You are on page 1of 39

แผนงานขุดดินและระเบิดหิน

โครงการกอสรางอาคารโรงไฟฟาและงานดานโยธา
บริเวณเขื่อนปาสักชลสิทธิ์ อําเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี

1. บทนํา
เนื้อหาที่แสดงในเอกสารฉบับนี้เปนรายละเอียดแผนงานขุดดินและระเบิดหินโครงการกอสรางอาคาร
โรงไฟฟาและงานดานโยธา บริเวณเขื่อนปาสักชลสิทธิ์ อําเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี จัดทําโดยหางหุนสวน
จํากัด ไว-วา เสนอตอการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ในฐานะเปนสวนหนึ่งของการทํางานตาม
สัญญาจางเหมาเลขที่ 5120003652 (ZCSV) ลงวันที่ 14 มกราคม 2554 ที่กําหนดใหผูรับจางเสนอแผนงาน
ระเบิดหินใหพิจารณาลวงหนาไมนอยกวา 60 วัน
เพื่ อ เป น ข อ มู ล ประกอบการพิ จ ารณาของผู เ กี่ ย วข อ ง เนื้ อ หาที่ แ สดงต อ จากบทนํ า แบ ง เป น 6
สวนประกอบดวย
 งานกอสรางทีม่ ีการระเบิดหิน
 ขอกําหนดของ กฟผ.
 โครงสรางธรณีวิทยาของพืน้ ที่โครงการ
 ทฤษฎีที่เกี่ยวของและความตองการดานเทคนิค
 แผนการทํางาน
 การประเมินผลกระทบที่เกิดกับโครงสรางเดิม

2. งานกอสรางที่มีการระเบิดหิน
งานกอสรางอาคารโรงไฟฟาและงานดานโยธาบริเวณเขื่อนปาสักชลสิทธิ์ชลสิทธิ์มีงานระเบิดหิน (ดูรูป
ที่ 11) ทั้งบริเวณที่ตั้งอาคารโรงไฟฟา, Surge Valve, แนววางทอจายน้ําเขาเครื่องปนไฟ (Penstock) และแนว
คลองระบายน้ําทายเครื่องปนไฟ (Tailrace) ปริมาณงานระเบิดหินรวมกัน 23,700 ลูกบาศกเมตร2 บริเวณที่มี
งานระเบิดหินมากที่สุดเปนบริเวณกอสรางอาคารโรงไฟฟาเพราะฐานรากอาคารตั้งอยูที่ระดับ + 4.85 เมตร
จากระดับน้ําทะเลปานกลาง ในขณะที่ประมาณวาชั้นหินอยูที่ระดับ +20.3 เมตร รทก3 (ความลึกของงาน
ระเบิดหินประมาณ 15 เมตร)

1
ลอกจากแบบกอสรางแผนที่ PSHP-CW-GN-07
2
เปนจํานวนที่ระบุในบัญชีปริมาณงานซึ่งถือเปนสวนหนึ่งของสัญญา
3
วัดจากมาตราสวนที่แสดงในแบบ
-1-
Surge valve
จุดต่ําสุดอยู ที่ร ะดับ
อาคารโรงไ ฟฟา
+ 16.90 รทก
จุดต่ําสุดอยู ที่ร ะดับ + 4.85 รทก
ระดับชั้นหิน
Valve chamber คลองระบายน้ํ า +20.3 ม. รทก
จุดต่ําสุดอยู ที่ร ะดับ จุดต่ําสุดอยู ที่ร ะดับ + 17.757 ม. รทก (แสดงในแบบ)
+ 18.45 รทก
Penstock

รูปที่ 1 รูปตัดแสดงชั้นหินและระดับงานกอสราง

-2-
3. ขอกําหนดของ กฟผ.
เพื่อความปลอดภัยและเพื่อลดผลกระทบที่อาจเกิดกับโครงสรางเดิม กฟผ.กําหนดเงื่อนไขงานระเบิด
หินไวในเงื่อนไขเฉพาะงาน ขอ 13.1 และในรายการประกอบแบบบทที่ 6 OPEN EXCAVATION อยาง
ละเอียด4 สรุปไดดังนี้
1. ผูรับจางหรือผูรับจางชวงตองไดรับอนุญาตซื้อ ขนยาย ใช และจัดเก็บวัตถุระเบิดจากทางราชการ
กอนเขาดําเนินการ
2. หากมีความจําเปนตองเก็บวัตถุระเบิดไวในสถานที่กอสราง ผูรับจางหรือผูรับจางชวงตองออกแบบ
โรงเก็บวัตถุระเบิดตามแบบที่ราชการกําหนดและตองขออนุญาตกอสรางจากหนวยราชการที่เกี่ยวของให
เรียบรอยกอนดําเนินการกอสรางโรงเก็บวัตถุระเบิด และในการเก็บวัตถุระเบิด ผูรับจางหรือผูรับจางชวงตอง
แยกเก็บแกปกับวัตถุระเบิด และมีสายลอฟาปองกันอันตรายของประจุไฟฟาจากฟาแลป ฟาผา และไมใกลกับ
เชื้อเพลิง หรือวัตถุไวไฟอื่นๆ หรือแหลงที่กอใหเกิดความรอน
3. ทําการระเบิดวันละ 2 เวลา ปริมาณหินที่จะทําการระเบิดตอครั้งขึ้นอยูกับมาตรการควบคุมไมให
เกิดผลกระทบตอโครงสรางเดิม ตามขอ 13.25 และตองไมเกิน 200 ลูกบาศกเมตร (อาจจะยกเวนการระเบิดใน
วันเสารและวันอาทิตย)
4. กอนทําการระเบิดทุกครั้งใหเปดสัญญาณเตือนและปดเสนทางจราจรที่เกี่ยวของและเปนอันตราย
โดยเขาทําการเคลียรพื้นที่ทําการระเบิดใหแลวเสร็จจนแนใจในความปลอดภัยจึงเปดเสนทางการจราจร
ตามปกติ
5. ทุกครั้งที่ทําการระเบิดใหติดตั้งเครื่องวัดอัตราความเร็วสูงสุดของคลื่นจากการระเบิดที่กอใหเกิด
ความเสียหาย (Critical Peak Velocity) และเครื่องวัดความดังของเสียง (Air Blast Overpressure) ที่ตําแหนง
อาคารควบคุมเดิม (Existing Control House) และ/หรือสวนปลายสุดของความลาดเอียง (Toe Slope) ของ
เขื่อน หรือระยะทางที่ใกลที่สุดตามที่ไดรับความเห็นชอบจากผูควบคุมงาน กฟผ.
6. กอนทําการระเบิดแตละครั้งตองกําหนดขอบเขตพื้นที่ที่จะดําเนินการโดยทํา Presplit และ Smooth
Wall Blasting รวมทั้งทิศทางการระเบิดและระยะความลึกของรูเจาะ ปริมาณวัตถุระเบิด และการตอวงจรการ
ระเบิด ทั้งนี้เพื่อใหผลจากการระเบิดที่มีประสิทธิภาพ และปลอดภัยในการทํางาน

4
รายละเอียดที่แสดงคัดจากเงื่อนไขเฉพาะงานซึ่งเปนขอกําหนดหลักโดย กฟผ.กําหนดใหรายละเอียดที่แสดงในแบบและ
รายการประกอบแบบมีผลเปนการบังคับเฉพาะสวนที่ไมขัดแยงกับเงื่อนไขเฉพาะงาน
5
ขอ 13.2 หมายถึงงานเทคอนกรีตใตน้ํา
-3-
7. ผูรับจางหรือผูรับจางชวงตองทําการระเบิดหินใหไดระดับตามแบบกอสรางทั้งหมดอยางตอเนื่องจน
แลวเสร็จ
8. ผูรับจางหรือผูรับจางชวงตองมีมาตรการความปลอดภัยเกี่ยวกับความปลอดภัยในการมีและ
ครอบครองวัตถุระเบิตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535
9. มาตรการควบคุมไมใหเกิดผลกระทบตอโครงสรางเดิม
9.1 วัดอัตราความเร็วสูงสุดของคลื่นจากการระเบิดที่กอใหเกิดความเสียหาย (Critical Peak
Velocity) ควบคุมไมใหเกินคาที่กําหนดสําหรับจุดตรวจวัด ดังนี้
 สําหรับเขื่อน 50 มิลลิเมตร/วินาที
 สําหรับ Existing Control House 50 มิลลิเมตร/วินาที
9.2 วัดความดังของเสียง (Air Blast Overpressure) ตองไมเกิน 140 dBL (No Damage Level)
9.3 การปองกันหินปลิว (Fly Rock Potential)
9.4 การควบคุ ม ไม ใ ห เ กิ ด อั น ตรายจากการปลิ ว กระเด็ น ของเศษหิ น โดยปกติ อุ ป กรณ ที่ ใ ช
ประกอบดวยผาปาน (Gunny Sacks) คลุมพื้นที่ที่จะระเบิดทั้งหมด จากนั้นใชตาขาย (Wire Mesh) ปดทับ
แลวยึดใหแนนดวยสลิง (Wire rope) ถวงน้ําหนักโดยทับซอนดวยถุงทราย (Sand Bag) อีกชั้นหนึ่ง และมี
กําแพงลวดตาขายนั่งรานกันหินปลิวบริเวณที่มีอันตรายมากๆ ความรัดกุม หรือความหนาแนนของอุปกรณ
ปองกันหินปลิวขึ้นอยูกับดุลยพินิจของผูควบคุมงาน
9.5 ผูรับจางหรือผูรับจางชวงตองเสนอเทคนิค วิธีการ และรูปแบบในการระเบิดหินใกลสิ่งปลูก
สรางเดิมให กฟผ.ใหความเห็นชอบกอนดําเนินการไมนอยกวา 60 วัน6 ผูรับจางหรือผูรับจางชวงตองทําการ
ทดลองเพื่อยืนยันใหเกิดความมั่นใจไดวาเทคนิควิธีการและรูปแบบการระเบิดดังกลาวเปนไปตามขอกําหนด
ของมาตรการควบคุมไมใหเกิดผลกระทบตอโครงสรางเดิม หากมีความเสียหาย หรือมีคาใชจายใดๆ อัน
เนื่องมาจากผลกระทบที่เกิดขึ้น ผูรับจางชวงตองรับผิดชอบทั้งหมด
9.6 ในกรณีที่ผูรับจางหรือผูรับจางชวงไมเลือกใชวิธีการระเบิดในการตัดหรือขุดหิน ผูรับจางหรือผู
รับจางชวงตองเสนอวิธีอื่นที่จะเลือกใชตลอดจนขั้นตอนการทํางานโดยละเอียดเพื่อขออนุมัติตอ กฟผ.กอนเริ่ม
ดําเนินการไมนอยกวา 30 วัน

