรองพื้น (ใชเหมือนหินเรียงหินทิ้ง)
ชวงขนาดหิน ชวงน้ําหนัก หิน รอยละขนาดคละ
เมตร กิโลกรัม มีคานอยกวา
1.5 D50 ถึง 1.7 D50 3.0 W50 ถึง 5.0 W50 100
1.2 D50 ถึง 1.4 D50 2.0 W50 ถึง 2.75 W50 85 ในที่น้ี
1.0 D50 ถึง 1.4 D50 1.0 W50 ถึง 1.5 W50 50 D คือ ขนาดคละของหิน หนวยเมตร
0.4 D50 ถึง 0.6 D50 0.1 W50 ถึง 0.2 W50 15 W คือ น้ําหนัก หนวยกิโลกรัม

ตรวจสอบความจําเปนตองมีช้น
ั หินรองพื้นจากเกณฑ

D15(ชั้นหินทิ้ง) D15(ชั้นหินทิ้ง)
<5< < 40
D85(ชั้นดินตลิ่ง) D15(ชั้นดินตลิ่ง)

#DIV/0! #DIV/0! และ #DIV/0! #DIV/0! #DIV/0! #DIV/0!

Material Gradation Graph


100 ชั้นหินเรียง
95
90
85 ชั้นที่ 21
80
Percent Finer by Weight (%)

75
70
65
60
55
50
45
40
35
30
25
20
15
10
5
0
0.1 1 10
ขนาดเม็ดดิน (ม.)

หินรองพื้น ชั้นที่ 1 หินรองพื้น ชั้นที่ 2


ขนาดคละ ขนาดคละ
D85 - D85 -
D50 D50
D15 - D15 -

D15(ชั้นหินทิ้ง) = #VALUE! #VALUE! D15(ชั้นหินขนาดใหญ) = #VALUE! #VALUE!


D85(ชั้นหินรองพื้น) D85(ชั้นหินรองพื้น)

D15(ชั้นหินทิ้ง) = #VALUE! #VALUE! D15(ชั้นหินขนาดใหญ) = #VALUE! #VALUE!


D15(ชั้นหินรองพื้น) D15(ชั้นหินรองพื้น)

หมายเหตุ
ความหนาชั้นหินรองพื้น หากใชเพียงชั้นเดียว 0.15-0.38 เมตร
ความหนาชั้นหินรองพื้น หากใชช้น
ั หินหลายชั้น 0.10-0.20 เมตร

รูปที่ ค-4 (ตอ) Sheet “3_คํานวณขนาดหินเรียงหรือหินทิ้ง”

ค-6 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
ภาคผนวก ค ตัวอยางการใชงานโปรแกรมวิเคราะหดานชลศาสตรฯ

การคํานวณขนาดกลอง Gabion และ Mattress

ชองเติมขอมูล

1 ตารางแนะนํา การออกแบบ

ความเร็วสูง สุด ไมเกิน ความหนาต่ํา สุด ของ


ชนิดของดินบริเวณตลิ่ง Mattress ที่ตองการ
(ม./วินาที) (มม.)
3.048 0.23
ดินเหนียว, ดินที่มีแรงยึด
4.877 0.30
เหนี่ยวมาก
อื่นๆ > 0.46
ดินปน, ทรายละเอียด 3.048 0.30
4.877 0.23
กรวด 6.096 0.30
อื่นๆ > 0.46

จากขอมูลพืน
้ ฐานประกอบ
(1) ความลาดตลิ่งของเขื่อนปองกันตลิ่งออกแบบ (แนวนอน : แนวตั้ง) 2.5 :1
(2) ชนิดของดินบริเวณตลิ่งของลําน้ํา ดินเหนียว, ดินที่มีแรงยึดเหนี่ยวมาก
(3) ความเร็วการไหลของน้ํา 3.54 เมตรตอวินาที

คัดเลือกความหนาต่ําสุด ของกลอง Gabion หรือ Mattress ตามตารางขา งตนตามเงื่อนไข 0.3 เมตร


คัดเลือกความหนาของกลองจากตารางในขอ 2
หรือตามขนาดที่โรงงานผลิต

2 ตัวอยา งขนาดของกลอง Gabion และ Mattress ที่มีผ ลิตภายในประเทศ


หมายเลข
ขนาดกลอง Gabion ที่คัด เลือก กรณีท่ไี มระบุ จะใชขนาดตามหมายเหตุ (2)
ขนาดกลอง Mattress ที่คัด เลือก กรณีไมระบุ จะใชขนาดตามหมายเหตุ (2)