6
เอกสารฉบับนี้เปนการดําเนินงานตามขอ 9.5
-4-
4. โครงสรางธรณีวิทยาของพื้นที่โครงการ
กฟผ.ทํางานเจาะสํารวจดินในบริเวณที่ตั้งโครงการ 2 ครั้ง การดําเนินงานครั้งแรกทําในเดือนธันวาคม
2544 จํานวน 3 หลุม (DPS-1 ถึง DPS-3) ทั้งหมดอยูดานทิศตะวันออกของอาคารทอระบายน้ําลงลําน้ําเดิม
ตอมาในเดือนมิถุนายน 2545 เมื่อทราบที่ตั้งอาคารโรงไฟฟาชัดเจน ก็มีการเจาะสํารวจเพิ่มดานทิศตะวันตก
ของอาคารทอระบายน้ําฯ อีก 4 หลุม (DPS-4 ถึง DPS-7) ตําแหนงหลุมเจาะของการสํารวจครั้งหลังอยูตาม
แนวเสนกึ่งกลางงานกอสราง (ดูรูปที่ 27)
ตามข อ มู ล แสดงในตารางที่ 1 พบหิ น ทรายในการเจาะสํ า รวจรอบแรก แต พ บหิ น อั ค นี ป ระเภท
Rhyolite ที่หลุมเจาะ DPS-4 ถึง DPS-7 สภาพหินระยะ 3 – 5 เมตร แรกแตกหัก ผุพัง แตชั้นหินที่ระดับ +22.3
ถึง +26.1 เมตร รทก.ลงไปเปนหินเนื้อแนน แข็ง และสด กับพบรอยแตกในชั้นหินเกือบทุกหลุม
ระดับน้ําใตดินเดือนมิถุนายน 2545 อยูที่ +25.5 ถึง +26.0 เมตร รทก. ผลทดสอบคาสัมประสิทธิ์การ
ซึมน้ําในชั้นดิน (Permeability) ไดคาระหวาง 0.99x10-4 – 3.12x10-3 ซม./วินาที ผลทดสอบการซึมน้ําในชั้น
หินไดคาระหวาง 4.7 – 50.8 lugeon (Turbulent Flow)

DPS-3

DPS-2
DPS-4
DPS-1

DPS-5
DPS-6

DPS-7

รูปที่ 2 ตําแหนงหลุมเจาะ

7
คัดลอกจากแผนที่แสดงตําแหนงหลุมเจาะที่ปรากฎในรายงานการเจาะสํารวจดินเลขที่ G47-02-00-4515 กับ G47-02-00-
4501 ทั้งสองฉบับจัดทําโดยกองธรณีและปฐพีวิศวกรรม ฝายสํารวจและที่ดินพลังน้ํา การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย
-5-
ตารางที่ 1 ผลเจาะสํารวจดิน
รายการ การเจาะสํารวจเดือนธันวาคม 2544 (รายงานเดือนมกราคม 2545) การเจาะสํารวจเดือนมิถุนายน 2545 (รายงานเดือนสิงหาคม 2545)
หลุมเจาะ DP-1 DP-2 DP-3 DP-4 DP-5 DP-6 DP-7
พิกัด N 1,643,039.904 1,643,043.415 1,643,026.592 1,643,126 1,643,062.834 1,643,052.136 1,643,041.439
E 723,797.217 723,809.946 723,829.952 723,787.5 723,734.319 723,725.287 723,716.256
ระดับปากหลุม 23.879 ม. รทก. 26.376 ม. รทก. 32.904 ม. รทก. 31.299 ม. รทก. 31.977 ม. รทก. 32.024 ม. รทก. 32.146 ม. รทก.
ความลึกหลุมเจาะ 15 ม. 30 ม. 30 ม. 17 ม. 28 ม. 28 ม. 28 ม.
ระดับน้ําใตดิน 20.8 ม. รทก. 23.3 ม. รทก. 26.4 ม. รทก. - 26.0 ม. รทก. 25.5 ม. รทก. 23.6 ม. รทก.
ระดับพบหิน 20.8 ม. รทก. 22.3 ม. รทก. 25.9 ม. รทก. 22.3 ม. รทก. 23.0 ม. รทก. 25.0 ม. รทก. 26.1 ม. รทก.
คุณลักษณะชั้นหิน หินทรายสภาพผุพังปานกลาง คา RQD (Rock Quality Designation) หินอัคนีชนิดหิน Rhyolite สภาพแตกหัก ผุพังมาก ที่ระดับ 14 - 20 ม. รทก. ตอจากนั้นเปนหิน
มากกวา 50% ที่หลุม DP-1 มากกวา 30% ที่หลุม DP-2 และมากกวา แข็ง เนื้อแนน และสด คา RQD นอยกวา 50% ที่หลุม DP-4 มากกวา 50% ที่หลุม DP-5 อยู
25% ที่หลุม DP-3 (พบแนวแตกที่หลุม DP-3) ระหวาง 20 – 60% ที่หลุม DP-6 และระหวาง 12 – 50% ที่หลุม DP-7
การซึมน้ําในชั้นดิน ผลทดสอบที่แรงดันน้ําคงที่ 0.99x10-4 – 3.12x10-3 ซม./วินาที ผลทดสอบที่แรงดันน้ําคงที่ 1.0x10-7 – 2.0x10-6 ซม./วินาที
การซึมน้ําในชั้นหิน ทั่วไปเปน Turbulent flow คาการรั่วซึม 3.9 – 12.2 lugeon ยกเวน Turbulent flow คาการรั่วซึม 4.7 – 50.8 lugeon
หลุม DP-3 พบ laminar flow ที่ระดับ +12.9 รทก. คาการรั่วซึม 0.3 –
0.6 lugeon
หมายเหตุ:
1. มีการทํางานเจาะสํารวจครั้งที่ 2 (เดือนมิถุนายน 2545) เมื่อทราบตําแหนงโรงไฟฟาชัดเจน
2. การจําแนกประเภทหินในการเจาะสํารวจเดือนมิถุนายน 2545 ทําโดยคณะเทคโนโลยีธรณี มหาวิทยาลัยขอนแกน

-6-
การตรวจสอบคา SPT (ดูรูปที่ 3) รวมกับระดับพบชั้นหินแสดงในตารางที่ 1 พิจารณาวาชั้นหินใน
บริเวณที่ตั้งโครงการมีลักษณะเอียงลาดโดยมีจุดต่ําสุดอยูใกลเขื่อนปาสักชลสิทธิ์ แลวคอยๆ เอียงสูงขึ้นเมื่อ
ไกลออกไป จึงมีความเปนไปที่จะพบชั้นหินที่ระดับ + 21.0 เมตร รทก บริเวณกอสราง Bifurcation (ดานใกล
เขื่อนปาสักชลสิทธิ์) และพบชั้นหินที่ระดับ + 26.0 เมตร รทก บริเวณกอสรางอาคารโรงไฟฟา ลักษณะดังกลาว
สอดคลองกันทั้งดานทิศตะวันออกและทิศตะวันตกของอาคารทอระบายน้ํา (ผลสํารวจครั้งที่ 1 กับครั้งที่ 2)
การทดสอบกําลังรับแรงอัดของหินแบบแกนเดียว (Uniaxial compressive strength) บริเวณหลุม
เจาะ DPS-4 ถึง DPS-7 ซึ่งทําที่ระดับ + 5.6 ถึง + 17.5 เมตร รทก ตามแสดงในตารางที่ 2 ไดคาระหวาง 142
– 710 กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร8
SPT N SPT N
0 500 1000 0 500 1000

30.0 DPS‐1 30.0 DPS‐4

DPS‐2 DPS‐5

DPS‐3 DPS‐6

28.0 28.0 DPS‐7


ระดับ ม. รทก

ระดับ ม. รทก

26.0 26.0

24.0 24.0

22.0 22.0

20.0 20.0

(ก) ดานทิศตะวันออกของอาคารทอระบายน้ําลงลําน้ําเดิม (ข) ดานทิศตะวันตกของอาคารทอระบายน้ําลงลําน้ําเดิม


(บริเวณที่ตั้งโครงการ)
หมายเหตุ: คา SPT 1000 ใชในกรณีผลทดสอบทําไมถึง เชน การตอก 780 ครั้ง จมเพียง “0” นิ้ว
รูปที่ 3 คา SPT งานเจาะสํารวจดินโครงการกอสรางอาคารโรงไฟฟาเขื่อนปาสักชลสิทธิ์

8
กําลังรับแรงอัด 142 กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร พิจารณาวาเกิดจากมีรอยแตกในตัวอยางที่ทําการทดสอบ
-7-
ตารางที่ 2 ผลทดสอบตัวอยางหินในบริเวณที่ตั้งโครงการ
หลุม ระดับ ความชื้น ความหนาแนนแหง UCS
เมตร รทก (%) (gm/cc) (กก./ตร.ซม.)
DPS-4 + 17.50 1.47 2.553 142
DPS-5 + 9.58 1.83 2.553 426
DPS-6 + 5.62 1.05 2.603 435
DPS-7 + 10.95 0.45 2.632 710
หมายเหตุ: UCS ยอมาจาก Uniaxial Compressive Strength
ที่มา: การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ฝายสํารวจและที่ดินพลังน้ํา กองธรณีและปฐพีวิศวกรรม, รายงานผลสํารวจ
โครงการโรงไฟฟาพลังน้ําขนาดเล็ก เขื่อนปาสักชลสิทธิ์ รายงานเลขที่ G47-02-00-4515, สิงหาคม 2545, หนา 12

5. ทฤษฎีที่เกี่ยวของและความตองการดานเทคนิค
ทฤษฎีและความตองการดานเทคนิคที่แสดงในรายงานครอบคลุมเฉพาะสวนที่เกี่ยวของกับขอกําหนด
กฟผ.วาดวยมาตรการควบคุมไมใหเกิดผลกระทบกับโครงสรางเดิม 3 รายการ ไดแก (1) ความเร็วสูงสุดของ
อนุภาค (2) ความดังของเสียง และ (3) การปองกันหินปลิว

5.1 ความเร็วสูงสุดของอนุภาค
เมื่อมีการระเบิดเกิดขึ้นในเนื้อหิน พลังงานที่เกิดจากแรงระเบิดจะแพรกระจายออกไปโดยรอบใน
ลักษณะคลื่นตามยาว (Longitudinal Wave) คลื่นตามขวาง (Transverse Wave) และคลื่นที่สะทอนจาก
พื้นผิว (Surface Wave) ทําใหเกิดแรงอัด แรงดึง และแรงเฉือน กระทํากับมวลหิน ขนาดแรงที่มวลหินไดรับ
คอยๆ ลดลงตามระยะทาง บริเวณใกลๆ ที่ขนาดแรงสูงกวาคาโมดูลัสยืดหยุนของหิน ก็ทําใหหินเกิดรอย
แตกราว ถาพลังงานยังสลายไมหมด พลังงานสวนที่ไกลออกไปก็สงผลเพียงทําใหอนุภาคหินยืด/หดตัวตาม
คาบเวลาคลื่น กลายเปนความเร็วและความเรงที่มีคาและทิศทางเปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา
การศึกษาปจจัยที่มีผลกระทบกับความเร็วของอนุภาค (V) พบวาขึ้นกับปริมาณวัตถุระเบิด (Q)
ระยะหางจากตําแหนงจุดระเบิด (D) ความเร็วคลื่นในชั้นหิน (c) ความหนาแนนของหิน () และระยะเวลา (t)
แตเนื่องจากความเร็วคลื่นในชั้นหินและความหนาแนนแปลงไมมาก และไมจําเปนตองคงตัวแปร t เพราะเปน
การพิจารณาคาสูงสุด งานศึกษาของ Daemen et al. (1983), Duvall and Petkof (1959), Duvall and
Fogelson (1962), Duvall et al. (1963)9 เสนอวาสามารถประเมินความเร็วสูงสุดของอนุภาคดวยสมการ (1)
ดังนี้

9
Pijush Pal Roy, Rock Blasting: Effects & Operations, A.A. Balkema Publisher, 2005, p. 78
-8-
V  K D/ Q 
B
(1)
เมื่อ
V ความเร็วสูงสุดของอนุภาค มิลลิเมตร/วินาที
D ระยะหางระหวางตําแหนงจุดระเบิดกับจุดสังเกต เมตร
Q ปริมาณวัตถุระเบิดตอเวลาหนวงจุดระเบิด กิโลกรัม
K , B คาคงที่ขน
ึ้ กับสถานที่
โดยตัวแปร D Q เรียกไดอีกอยางหนึง่ วามาตราระยะทาง (Scale Distance)
นอกจากสมการ (1) ขางตน มีงานวิจัยและมาตรฐานที่เสนอวิธีประเมินความเร็วสูงสุดของอนุภาคอีก
หลายวิธี (การตรวจสอบความคลาดเคลื่อนของแตละสมการกรณีหิน Basalt แสดงในตารางที่ 3) เชน
 Langefors et al. (1958) เสนอใหความเร็วอนุภาคแปรผันตาม Q D3 2 - ดูสมการ (2)
 USBM (US Bureau of Mine) เสนอใชแบบจําลองทรงกลมซึ่งทําใหความเร็วสูงสุดของอนุภาค
แปรผันตาม D Q1 3 - ดูสมการ (3)
 มาตรฐานอินเดีย (1975) เสนอใหความเร็วอนุภาคแปรผันตาม Q 2 3 D – ดูสมการ (4)
 Davies er al. (1964), Birch and Chaffer (1983), Attewell (1964), Daemen et al. (1983)
เสนอใหความเร็วอนุภาคแปรผันตาม D  BQ A – ดูสมการ (5)
 Ghosh and Daemen (1983) เสนอใหนาํ คา inelastic attenuation factor e D มารวมในการ
คํานวณความเร็วสูงสุดของอนุภาค ไดสมการ (6) สําหรับแบบจําลองแทงทรงกระบอก กับสมการ
(7) สําหรับแบบจําลองรูปทรงกลม

V  K Q D3 2 B
(2)
V  K D Q  1 3 B
(3)
V  K Q D 
23 B
(4)
V  KD B Q A (5)
 
V  K D Q 0.5
B
e D (6)
V  K D Q  1 3 B
e D (7)
เมื่อ
V ความเร็วสูงสุดของอนุภาค มิลลิเมตร/วินาที
D ระยะหางระหวางตําแหนงจุดระเบิดกับจุดสังเกต เมตร
Q ปริมาณวัตถุระเบิดตอเวลาหนวงจุดระเบิด กิโลกรัม
-9-
K , B , คาคงที่ขนึ้ กับสถานที่
Adhikari et al. (2005) นําสมการ (1) มาประเมินคา K กับคา B ของหินชนิดตางๆ (ผลวิเคราะหแสดง
ในตารางที่ 4 กับรูปที่ 4) สรุปวาคา K กับคา b แปรปรวนไมมากกรณีเปนหินชนิดเดียวกัน แตเมื่อชั้นหินที่
ระเบิดมีความหลากหลาย เชน กรณีงานระเบิดเพื่อการกอสราง ก็ทําใหคาสหสัมพันธของตัวแปรที่วิเคราะหได
จากสมการถดถอยมีคาลดลง10
ตารางที่ 3 การทํานายความเร็วอนุภาคดวยสมการตางๆ
สมการ B K A  Id

(1) 2.152 895.644 - - .903


(2) 2.652 176.137 - - .921
(3) 2.260 4765.470 - - .926
(4) 1.989 176.137 - - .921
(5) 2.171 1137.66 1.0342 - .936
(6) 1.739 587.679 - 0.00733 .944
(7) 2.456 6745.21 - 0.00318 .926
หมายเหตุ: คา Id เปนคาแสดงระดับความสัมพันธที่วิเคราะหจากสมการถดถอย
ที่มา: Pijush Pal Roy, Rock Blasting: Effects & Operations, A.A. Balkema Publisher, 2005, p. 83

ตารางที่ 4 การวิเคราะหคา K, b และคาสหสัมพันธ


อุตสาหกรรม เหมือง จํานวน จํานวน K b r ความถี่
ระเบิด ขอมูล (Hz)
ถานหิน GDK OC-1 13 35 159.17 1.40 0.74 5 – 20
GDK OC-2 11 43 119.11 1.30 0.85 5 – 40
GDK OC-3 13 42 185.65 1.33 0.82 5 – 20
ลิกไนต Mine I, II 22 68 858.90 1.58 0.86 5 - 27
หินปูน 27 เหมือง - 740 320.81 1.30 0.77 10 - 60
แรเหล็ก D 5, NMDC 4 16 66.44 1.17 0.79 3 - 14
D11C, NMDC 6 15 100.00 1.40 0.96 2 – 15
D14, NMDC 3 10 48.60 0.80 0.72 2 – 16
Donimalai, NMDC 13 38 69.30 1.16 0.87 2 – 20
All NMDC data 26 79 70.30 1.16 0.85 2 – 20

10
คา correlation coefficient (r) ลดลง
-10-
อุตสาหกรรม เหมือง จํานวน จํานวน K b r ความถี่
ระเบิด ขอมูล (Hz)
หินแข็ง Copper mine 21 24 303.75 1.54 0.75 5 – 20
Rampura Agucha 10 31 211.82 1.42 0.86 11 – 75
หินมีคา Diamond, NMDC 6 25 501.29 1.56 0.94 10 - 70
Site กอสราง 13 แหง - 356 67.85 0.85 0.58 11 - 200
หมายเหตุ: คา K, b เปนคาคงที่ซึ่งไดจากการวิเคราะห คา r เปนคา correlation coefficient ที่ไดจากการวิเคราะหดวยสมการ
ถดถอย (regression)
ที่มา: Adhikari, G.R., et all, Role of blast design parameters on ground vibration and correlation of vibration level
to blasting damage to surface structures, 2005, National Institute of Rock Mechanics, Western Coalfields Limited,
and Singareni Collieries Company Limited, p. 7

เหมืองถานหิน เหมืองลิกไนต

หินปูน แรเหล็ก

เหมือง Kudremukh โครงการกอสราง

รูปที่ 4 การวิเคราะหหาคา K และ b ของการระเบิดหินประเภทตางๆ


-11-
การออกแบบงานระเบิดหิ น ตามขอกํ าหนด กฟผ. ที่ระบุให ความเร็ว สู ง สุดของอนุ ภาคไมเกิ น 50
มิลลิเมตร/วินาที โดยใชสมการ (2) ไดปริมาณวัตถุระเบิดที่ระยะหางระหวางหลุมระเบิดกับจุดสังเกตตางๆ
ตามแสดงในตารางที่ 5 อยางไรก็ตาม สําหรับการทดลองระเบิดในสนาม (Field Trial Test) จะใชคาที่กําหนด
จากอัตราเรง (g) ตามแผนงานเทคนิคเสนอในขอ 6.2
ตารางที่ 5 ผลคํานวณปริมาณวัตถุระเบิด ระยะทาง และความเร็วสูงสุดของอนุภาค
ปริมาณวัตถุระเบิดสูงสุดตอจังหวะถวง (กิโลกรัม)
ระยะทาง
ความเร็วอนุภาคสูงสุด ความเร็วอนุภาคสูงสุด ความเร็วอนุภาคสูงสุด
(เมตร)
40 mm./sec. 45 mm./sec. 50 mm./sec.
10 1.26 1.60 1.98
15 2.32 2.94 3.63
20 3.58 4.53 5.59
25 5.00 6.33 7.81
หมายเหตุ คํานวณจากสูตร V  K Q D 3 2  โดยใชคา K = 200 กับ B = 0.5 ซึ่งเปนคาแนะนําของ US Bureau of Mine
B

ที่มา: การคํานวณของผูรับจาง

5.2 ความดังของเสียง
ความดังของเสียงที่เกิดจากการระเบิด (Air blast overpressure) เปนพลังงานสวนเกินที่พุงผานวัสดุ
กลบฝงวัตถุระเบิดขึ้นไปในอากาศ ระดับความดังของเสียงจึงขึ้นกับระยะทางระหวางหลุมระเบิดกับจุดสังเกต
ระยะฝงวัตถุระเบิด (Stemming) ระยะระหวางหลุมระเบิดถึงหนาสัมผัสอิสระ (Burden) และปริมาณวัตถุ
ระเบิดตอจังหวะหนวง โดยเนื่องจากคลื่นเสียงเคลื่อนที่ออกจากตําแหนงหลุมระเบิดทุกทิศทางเปนทรงกลม
การประเมินแรงดันของเสียงจึงสามารถเขียนใหอยูในรูปรากที่ 3 ของปริมาณวัตถุระเบิดตอจังหวะหนวงตาม
สมการ (8) ดังนี้
a
 D 
P  K 
3 Q 
 