ขนาดกลอง Gabion ขนาดกลอง Mattress


ความหนา ความกวา ง ความยาว ความหนา ความกวา ง ความยาว
(ม.) (ม.) (ม.) (ม.) (ม.) (ม.)
1 0.5 1 1 14 0.3 1 1
2 0.5 1 2 15 0.3 1 2
3 0.5 1 3 16 0.3 1 3
4 0.5 1 4 17 0.3 2 3
5 0.5 2 3 18 0.3 2 4
6 0.5 2 4 19 0.3 2 6
7 1 1 1
8 1 1 1.5
9 1 1 2
10 1 1 3
11 1 1 4
12 1 2 3
13 1 2 4
ในที่นี้ ความหนา หมายถึง ความสูงของกลอง

หมายเหตุ
(1) ขนาดของกลอง Gabion ที่ความหนาต่ํากวา 0.31 เมตร ไมแนะนําใหใช
(2) ขนาดทั่วไปของกลอง Gabion และ Mattress ในกรณีท่วี ิศวกรไมไดระบุ (ก x ย x ส)
Gabion 1x2x0.5 เมตร
Mattress 2x6x0.3 เมตร

รูปที่ ค-5 Sheet “4_หาขนาด Gabion หรือ Mattress”

ค-7 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
ภาคผนวก ค ตัวอยางการใชงานโปรแกรมวิเคราะหดานชลศาสตรฯ

การวิเคราะหระยะขอบ และ การคํานวณความลึกของ Toe Protection

1 ระยะขอบตามยาวลํา น้ํา
ขอบเขตความยาวของเขื่อนปองกันตลิ่ง ระยะทางขั้นต่ําที่แนะนํา จากตําแหนงกัดเซาะที่ตองการสรางเขื่อนใหมีขอบเขตดานเหนือน้ําขึ้นไป
เปนระยะทาง 1 เทาของความกวางหนาตัดลําน้ํา และลงไปดานทายน้ํามีระยะทาง 1.5 เทาของความกวางหนาตัดลําน้ํา ดังแสดงในรูป ที่ 1

สําหรับลําน้ําตรง ตําแหนงกัดเซาะจะเปนตัวบอกขอบเขตของเขื่อนปองกันตลิ่งได แตอยางนอยควรมีระยะขอบออกไปอีก 1 เทา


ของความกวางลําน้ํา สวนลําน้ําโคง ทางดานเหนือน้ําอาจใชตําแหนงกัดเซาะเปนจุดบอกขอบเขตไดและเชนเดียวกันตองมีระยะขอบออกไป
อยางนอย 1 เทาของความกวางลําน้ํา ทางดานทายน้ํา การกําหนดระยะขอบเปนไปคอนขางยาก ขึ้นอยูกับการกัดเซาะจะดําเนินตอไปอีกเทาใด
ตองพิจารณาเสนทางการไหลในลําน้ําโคงนั้นดวย อิทธิพลของโครงสรางในลําน้ําที่อยูใ กลเคียง มักเปนจุดควบคุมระยะการกัดเซาะตลิ่งทายน้ําได
เชน สะพาน ฝาย ชั้นหินที่โผลออกมา เปนตน เพราะจะมีฐานค้ําตลิ่งอยู ทั้งนี้ ตลิ่งของโครงสรางนั้นตองไมมีการลดหรือขยายของหนาตัดลําน้ํา
ระยะขอบของเขื่อนปองกันตลิ่งดานทายน้ําจะสิ้นสุดที่ระยะออกไปอีก 1 เทาของความกวางลําน้ําจากโครงสรางนั้น แตหากตลิ่งของโครงสราง
มีการลดหรือขยายหนาตัดลําน้ํา ระยะขอบจะออกไปอีก 4 เทาของความกวางลําน้ําจากโครงสรางนั้น

รูป ที่ 1

2 ระยะขอบแนวดิ่งตามขวางลําน้ํา

2.1 ระยะขอบบน โดยทั่วไป ใหระยะขอบบนอยูท่รี ะดับ ตลิ่ง ลําน้ํา


หรือ พิจารณาปจจัยตางๆ เพิม ่ เติม ดังตอไปนี้
ก. อิทธิพลจากคลื่น ทั้งที่เกิดจากระดับน้ําขึ้น-ลงของทะเล และการเดินเรือ
ข. การเออของน้ํา เนื่องจากไหลผานลําน้ําโคง
ค. Hydraulic Jump
ง. การไหลที่ไมสม่ําเสมอ เนื่องจากไหลผานตอมอสะพาน ที่จุดบรรจบลําน้ํา
นอกจากนั้น การไหลผานนูนดินทองน้ํา ที่เกิดจากการทับถมของดินตะกอน ซากพืช หรือวัชพืชตางๆ ตองนํามาพิจารณาคา (Freeboard)
หรือความสูงคลื่น