(8)

เมื่อ
P แรงดัน kPa
Q ปริมาณวัตถุระเบิดตอการหนวงจุดระเบิด กิโลกรัม
D ระยะหางระหวางตําแหนงจุดระเบิดกับจุดสังเกต เมตร
K คาคงที่ขนึ้ กับสถานที่
a เลขยกกําลังขึน้ กับสถานที่

-12-
การแปลงหนวยแรงดันของเสียงจาก kPa เปนความดังของเสียงในหนวย dBL ตามนิยามที่กําหนดให
ความดังของเสียงเปนคา log ฐาน 10 ของแรงดัน ไดสมการความดังของเสียงจากแรงระเบิดตามแสดงใน
สมการ (9)11
dBL = C1 – C2 log [D/Q1/3] (9)
เมื่อ
C1, C2 คาคงที่ขนึ้ กับสถานที่
D ระยะหางระหวางตําแหนงจุดระเบิดกับจุดสังเกต เมตร
Q ปริมาณวัตถุระเบิดตอจังหวะถวง กิโลกรัม
สําหรับผลกระทบจากความสูงของวัสดุกลบฝงวัตถุระเบิด (Stemming) การประเมินระยะหางจาก
ตําแหนงหลุมระเบิดถึงจุดที่มีความดังของเสียงเทากับ 120 dBL คํานวณไดจากสมการ (10) และสมการ (11)
ในกรณีหนาสัมผัสอิสระอยูในแนวราบกับแนวเอียงลาด ตามลําดับ12
2.5
k d 
D120  s  3
m (10)
 SH 
2.5
k d 
D120   b  3
m (11)
 B 
เมื่อ
D120 ระยะหางจากตําแหนงจุดระเบิดถึงเสนความดังเสียง 120 dBL
ks คาปรับแก มีคา อยูระหวาง 80 - 180
kb คาปรับแก มีคา อยูระหวาง 150 – 250
d ขนาดหลุมเจาะ มิลลิเมตร
m ปริมาณวัตถุระเบิดตอจังหวะหนวง กิโลกรัม
SH ความสูง Stemming มิลลิเมตร
B ระยะถึงหนาสัมผัสอิสระ (Burden)

11
Cedric Roberts, Potential of Airblast overpressure and ground vibration from quarry blasting to increase the
frequency of rockfalls on MT. COONOWRIN, Proceedings of ACOUSTICS 2004, 3 – 5 November 2004, Gold
Coast, Australia
12
Alan B Richards, Prediction and Control of Air Overpressure From Blasting in Hong Kong, Geotechnical
Engineering Office, Civil Engineering and Development Department, The Government of the Hong Kong, 2008, p.
16 - 17
-13-
การออกแบบงานระเบิดหินตามขอกําหนด กฟผ. ที่ระบุใหความดังของเสียงไมเกิน 140 dBL ดวย
สมการ (9) ไดปริมาณวัตถุระเบิดที่ระยะหางระหวางหลุมระเบิดกับจุดสังเกตตางๆ ตามแสดงในตารางที่ 6
อยางไรก็ตาม สําหรับการทดลองระเบิดในสนาม (Field Trial Test) จะใชคาที่กําหนดจากอัตราเรง (g) ตาม
แผนงานเทคนิคเสนอในขอ 6.2
ตารางที่ 6 ผลคํานวณปริมาณวัตถุระเบิด ระยะทาง และความดังของเสียง
ระยะทาง ปริมาณวัตถุระเบิดสูงสุดตอจังหวะถวง (กิโลกรัม)
(เมตร) ความดังเสียงเทากับ 130 dBL ความดังเสียงเทากับ 135 dBL ความดังเสียงเทากับ 140 dBL
10 0.06 0.25 1.00
15 0.21 0.85 3.38
20 0.51 2.01 8.00
25 0.99 3.93 15.63
ที่มา: การคํานวณความดังของเสียงดวยสมการ (9) โดยใชคา C1, C2 เทากับ 160 กับ 25 ตามลําดับ (คําแนะนําของ US
Bureau of Mine)

5.3 การปองกันหินปลิว
หินปลิวเกิดจากพลังงานระเบิดสวนเกินดันกอนหินใหพุงออกจากสถานะเดิมที่อยูกับที่ เกิดไดทั้ง
หนาสัมผัสที่อยูในแนวราบและแนวเอียงลาด การประเมินความเร็วหินเริ่มตน ระยะหินปลิว และขนาดหินปลิว
สามารถคํานวณไดตามคําแนะนําของ Swedish Detonic Research Foundation (1975) ตามสมการ (13),
(14) และ (15) ดังนี13้
26000 D
v0  (13)
Tb  r

Lmax  260D 2 3 (14)


Tb  0.1D 2 3 (15)
เมื่อ
v0 ความเร็วเริ่มตน เมตร/วินาที
D ขนาดรูเจาะ นิ้ว
Tb ขนาดหินปลิว เมตร
r ความหนาแนนของหิน กิโลกรัม/ลูกบาศกเมตร

13
Carlos Lopez Jimeno et al., Drilling and Blasting of Rocks, A.A. BALKEMA/ROTTERDAM/BROOKFIELD, 1995,
p.366
-14-
เพื่อปองกันหินปลิวจึงจําเปนตองจัดหาอุปกรณมาปดทับหนาสัมผัสอิสระที่สามารถยกเคลื่อนยายได
สะดวก รวดเร็ว ไมติดไฟ และมีน้ําหนักมากพอที่จะกดทับไมใหหินปลิวออกไป

6. แผนงาน
6.1 ขั้นตอนดําเนินงาน
ผูรับจางขอเสนอขั้นตอนทํางานขุดดินและระเบิดหินโดยรวม (ดูรูปที่ 5) ดังนี้
 ใชรถแบ็คโฮ (Backhoe) ทํางานขุด-ตักดินใสรถบรรทุกชนิดกระบะเททาย (Dump Truck) เพื่อ
เคลื่อนยายดินไปจุดทิ้งดินที่กําหนด (หรือจุดทิ้งดินชั่วคราว) จนถึงชัน้ หินผุ ตําแหนงทิ้งดินแสดงใน
รูปที่ 6 (ตําแหนงทิ้งดินกําหนดโดย กฟผ.ในวันดูสถานที)่
 ใชรถแบ็คโฮขนาดใหญตักหินผุใสรถบรรทุกชนิดกระบะเททาย (Dump Truck) เพื่อเคลื่อนยายหิน
ผุไปจุดทิ้งดินที่กําหนด (หรือจุดทิ้งดินชั่วคราว) จนถึงชัน้ หินแข็ง
 ตรวจสอบชั้นหินแข็งเกี่ยวกับชนิดหิน ความแข็ง ลักษณะการเรียงตัวของชั้นหิน รอยซึมของน้าํ
และรอยแตกตางๆ (ถามี)
 ติดตั้งเครื่องวัดความเร็วอนุภาคและความดังของเสียงที่บริเวณตีนเขื่อนปาสักชลสิทธิ์ (Dam toe)
บริเวณอาคารทอระบายน้าํ ลงลําน้ําเดิม และใกลเคียง ตําแหนงละ 1 เครื่อง (ตําแหนงติดตั้ง
อุปกรณแสดงในรูปที่ 7)14
 ตรวจสอบสภาพอาคารทอระบายน้ําลงลําน้ําเดิมพรอมบันทึกตําแหนงและขนาดรอยราว (ถามี)
ติดตั้งนั่งรานและผาใบบังอาคารดานที่มีการระเบิด
 ตรวจวัดคาแรงดันน้ําในตัวเขื่อนดวยอุปกรณ Piezometer ที่ติดตั้งไวแลว กับตรวจวัดคาระดับ
หมุดคันเขื่อน (Embankment measurement point) เพือ่ ใชพิจารณาคาการทรุดตัว (ตําแหนง
Piezometer และหมุดคันเขื่อนที่ติดตั้งไวแลวแสดงในรูปที่ 8)
 ทํา Field Trial Test ในบริเวณที่กําหนดซึ่งอยูหางจากอาคารทอระบายน้ําลงลําน้ําเดิม กับตีน
เขื่อนปาสักชลสิทธิ์ไปทางทิศใตประมาณ 130 เมตร กับ 190 เมตร ตามลําดับ (ประมาณ 400 ฟุต
กับ 580 ฟุต ตามลําดับ)15 รายละเอียดการทํา Field Trial Test แสดงในแผนงานดานเทคนิคเสนอ
ในขอ 6.2 ทั้งนี้ ตามมาตรการดานความปลอดภัยเสนอในขอ 6.3

14
เครื่องวัดความเร็วอนุภาคและความดังของเสียงขณะทํา Field Trial Test มีจํานวน 4 เครื่อง และลดเหลือ 2 เครื่อง ขณะ
ทํางานจริง (ตําแหนงตรวจวัดเหลือเฉพาะที่บริเวณตีนเขื่อนปาสักชลสิทธิ์กับที่อาคารทอระบายน้ําลงลําน้ําเดิม)
15
การกําหนดระยะหางระหวางแปลงทดสอบระเบิดกับที่ตั้งเขื่อนและอาคารทอระบายน้ําลงลําน้ําเดิมพิจารณาจากผล
วิเคราะหอัตราเรงสูงสุดที่เกิดกับโครงสรางใหต่ํากวา 0.05g
-15-
6. ตรวจวัด Pore
pressure กับ
ตําแหนงและ
ระดับหมุดอางอิง
1. ทํางานขุด-ตักดิน จนถึงชัน ้ หินผุ
5. ตรวจสอบสภาพ
นําดินไปทิ้งในจุดที่กําหนด
อาคาร
2. ทํางานขุดชัน้ หิน ผุจนถึงชน หิน แข็ง
4. ติดตั้งเครื่องวัดความเร็ว 8. ตรวจวัดการ
อนุภาคและความดังของเสียง เปลี่ยนแปลง
ระดับดินเดิม + 31.0 รทก.
(approx.) Pore pressure
ชั้น ดิน slope 1: 1.5
กับตําแหนงและ
(V: H)
3. ตรวจสอบชนิด ระดับหมุดอางอิง
ชั้น หิน ผุ slope 1: 1.0 และรอยแตกในชั้น หิน

10. ประเมินผลกระทบกับโครงสรางเดิม
ชั้น หิน แข็ง Slope 1: 0.5 7. ทํา Field trial test 11. ทํางานระเบิดตอจนแลวเสร็จ
12. ตรวจสอบคาการทรุด ตัวของเขื่อนตออีก 1 เดือน
9. วิเคราะหคาสัมประสิทธิ์และ 13. ตรวจสอบอาคารทอระบายน้าํ ลงลําน้ําเดิม
คาคงทีข
่ องชั้น หิน 14. ซอม/ปรับปรุงสิ่งปลูกสรางที่ชํารุด (ถามี)
ใหกลับสูส ภาพเดิม

รูปที่ 5 ขั้นตอนทํางานขุดดินและระเบิดหิน

-16-
จุดทิ้ง ดิน

พื้นที่กอสรา ง

รูปที่ 6 ตําแหนงทิ้งดิน

-17-
แปลงทดสอบการระเบิด
ประมาณ 5.0x5.0 เมตร

CL อาคารทอระบายน้ําลงลํา น้ํา เดิม

Bifurcation

Valve chamber

Surge tank

อาคารโรงไ ฟฟา CL

ตําแหนงติด ตั้ง เครื่องวั ดความเร็วอนุภาค


และความดั งของเสีย ง

หมายเหตุ :
1. ตําแหนง ที่แสดงในรูป เปนตํ าแหนง ขณะทํ า Field Trial Test ซึ่งอาจมีก ารปรับเปลี่ย นตามความเหมาะสม
2. การทํา งานระเบิดจริง จะลดตํ าแหนงติ ดตั้งอุ ปกรณตรวจวัดเห ลือ 2 จุด

รูปที่ 7 ตําแหนงติดตั้งอุปกรณวัดความเร็วอนุภาค ความดังของเสียง และตําแหนงทดสอบการระเบิด


-18-
ตําแหนงตรวจวัด
Pore pressure ตําแหนงตรวจวัดบริเวณสันเชือ
่ น

ตําแหนงตรวจวัดบริเวณคันเขือ
่ น

หมายเหตุ
1. ตําแหนงติดตั้ง piezometer มีเฉพาะ Sta. 3+700 เมตร
2. ตําแหนงติดตั้งหมุดคันเขือ
่ น (Embankment measurement point) ที่พิจารณานํามา
ตรวจวัดคาการทรุดตัวของเขือ ่ นประกอบดวย
- บริเวณสันเขื่อน Sta. 1+900 กับ 2+100
- บริเวณคันเขื่อน Sta. 2+000

รูปที่ 8 ตําแหนงติดตั้ง Piezometer และหมุดคันเขื่อน

-19-
 ตรวจวัดแรงดันน้าํ (Pore pressure) ในตัวเขื่อน กับตําแหนงหมุดคันเขื่อน ทั้งกอนทํา Field Trial
Test ขณะทํา Field Trial Test และหลังทํา Field Trial Test
 วิเคราะหหาคาคงที่และคาสัมประสิทธิ์ K, C1 และ C2 ของชั้นหินในบริเวณที่ตงั้ โครงการจาก
ขอมูลความเร็วอนุภาคสูงสุดและความดังของเสียงที่ตรวจวัดไดขณะทํา Field Blasting Test เพื่อ
นํามาออกแบบงานระเบิดทีจ่ ะดําเนินการตอไป
 ประเมินผลกระทบกับโครงสรางเดิมจากผลตรวจวัดคาแรงดันน้าํ ในเขือ่ น คาการทรุดตัวของเขื่อน
และรอยแตกราวของอาคารทอระบายน้าํ ลงลําน้ําเดิม (ถามี)
 ทํางานระเบิดตามคาที่ออกแบบและผลกระทบที่ตรวจวัดได (ถามี) ทําการปรับแกเปนคราวๆ จน
งานระเบิดหินแลวเสร็จ บริเวณที่ตําแหนงระเบิดใกลขอบเขตชิ้นงาน จะปองกันการระเบิดสวนเกิน
(Over brake) โดยทํา Presplit และ/หรือ Smooth Wall Blasting และ/หรือ Line drilling ซึ่ง
โดยรวมเปนการเจาะหลุมระเบิดในตําแหนงใกลๆ กัน เชน ทุกระยะ 0.3 – 0.5 เมตร16 ใหเกิด
ระนาบที่มีกาํ ลังต่ํากวาระนาบอื่น แลวทําการระเบิดกอน หรือพรอมกัน หรือหลังงานระเบิดสวน
ใหญขึ้นกับเทคนิคที่เลือกใช (เทคนิคการเจาะใหไดรูปรางที่ตองการแสดงในรูปที่ 9)
 ตรวจสอบคาการทรุดตัวของเขื่อนที่หมุดคันเขื่อนทุก 7 วัน ตออีก 1 เดือน
 ตรวจสอบรอยราวอาคารทอระบายน้ําลงลําน้าํ เดิม ทําการซอมแซมกรณีพบรองรอยชํารุด

16
ระยะหางระหวางหลุมเจาะจะพิจารณาตามสภาพความแข็งของชั้นหิน
-20-
การทํา Smooth Wall blasting

การทํา Line drilling

การทํา Presplit

รูปที่ 9 เทคนิคการระเบิดหินใหไดรูปรางที่ตองการ (Contour Blasting)

-21-
6.2 แผนงานดานเทคนิค
ผูรับจางวางแผนทํางานทดสอบคา K, C1, C2 ของงานระเบิดหินบริเวณเขื่อนปาสักชลสิทธิ์ โดยเลือก
ตําแหนงทดสอบหางจากอาคารทอระบายน้ําลงลําน้ําเดิมประมาณ 130 เมตร และหางจากตีนเขื่อนปาสัก
ชลสิทธิ์ประมาณ 190 เมตร (ดูรูปที่ 7) ซึ่งเปนจุดไกลสุดของงานที่ทําใหมีผลกระทบกับโครงสรางนอยที่สุด
และในกรณีเขื่อนปาสักชลสิทธิ์ก็ทําใหมีทางระบายน้ําเดิมชวยดูดซับแรงสั่นสะเทือนในดานที่ใกลที่สุด
การทดลองทําโดยเจาะรูขนาด 3” จํานวน 5 แถว ๆ ละ 4 หลุม รวม 20 หลุม ระยะหางระหวางแถว
1.0 เมตร ระยะหางระหวางหลุมในแถวเดียวกัน 1.25 เมตร (ดูรูปที่ 10) ลึก 1.86 เมตร (ลึกกวาระดับที่ตองการ
0.36 เมตร) วัตถุระเบิดที่ใสในหลุมประกอบดวย Bottom charge สูง 0.03 เมตร แอมโมเนียม
ไนเตรท สูง 0.13 เมตร รวมความสูง 0.16 เมตร (ปริมาณวัตถุระเบิดหลุมละ 0.6 กิโลกรัม) สวนที่เหลือเปนดิน
หรือทรายฝงกลบจนถึงปากหลุม (ดูรูปที่ 11) สําหรับวงจรควบคุมการจุดระเบิดวางแผนใหระเบิดพรอมกันครั้ง
ละ 2 หลุม โดยตั้งจังหวะหนวงชุดละ 25 มิลลิวินาที (แคตตาลอกวัตถุระเบิดแสดงในภาคผนวก ก)
ขอมูลที่ไดจากการทดลองดังกลาว (จํานวนการระเบิด 10 ครั้ง กับผลตรวจวัด 4 จุด รวม 40 ขอมูล)
จะถูกนําไปวิเคราะหหาคาสัมประสิทธิ์และคาคงที่สําหรับใชในการออกแบบงานระเบิดตอไป

รูปที่ 10 แปลนหลุมระเบิดและการตัง้ วงจรระเบิดสําหรับการทํา Field Trial Test

-22-
รูปที่ 11 หลุมระเบิดสําหรับการทํา Field Trial Test
ความเร็วสูงสุดของอนุภาค
การทดลองดวยน้ําหนักวัตถุระเบิด 1.2 กิโลกรัม (ระเบิดพรอมกัน 2 หลุมๆ ละ 0.6 กิโลกรัม) ไดคา
ความเร็วสูงสุดของอนุภาคเมื่อคํานวณดวยสมการ (2) โดยใชคา K = 200 คา B = 0.517 ที่อาคารทอระบายน้ํา
ลงลําน้ําเดิม (ระยะหาง 130 เมตร) กับที่ตีนเขื่อนปาสักชลสิทธิ์ (ระยะหาง 190 เมตร) เทากับ 5.7 มิลลิเมตร/
วินาที กับ 2.8 มิลลิเมตร/วินาที ตามลําดับ

17
เปนคาแนะนําของ USBM (US Bureau of Mine) ในกรณี Soft rock
-23-
ความดังของเสียง
การทดลองดวยน้ําหนักวัตถุระเบิด 1.2 กิโลกรัม (ระเบิดพรอมกัน 2 หลุมๆ ละ 0.6 กิโลกรัม) ไดคา
ความดังของเสียงเมื่อคํานวณดวยสมการ (9) โดยใชคา C1 = 160 คา C2 = 2518 ที่อาคารทอระบายน้ําลงลํา
น้ําเดิม (ระยะหาง 130 เมตร) กับที่ตีนเขื่อนปาสักชลสิทธิ์ (ระยะหาง 190 เมตร) เทากับ 108 dBL กับ 104
dBL ตามลําดับ
มาตรการปองกันหินปลิว
ผูรับจางเสนอใชแผนเหล็กขนาด 8000x4000x19 มิลลิเมตร19 วางทับบนพื้นที่จุดระเบิดเพื่อปองกัน
หินปลิวแทนการใชผาปาน ตาขาย ลวดสลิง และถุงทราย ที่ระบุในเงื่อนไขเฉพาะงาน
ขอพิจารณาอื่น
เนื่องจากความเร็วของอนุภาค ( u ) มีการเปลี่ยนแปลงขนาดและทิศทางตามคาบเวลาคลื่น ประเด็นที่
ตองพิจารณาตามมาจึงเปนขนาดการเคลื่อนที่ ( u ) ความถี่ (  ) อัตราเรง ( u ) ซึ่ง Charles H. Dowding
เสนอวาสามารถคํานวณไดจากสมการ (16) - (20)20 ดังนี้
0.7
 4.66 
1.1 1.4 0.7
 100   10000   W 
u  0.0028        (16)
 R   c   10    
0.48
 4.66 
1.46 0.48
 100  W 
u  0.72      (17)
 R   10    
0.28
 4.66 
1.84 1.45 0.28
 100   c  W 
u  314        (18)
 R   10000   10    
u max  u max 2  (19)
umax  u max 2  (20)
เมื่อ
u ขนาดการเคลื่อนที่ นิ้ว
u ความเร็วอนุภาค นิ้ว/วินาที
u ความเรงของอนุภาค นิ้ว/วินาที2
R ระยะถึงจุดสังเกต ฟุต