2.2 ระยะขอบลาง (Toe Scouring)

สาเหตุหนึ่งของการพังทลายของเขื่อนปองกันตลิ่ง คือการไมคํานึงถึงปจจัยตางๆ ที่ทําใหเกิดการกัดเซาะที่ฐาน (Toe Scouring)


ในการออกแบบ ตองวิเคราะหการปองกันการกัดเซาะที่ฐานอยางเพียงพอ ทั้งคาความลึกกัดเซาะสูงสุดจากดินธรรมชาติและหินทิ้ง
คํานวณไดโดยใชสูตรดานลาง ซึ่งใชในการประมาณคาความลึกกัดเซาะสูงสุดที่เปนไปได จากการกัดเซาะดินธรรมชาติหรือหินทิ้ง
ในลําน้ําตรงและลําน้ําโคงเล็กนอย
b b

เมื่อ คือ คาประมาณความลึกกัดเซาะทองน้ํา วัดจากความลึกต่ําสุดของหนาตัดลําน้ํา หนวยเมตร


b
คือ คาขนาดคละกลางของดินตะกอนทองน้ํา หนวยเมตร

ขนาดคละกลางของดินตะกอนทองน้ํา = 0.00000 เมตร


b
ดังนั้น คาความลึกกัดเซาะบริเวณ Toe มีคาเทากับ = 3.66 เมตร

รูปที่ ค-6 Sheet “5_คํานวณ Toe Scouring”

ค-8 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
ภาคผนวก ค ตัวอยางการใชงานโปรแกรมวิเคราะหดานชลศาสตรฯ

รูป แบบที่ 4 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบตาขา ยเสริมกํา ลังดิน หรือ Geogrid

รูป แบบที่ 5 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบกลองลวดตาขา ยบรรจุหิน หรือ Gabion

แนวสั น เขื่ อน

ระดับ สั น เขื่ อ น

ทรายถมชุมน้ํ าอัดแน น
1
n
เรียงกล อ งลวดตาข ายเกเบี้ ยน

แผ นใยสั งเคราะห

รูปที่ ค-7 Sheet “สรุปผลการคํานวณ”

ค-9 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
ภาคผนวก ค ตัวอยางการใชงานโปรแกรมวิเคราะหดานชลศาสตรฯ

รูป แบบที่ 6 เขื่อนปองกันตลิ่ง แบบหินทิ้ง

แนวสั น เขื่ อ น

ระดั บ สั น เขื่ อ น

n
1
ความหนาชั้ น หิ น ทิ้ ง รวมชั้ น รองหิ น ต่ํ า สุ ด (t)

ทิ้ ง หิ น ใหญ แ ทรกโพรงด ว ยหิ น เล็ ก ให แ น น

ความลาดชันของเขื่อนปองกันตลิ่ง, n (แนวนอน : แนวตั้ง) 2.5 :1


ขนาดคละของหินเรียงหรือหินทิ้งคัดเลือก
Rock Size
Riprap Class
(m)
D100 0.40
Facing D50 0.29
D10 0.12

ความหนาของชั้นหินทิ้งจากการคํานวณ มีคาเทากับ 0.65 เมตร


ขนาดคละของชั้นหินรองพื้น ไมสามารถใชช้ันหินรองพื้นได

หินรองพื้น ชั้นที่ 1 หินรองพื้น ชั้ นที่ 2


ขนาดคละ ขนาดคละ
D85 - D85 -
D50 0.0000 D50 0.0000
D15 - D15 -

สรุป คาความหนาของชั้นหินทิ้ง, t (ความหนาหินทิ้งจากการคํานวณ+ความหนาชั้นหินรองพื้น 1.00 เมตร


ความลึกของชั้นหินทิ้งที่ Toe (Toe Depth) มีคาไมนอยกวา 2.29 เมตร

รูป แบบที่ 7 เขื่อนปองกันตลิ่ง แบบหินเรียง

แนวสั น เขื่ อ น
ระดั บ สั น เขื่ อ น

เรี ย งหิ น ใหญ แ ทรกโพรงด ว ยหิ น เล็ ก


n
1
ความหนาชั้ น หิ น เรี ย ง(t)