18
เปนคาแนะนําของ USBM (US Bureau of Mine) ในกรณี Soft rock
19
เปนขนาดพิเศษที่เกิดจากการนําแผนเหล็กขนาด 2x8 เมตร หนา 6 หุน มาเชื่อมตอกัน
20
Charles H. Dowding, Blast Vibration Monitoring and Control, Prentice-Hall, Inc., 1985, p.79 - 81
-24-
c ความเร็วคลืน่ ที่เกิดจากการระเบิด 12,000 ฟุต/วินาที
W น้ําหนักวัตถุระเบิด ปอนด/จังหวะหนวง
 ความหนาแนนของหิน 4.5 slug/ft3
 ความถี่ Hz
เนื่องจากการประเมินหาขนาดแรงที่กระทํากับโครงสรางตาม Pseudo Static Method กําหนดใหแรง
ที่กระทํากับโครงสรางแปรผันตามคามวลกับคาสัมประสิทธิ์ k h ซึ่งมักกําหนดใหเทากับอัตราเรงในแนวราบ (ดู
สมการ (21))21 ประกอบกับคาดวาการออกแบบโครงสรางเดิมเผื่อแรงแผนดินไหวไวนอยเพราะพื้นที่โครงการมี
ความเสี่ยงแผนดินไหวอยูในระดับต่ํา (ดูรูปที่ 12) การออกแบบงานระเบิดสําหรับการทดลอง จึงพิจารณาให
อัตราเรงที่โครงสรางเดิมมีคาไมเกิน 0.05g
Fh  k h m (21)
เมื่อ
Fh ขนาดแรงที่กระทําในแนวราบ
kh คาสัมประสิทธิ์แรงที่กระทําในแนวราบ มักกําหนดใหเทากับอัตราเรงในแนวราบ
m มวลของโครงสรางที่พิจารณา

ที่มา: คัดจากคูมือของโปรแกรม KU Slope


รูปที่ 12 พื้นที่เสี่ยงแผนดินไหวในประเทศไทย

21
มีบทความวิชาการเสนอวาไมสามารถใชวิธี Psudo Static Method ตามหลักการของ Terzaghi ในอุตสาหกรรมระเบิด
เพราะอัตราเรงที่เกิดจากแรงระเบิดสูงพรอมกับมีความถี่สูงจึงทําใหผลกระทบจากแรงระเบิดต่ํา (L.L. Oriard, Influence of
Blasting on Slope Stability: State of the Art, The American Institute of Mining, Metallurgical, and Petroleum
Engineeers, Inc., 1982
-25-
การออกแบบงานระเบิดภายใตขอพิจารณาขางตน ไดความเร็วของอนุภาค ความดังของเสียง ขนาด
การเคลื่อนที่ ความถี่ อัตราเรง ตามแสดงในตารางที่ 7
ตารางที่ 7 การเคลื่อนทีข่ องอนุภาคจากการทดลองระเบิด
รายการ อาคารทอระบายน้ําลงลําน้ําเดิม ตีนเขื่อนปาสักชลสิทธิ์

ความเร็วอนุภาค มม./ว. 5.7 2.8


ความดังของเสียง dBL 108 104
ขนาดการเคลื่อนที่ มม. 4.475x10-3 2.976x10-3
ความถี่ Hz 41 – 67 36 – 58
ความเรงอนุภาค g 0.050 0.025
หมายเหตุ: ความเร็วอนุภาคใชคาที่คํานวณไดจากสมการ (2) แตเพื่อใหสอดคลองกับงานศึกษาของ Dowding C.H. ความถี่
ซึ่งคํานวณจากสมการ (19) และ (20) ใชความเร็วอนุภาคที่คํานวณไดจากสมการ (17)
ที่มา: การคํานวณของผูรับจาง

6.3 มาตรการดานความปลอดภัย
มาตรการดานความปลอดภัยแบงเปน (1) มาตรการดานการบริหารจัดการ (2) มาตรการเก็บรักษา
วัตถุระเบิด (3) มาตรการขนยายและใชงาน (4) มาตรการควบคุมงานจุดระเบิด และ (5) มาตรการฉุกเฉิน
มาตรการดานการบริหารจัดการ
 มีวุฒิวิศวกรเหมืองแร22ทํางานเปนทีป่ รึกษางานระเบิดหิน และมีผูควบคุมการใชวัตถุระเบิด
ปฏิบัติงานประจําในหนวยงาน23 (ประวัติและสําเนาใบอนุญาตแสดงในภาคผนวก ข.)
 จัด จป.วิชาชีพ ทํางานรวมกับวิศวกรเหมืองแรและผูควบคุมการใชวัตถุระเบิด
 จัดเจาหนาที่รกั ษาความปลอดภัยทํางานควบคุมพืน้ ทีก่ อ สราง
 จัดอุปกรณปฐมพยาบาลไวในหนวยงานกอสราง
 จัดใหมีแผนฉุกเฉินเพื่อรองรับเหตุรายแรง (ถามี)
 จัดประชุมแจงประชาคมทีเ่ กีย่ วของทราบ
การเก็บรักษาวัตถุระเบิด
 ที่ตั้งโรงเก็บวัตถุระเบิดอยูหา งจากชุมชน หางจากตนไมใหญ และมีการถางหญาโดยรอบให
ปลอดภัยจากไฟไหม และฟาผา

22
นายสมัชชา พิมพทนต ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม วม. 219
23
นายบุญธรรม คนธสิงห ใบอนุญาตเปนผูควบคุมการใชวัตถุระเบิดในงานเหมืองแร เลขที่ 0338/2550
-26-
 กอสรางโรงเก็บชนวน วัตถุระเบิด และแอมโมเนียมไนเตรท แยกคนละหลัง โดยมีคันดินและรั้วกัน้
ลอมรอบ ทั้งหมดเปนไปตามแบบมาตรฐานทีก่ ระทรวงมหาดไทยและกระทรวงกลาโหมกําหนด
(ดูรูปที่ 13)
 มีปายเตือนที่เก็บวัตถุระเบิด
 มียามรักษาความปลอดภัย ตลอด 24 ชั่วโมง
 มีระบบเบิกจายวัตถุระเบิดอยางรัดกุม เชน กําหนดใหเบิกไดเฉพาะบุคคลที่มีหนาที่

108 m

80 m
โรงเก็บ วัตถุ
ระเบิด
40 m

รูปที่ 13 ที่ตั้งโรงเก็บวัตถุระเบิด

-27-
การขนยายและการใชงาน
 การขนยายและการใชวัตถุระเบิดตองกระทําโดยผูชํานาญงานและอยูภ ายใตการควบคุมอยาง
ใกลชิด
 มีปายเตือนเพือ่ แจงกําหนดการและรายละเอียดสัญญาณตางๆ ของงานระเบิดใหเห็นไดอยาง
ชัดเจนทัง้ ในบริเวณเสนทางเขาออกและภายในรัศมี 100 เมตร จากพืน้ ที่ทาํ การระเบิด
 หามทําการอัดระเบิดขณะมีฝนฟาคะนอง ในชวงฤดูฝนที่อากาศเปลีย่ นแปลงรวดเร็วหากทํางาน
อัดระเบิดแลวพบวาสภาพอากาศเลวรายใหขออนุมัติผคู วบคุมงานทําการระเบิดกอนเวลา
 งดใชวิทยุสื่อสารหรือโทรศัพทเคลื่อนที่ใกลพื้นที่แปลงอัดระเบิด
การควบคุมความปลอดภัยขณะทําการจุดระเบิด
 ทําการจุดระเบิดในเวลาที่กาํ หนด ไดแก 11.00 - 12.00 น. และ 17.00 - 18.00 น. ยกเวน กรณี
ฉุกเฉินซึง่ ตองขออนุญาตผูควบคุมงานทําการระเบิดนอกเวลาที่กาํ หนด
 ตรวจสอบวงจรไฟฟาของงานระเบิดใหถูกตองเรียบรอย โดยใชโอหมมิเตอรสําหรับเช็ควงจรระเบิด
เทานัน้
 ปองกันหินปลิว Fly Rock Protection โดยนําแผนเหล็กขนาด 8000x4000x19 มิลลิเมตร วางทับ
หลุมระเบิด
 ยายเครื่องจักรและบุคคลออกนอกพื้นที่ และปองกันบุคคลอื่นเขาพืน้ ที่โดยปดกั้นเสนทางดวย
เจาหนาที่รักษาความปลอดภัยพรอมธงสัญญาณ
 ใหสัญญาณระเบิดโดยเปดหวอสัน้ 15 วินาที 3 ครั้ง
 หลังการระเบิดอยางนอย 15 นาที ทําการตรวจสอบผลการระเบิดถาการจุดระเบิดสมบูรณให
สัญญาณหวอ ยาว 20 วินาที 1 ครั้ง
 กรณีที่มีระเบิดดานใหทําการตรวจสอบและแกไขแลวเริ่มการจุดระเบิดอีกครั้งหนึง่ โดยมีขั้นตอน
การควบคุมความปลอดภัยเหมือนเดิมทุกประการ
 ตรวจวัดความเร็วอนุภาค (Critical Peak Velocity) และ ความดัง Air Blast overpressures ทุก
ครั้งที่มีการระเบิดและนําสงใหวิศวกรควบคุมงานทุกครั้ง
มาตรการฉุกเฉิน
กรณีมีอุบัติเหตุจากการทํางานระเบิด เชน จากหินปลิว จากแรงระเบิด ฯลฯ มาตรการที่ใชเปนการ
ดําเนินงานตามแผนฉุกเฉินแสดงในรูปที่ 14 ซึ่งโดยรวมเริ่มจากการตรวจสอบอาการผูไดรับบาดเจ็บเบื้องตน
ตอจากนั้นเปนการนําผูไดรับบาดเจ็บสงโรงพยาบาล

-28-
แผนปฏิบัติการเหตุฉุกเฉินกรณีเกิด อุบัติ เหตุ และเจ็บปวย
Contingency Plans for Accident and injuries

พนักงานที่เกิด อุบัติเ หตุแ ละ


เจ็บปวย

เพื่ อนรวมงานรีบปด เครื่อ งจักรหรื อตัด สวิท ชไฟ


(2 นาที)
(กรณีเกิดจากเครื่องจักรหรือเครื่องมืออุปกรณ)
แลวแจงหั วหนา งานให ทราบโดยดวน

หัวหนางานตั ดสินใจชวยเหลือ แลว แตกรณี


( 1 นาที)
• กรณีเกิดจากเครื่องจักร
• กรณีเกิดจากไ ฟฟา ช็อต ชวยเหลื อได
• กรณีเกิดจากตกจากที่สู ง
รีบดําเนินการตามวิธีที่ ปลอดภัย
• กรณีเกิดจากโดนของมีคมบาด
โดยดวน
• กรณีเกิดจากเปนไข ตัวรอนสู ง
• กรณีเกิดจากลมชัก
• กรณีเกิดจากกระดูกส วนต างๆหัก

ชวยเหลื อไมไดรีบแจ งหาผูชวยผูอื่นที่มีความ รายงานผูบังคับบัญชา


ชํานาญ ( 1 นาที)
ผูจัดการ/วิศวกร โครงการ
• ผูชวยวิ ศวกรโคร งการ นายกัมปนาท ชี วะปรีช า
นายชัย ธรรม ไสยจรัญ โทร 0 8 6318 8536 โทร 0 8 1889 7920
• จป.วิช าชี พ
นายสหรัฐ เทีย วประสงค โทร 0 8 1536 9567

อาการเบา 3 นาที ถึงหองพยาบาล


นําตัว เขาหอ งพย าบาลเพื่อทํ าการ
ปฐมพยาบาลเบื้อ งตน

รถนําสงโรงพยาบาล
อาการหนักใช เวลาทั้ง หมด 10 นาทีถึง
ปายทะเบีย นรถ โรงพยาบาลอํา เภอพั ฒนานิคม
ถท 8459 โทร 036 491 341 
กทม.

รูปที่ 14 แผนฉุกเฉิน

-29-
7. การประเมินผลกระทบที่เกิดกับโครงสรางเดิม
เงื่อนไขเฉพาะงานของ กฟผ.ที่กําหนดใหความเร็วสูงสุดของอนุภาคต่ํากวา 50 มิลลิเมตร/วินาที มี
สถานะเปนขีดจํากัดโดยพิจารณาวาหากการระเบิดกระทําภายในขอบเขตที่กําหนดก็จะไมมีผลกระทบกับ
โครงสรางเดิม
เกณฑขางตนมีที่มาจากงานวิจัยของ Langefors et al. (1958) – ดูตารางที่ 8 งานวิจัยของ Edward
and Northwood (1960) และ Nicholls et al. (1971) – ดูตารางที่ 9 แนวคิดของผลของงานวิจัยดังกลาวถูก
นํามาใชเปนคาขอบเขตที่ยอมใหในหลายประเทศ ตัวอยางเกณฑที่ยอมใหของโครงสรางชนิดตางๆ ในประเทศ
อินเดีย ออสเตรเลีย ฮังการี และรัสเซีย แสดงในตารางที่ 10 – 13 ตามลําดับ

ตารางที่ 8 งานวิจัยของ Langefors et al. (1958)


ลักษณะความเสียหาย ความเร็วอนุภาค
(มิลลิเมตร/วินาที)
No damage < 50
Fine crack 100
Crack 150
Serious Crack 225
ที่มา: อางถึงใน Pijush Pal Roy, Rock Blasting Effects & Operations, A.A. BALKEMA PUBLISHER, 2005, หนา 94

ตารางที่ 9 งานวิจัยของ Edward and Northwood (1960) กับ Nicholls et al. (1971)
พื้นที่ Edward and Northwood (1960) Nicholls et al. (1971)

Safe zone < 50 mm/s < 50 mm/s


Damage zone 100 – 150 mm/s > 50 mm/s
ที่มา: อางถึงใน Pijush Pal Roy, Rock Blasting Effects & Operations, A.A. BALKEMA PUBLISHER, 2005, หนา 94

ตารางที่ 10 Indian Standard Institute (1973)


ลักษณะชั้นหินที่ระเบิด ความเร็วสูงสุดของอนุภาค
(มิลลิเมตร/วินาที)
Soil, weathered or soft rock conditions 70
Hard rock conditions 100
ที่มา: อางถึงใน Pijush Pal Roy, Rock Blasting Effects & Operations, A.A. BALKEMA PUBLISHER, 2005, หนา 94

-30-
ตารางที่ 11 Australian Standard (AS A-2183)
ชนิดโครงสราง ความเร็วสูงสุดของอนุภาค
(มิลลิเมตร/วินาที)
Historical buildings and monuments and buildings of special value 2
House and low-rise residential buildings, commercial building not include below 10
Commercial buildings and industrial buildings or structure of reinforced concrete or 25
steel construction
ที่มา: อางถึงใน Pijush Pal Roy, Rock Blasting Effects & Operations, A.A. BALKEMA PUBLISHER, 2005, หนา 94

ตารางที่ 12 Hungarian standard


ชนิดโครงสราง ความเร็วสูงสุดของอนุภาค
(มิลลิเมตร/วินาที)
Construction demanding special protection, military, telephones, airports, dams, Extra opinion from expert
bridges which have length of more than 20 m
Statistically not solid damaged construction, temples, monuments, oil and gas wells 2
and up to o.17 MPa and below 0.7 MPa pressure in pipes (oil and gas)
Panel houses and statistically not fully determined structures 5
Statistically good condition structure, towers, electrical apparatus, water plant 10
RCC and structures concrete, tunnels, canals and other pipelines beneath the soil 20
surface greater than 0.7 m, opening beneath the sub-level
Public road, railway and electrical lines, telephone lines, ropeway 50
ที่มา: อางถึงใน Pijush Pal Roy, Rock Blasting Effects & Operations, A.A. BALKEMA PUBLISHER, 2005, หนา 95

ตารางที่ 13 Russian standard


ชนิดโครงสราง ความเร็วสูงสุดของอนุภาค (มิลลิเมตร/วินาที)
ซ้ําๆ ครั้งเดียว
Hospitals 8 30
Large panel residential buildings and children’s institute 15 30
Residential and public buildings of all types except large panels, 30 60
office and industrial buildings having deformations, boiler rooms
and high brick chimneys
Office and industrial buildings, high reinforced concrete pipes, 60 120
railway and water tunnels, traffic flyovers, saturated sandy slopes

-31-
ชนิดโครงสราง ความเร็วสูงสุดของอนุภาค (มิลลิเมตร/วินาที)
ซ้ําๆ ครั้งเดียว
Single storey skeleton type industrial buildings, metal and block 120 240
reinforced concrete structures, primary mine openings (service
life up to 10 years), pit bottoms, main entries, drifts
Secondary mine openings (service life up to 3 years), haulages 240 480
and drifts
ที่มา: อางถึงใน Pijush Pal Roy, Rock Blasting Effects & Operations, A.A. BALKEMA PUBLISHER, 2005, หนา 95

การพิจารณามาตรฐานตางๆ ขางตน มีขอสังเกต ดังนี้


 มีการเพิ่มคาความเร็วสูงสุดของอนุภาคสําหรับโครงสรางที่แข็งแรง เชน โครงสรางคอนกรีตเสริม
เหล็ก โครงสรางเหล็ก
 ในทางตรงขาม มีการลดคาความเร็วสูงสุดของอนุภาคสําหรับโครงสรางทีม่ ีความสําคัญ เชน
อาคารประวัตศิ าสตร อนุเสาวรีย โรงพยาบาล ฯลฯ
 กําหนดใหขนึ้ กับดุลพินจิ ของผูเชี่ยวชาญสําหรับโครงสรางที่มีความสําคัญมากๆ เชน เขื่อน
สนามบิน ที่ความยาวโครงสรางมากกวา 20 เมตร (มาตรฐานฮังการี)
 ยอมใหความเร็วสูงสุดของอนุภาคมากถึง 60 มิลลิเมตร/วินาที (มากกวาขอกําหนด กฟผ.) สําหรับ
เชิงลาดกอสรางดวยวัสดุไมมีแรงยึดเหนี่ยวที่อิ่มตัวดวยน้ํา (มาตรฐานรัสเซีย)
เนื่องจากการศึกษาพลวัตรของโครงสราง (Dynamic of Structure) พบวาขนาดของแรงที่กระทํากับ
โครงสร า งจากผลของแรงสั่ น สะเทื อ นขึ้ น กั บ อั ต ราเร ง 24 นอกจากนั้ น ความถี่ ข องแรงที่ ก ระทํ า ก็ มี ผ ลกั บ
พฤติกรรมของโครงสรางดวย เชน หากความถี่ของแรงที่กระทํากับโครงสรางเทากับความถี่ตามธรรมชาติ
(Natural Frequency) ก็จะทําใหโครงสรางเกิดการสั่นไหวเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนเกิดการวิบัติ25 แตจะมีผลลดลงถา
ความถี่เพิ่มขึ้น หรือไมมีผลกับโครงสรางเลยถาความถี่สูงมากๆ ตัวอยางหลักเกณฑที่มีการพิจารณาตัวแปร
อื่นๆ รวมกับคาความเร็วอนุภาค (PPV: Particle Peak Velocity) ที่ระบุในมาตรฐานของประเทศออสเตรเลีย
สวิสเซอรแลนด สหรัฐอเมริกา สวีเดน เยอรมัน และอินเดีย แสดงในตารางที่ 14 – 19 ตามลําดับ

24
การวิเคราะหดวยวิธี Pseudo Static Analysis ที่สมมุติใหขนาดของแรงที่กระทําในแนวราบคํานวณไดจากสมการ
Fh = kh.m โดย kh เปนสัดสวนของอัตราเรงที่เกิดจากแรงโนมถวง (g) และ m เปนมวลของโครงสราง
25
เปนพฤติกรรมที่ทําใหเกิด Resonance ในโครงสราง
-32-
ตารางที่ 14 Australian standard (Ca – 23-1967)
ชนิดโครงสราง คามากที่สุดที่ยอมรับ

Historical buildings and monuments and buildings of 0.2 mm displacement for frequency less than 15 Hz
special value
House and low-rise residential buildings, commercial 19 mm/s resultant PPV for frequency greater than 15
building not include below Hz
Commercial buildings and industrial buildings or 0.2 mm maximum displacement corresponds to 12.5
structure of reinforced concrete or steel construction mm/s PPV at 10 Hz and 6.25 mm/s at 5 Hz
ที่มา: อางถึงใน Pijush Pal Roy, Rock Blasting Effects & Operations, A.A. BALKEMA PUBLISHER, 2005, หนา 96