ทรายถมชุ ม น้ํ า อั ด แน น


แผ น ใยสั ง เคราะห

ความลาดชันของเขื่อนปองกันตลิ่ง, n1 (แนวนอน : แนวตั้ง) 2.5 :1


ขนาดคละของหินเรียงหรือหินทิ้งคัดเลือก
Rock Size
Riprap Class
(m)
D100 0.40
Facing D50 0.29
D10 0.12

ความหนาของชั้นหินเรียงหรือหินทิ้ง, t 0.50 เมตร

รูปที่ ค-7 (ตอ) Sheet “สรุปผลการคํานวณ”


ค-10 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
ภาคผนวก ค ตัวอยางการใชงานโปรแกรมวิเคราะหดานชลศาสตรฯ

รูป แบบที่ 8 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบหินเรียงและขั้นบันได

แนวสั นเขื่อน

ระดั บสั นเขื่อน


n เรีย งหิน ใหญ แทรกโพรงดวยหินเล็ก
1
คาน ค.ส.ล.
ถมทรายบดอัดแนน
แผนใยสังเคราะห

ความหนาของชั้นหิ นเรียง (t)

ความลาดชันของเขื่อนปองกันตลิ่ง, n (แนวนอน : แนวตั้ง) 2.5 :1


ขนาดคละของหินเรียงหรือหินทิ้งคัดเลือก
Rock Size
Riprap Class
(m)
D100 0.40
Facing D50 0.29
D10 0.12

ความหนาของชั้นหินเรียงหรือหินทิ้ง, t 0.50 เมตร

ความลึกของชั้นหินทิ้งที่ Toe (Toe Depth) มีคาไมนอยกวา 2.29 เมตร

รูป แบบที่ 9 เขื่อนปองกันตลิ่งแบบวางลาดตลิ่งดวยกลอง Gabion

แนวสั น เขื่อน

ระดั บ สั น เขื่อน

เรียงกล อ งลวดตาข ายเกเบี้ย นบรรจุหิน ใหญ


n
1
ความหนาของกล อ งเกเบี้ ยนต่ํ า สุด (t)
แผ น ใยสั งเคราะห
ถมทรายบดอัด แน น

ความลาดชันของเขื่อนปองกันตลิ่ง, n (แนวนอน : แนวตั้ง) 2.5 :1


ขนาดความหนาต่ําสุดของกลอง Gabion จากการคํานวณ, t 0.30 เมตร

กวาง x ยาว x สูง


ขนาดกลองคัดเลือก
แนะนําขนาดทั่วไปของกลอง Gabion 1x2x0.5 เมตร
ความลึกของชั้นหินทิ้งที่ Toe (Toe Depth) มีคาไมนอยกวา 2.29 เมตร

รูปที่ ค-7 (ตอ) Sheet “สรุปผลการคํานวณ”


ค-11 กรมโยธาธิการและผังเมือง
คูมือแบบมาตรฐานแนะนําการออกแบบเขื่อนปองกันตลิ่งสําหรับลําน้ําขนาดเล็ก
ภาคผนวก ค ตัวอยางการใชงานโปรแกรมวิเคราะหดานชลศาสตรฯ

รูป แบบที่ 10 เขื่อนปองกันตลิ่ง แบบวางลาดตลิ่งดวยกลอง Mattress

แนวสั น เขื่ อน
ระดั บ สั น เขื่ อน

n เรี ยงกล องลวดตาข ายแมทเทรสบรรจุหิน ใหญ


1
ความหนากล องแมทเทรสต่ํ าสุด (t)

ปู แผ น ใยสังเคราะห

ถมทรายบดอั ด แน น

กล อ งแมทเทรสให แ นน เต็ มกลอง

ความลาดชันของเขื่อนปองกันตลิ่ง, n (แนวนอน : แนวตั้ง) 2.5 :1


ขนาดความหนาต่ําสุดของกลอง Mattress จากการคํานวณ, t 0.30 เมตร

กวาง x ยาว x สูง


ขนาดกลองคัดเลือก
แนะนําขนาดทั่วไปของกลอง Mattress 2x6x0.3 เมตร

รูปที่ ค-7 (ตอ) Sheet “สรุปผลการคํานวณ”

ค-12 กรมโยธาธิการและผังเมือง

You might also like