ตารางที่ 15 Swiss standard


ชนิดโครงสราง ชวงความถี่ PPV จากแรงระเบิด PPV จากการจราจร
(Hz) (mm/s) (mm/s)
Steel or reinforced concrete structure such as 10 – 60 30 -
factories, retaining walls, bridges, steel towers, open 60 – 90 30 – 40 -
channel underground tunnels and chambers 10 – 30 - 12
30 – 60 - 12 - 18
Buildings with foundation walls and floors in concrete, 10 – 60 18 -
walls in concrete or masonry, underground chambers 60 – 90 18 – 25 -
and tunnels with masonry lining 10 – 30 - 8
30 – 60 - 8 – 12
Buildings with masonry walls and wooden ceilings 10 – 60 12 -
60 – 90 12 – 18 -
10 – 30 - 5
30 – 60 - 5-8
Objects of historic interest or other sensitive structure 10 – 60 8 -
60 – 90 8 – 12 -
10 – 30 - 3
30 – 60 - 3–5
ที่มา: อางถึงใน Pijush Pal Roy, Rock Blasting Effects & Operations, A.A. BALKEMA PUBLISHER, 2005, หนา 96

-33-
ตารางที่ 16 USBM safe level criteria
ชนิดโครงสราง ความเร็วสูงสุดของอนุภาค (มิลลิเมตร/วินาที)
Frequency < 40 Hz Frequency > 40 Hz
Modern homes, dry wall interior 18.75 50
Other homes, plaster on wood lath construction 12.5 50
ที่มา: อางถึงใน Pijush Pal Roy, Rock Blasting Effects & Operations, A.A. BALKEMA PUBLISHER, 2005, หนา 96

ตารางที่ 17 Swedish standard


ชนิดโครงสราง เกณฑที่ยอมรับ
Amplitude Velocity Acceleration
(mm) (mm/s) (mm/s2)
Concrete bunker steel reinforced - 200 -
High rise apartment block-modern or concrete steel 0.4 100 -
frame design
Underground rock cavern roof hard rock span 15 – 18 m - 70 – 100 -
Normal block of flats-bricks or equivalent walls - 70 -
Light concrete building - 35 -
Swedish National Museum – building structure 25 - -
Swedish National Museum – Sensitive exhibits 5 - -
Computer center 0.1 - 2.5
Circuit breaker control room - - 0.5 – 2
ที่มา: อางถึงใน Pijush Pal Roy, Rock Blasting Effects & Operations, A.A. BALKEMA PUBLISHER, 2005, หนา 97

ตารางที่ 18 German DIN standard 4150


ชนิดโครงสราง ความเร็วสูงสุดของอนุภาค (mm/s) ที่ความถี่ตางๆ
<10 Hz 10 – 50 Hz 50 – 100 Hz
Office and industrial premises 20 20 – 40 40 – 50
Domestic houses and similar construction 5 5 – 15 15 – 20
Building that do not come under the above because of 3 3-8 8 – 10
their sensitivity to vibration
ที่มา: อางถึงใน Pijush Pal Roy, Rock Blasting Effects & Operations, A.A. BALKEMA PUBLISHER, 2005, หนา 97

-34-
ตารางที่ 19 DGMS (India) prescribed permissible limits of ground vibration
ชนิดโครงสราง Dominant excitation frequency, Hz
<8 Hz 8 - 25 Hz > 25 Hz
(A) Buildings/structures not belonging to owner
1. Domestic houses/structure 5 10 15
2. Industrial buildings 10 20 25
3. Objects of historical importance 2 5 10
(B) Building belonging to owner which limited span life
1. Domestic houses/structure 10 15 25
2. Industrial buildings 15 25 50
ที่มา: อางถึงใน Pijush Pal Roy, Rock Blasting Effects & Operations, A.A. BALKEMA PUBLISHER, 2005, หนา 98
มาตรฐานขางตนมีหลักการคลายกัน คือ ลดความเร็วสูงสุดของอนุภาคที่ความถี่ของแรงต่ําๆ และลด
ความเร็วสูงสุดของอนุภาคสําหรับโครงสรางที่มีความสําคัญ หรือไมแข็งแรง โดยไมมีมาตรฐานใดระบุเกณฑที่
ยอมรับไดของเขื่อนดินโดยตรง
เนื่องจากเขื่อนปาสักชลสิทธิ์และอาคารทอระบายน้ําลงลําน้ําเดิมเปนโครงสรางที่มีความสําคัญและ
หากเสียหายจะมีผลกระทบตอสาธารณะเปนอยางมาก นอกจากการดําเนินงานตามเกณฑที่ระบุในเงื่อนไข
เฉพาะงาน ผูรับจางจึงทําการประเมินผลกระทบตอโครงสรางเสนอในขอ 7.1 กับ 7.2 เสนอในหัวขอตอไป

7.1 ผลกระทบตอเขื่อนปาสักชลสิทธิ์
การประเมินผลกระทบตอเขื่อนปาสักชลสิทธิ์ แบงเปน 2 รายการ ประกอบดวย
 ความถี่ตามธรรมชาติของเขือ่ นปาสักชลสิทธิ์
 ผลกระทบตอแรงดันน้าํ
ความถี่ตามธรรมชาติของเขื่อนปาสักชลสิทธิ์
การประเมินความถี่ตามธรรมชาติของเขื่อนปาสักชลสิทธิ์ตามวิธีของ Makdisi and Seed (1979)26
โดยสมมุติใหคา Shear Modulus (G) ของดินที่ใชทําตัวเขื่อนสูงสุดเทากับ 160,000 kPa น้ําหนักจําเพาะของ
ดินตัวเขื่อน 19.65 kN/m3 และความสูงตัวเขื่อน 18 เมตร ไดคา Shear strain 0.02% และไดคาบเวลาของ
ความถี่ตามธรรมชาติประมาณ 0.18 วินาที คิดเปนความถี่ 5.7 รอบตอวินาที
เนื่องจากความถี่ธรรมชาติต่ํากวาความถี่ของแรงที่กระทํากับเขื่อนมาก ผลกระทบที่เกิดจากแรงระเบิด
จึงอยูในระดับต่ํา

26
Braja M. DAS, G.V. Ramana, Principles of Soil Dynamics, 2nd edition, Cengage Learning, 2011, p. 513 - 518
-35-
ผลกระทบตอแรงดันน้ํา
เมื่ออนุภาคดินและน้ําสั่นสะเทือนจากแรงระเบิด เนื่องจากอนุภาคดินกับน้ําสั่นไหวดวยคาบเวลาไม
เทากัน ลักษณะดังกลาวสงผลทําใหแรงดันน้ํา (Pore pressure) ในมวลดินเปลี่ยนแปลง ซึ่งโดยที่การ
เปลี่ยนแปลงแรงดันน้ําภายใตภาวะหนวยแรงเคนรวม (total stress) คงที่ จะทําใหหนวยแรงเคนประสิทธิผล
(Effective stress) กับกําลังรับแรงเฉือน (Shear strength) ลดลง ตามสมการ (22) กับสมการ (23) จึงควรมี
การพิจารณาผลกระทบที่อาจเกิดกับแรงดันน้ํา
   '  (22)
  c   ' tan  (23)
เมื่อ
 หนวยแรงเคนรวม (Total stress)
' หนวยแรงเคนประสิทธิผล (Effective stress)
 แรงดันน้าํ (Pore pressure)
 กําลังรับแรงเฉือน (Shear strength)
c คาแรงยึดหนวย (Cohesion)
 มุมแรงเสียดทาน
งานศึกษาของ Prakash ซึ่งทําโดยจุดระเบิดหนัก 2 กิโลกรัม ในดินทรายที่ความลึก 6 เมตร บริเวณ
ใกลเขื่อน Obra (ความเร็วสูงสุดของอนุภาคที่ระยะ 20 เมตร ประมาณ 16 มิลลิเมตร/วินาที) แลววัดแรงดันน้ํา
ที่ระยะและความลึกตางๆ (ดูรูปที่ 14) พบวาแรงดันน้ําเปลี่ยนแปลงสูงสุดประมาณรอยละ 60 ของหนวยแรง
ประสิทธิผลที่ตําแหนงหลุมระเบิด แลวคอยๆ ลดลงตามระยะทาง โดยมีคาลดลงเหลือ 0 ที่ระยะ 20 เมตร
สําหรับ piezometer ติดตั้งที่ความลึก 5.5 เมตร แตคงระดับรอยละ 10 ที่ระยะทางมากกวา 30 เมตร สําหรับ
piezometer ติดตั้งที่ระดับความลึก 2.5 เมตร
การทบทวนวิธีประเมินผลกระทบของแรงระเบิดที่มีตอแรงดันน้ําในมวลดินซึ่งดําเนินการโดย US
Bureau of Reclamation ระบุวายังไมมีวิธีที่นาเชื่อถือ คําแนะนําของการทํางานระเบิดในบริเวณที่แรงดันน้ํามี
ผลกระทบกับคาเสถียรภาพของคันดินประกอบดวย27

27
Bureau of Reclamation, US Department of Interior, Review of present practices used in predicting the effects of
blasting on pore pressure, Engineering Research Center, p. 11 - 12
-36-
 ไมแนะนําใหทาํ การระเบิดใกลเขื่อนที่ตั้งบนดินที่มีความออนไหวตอ Liquefaction กรณีจําเปน
ควรควบคุมความเร็วสูงสุดของอนุภาคใหต่ํากวา 25 มิลลิเมตร/วินาที ควรวัดคาแรงดันน้าํ เปน
ระยะๆ และควรทําการระเบิดครั้งตอไปเฉพาะเมื่อแรงดันน้าํ ลดลงจนอยูในเกณฑปกติ
 สําหรับงานระเบิดใกลเขื่อนที่เปนดินทรายแนนปานกลางและทรายแปง ควรควบคุมความเร็ว
สูงสุดของอนุภาคใหต่ํากวา 50 มิลลเมตร/วินาที และควรวัดคาแรงดันน้ําที่ตัวเขื่อนเปนระยะๆ
กรณีพบวาแรงดันน้ําเพิ่มขึน้ มาก ใหรอจนแรงดันน้ําลดลงจนอยูในภาวะปกติแลวจึงทําการระเบิด
ตอไป
 สําหรับเขื่อนทีไ่ มออนไหวตอแรงสั่นสะเทือน ความเร็วสูงสุดของอนุภาคสามารถเพิ่มขึ้นไปถึง 100
มิลลิเมตร/วินาที และควรวัดคาแรงดันน้าํ ตลอดเวลาทีม่ กี ารระเบิด

รูปที่ 15 ความสัมพันธระหวางแรงดันน้ํากับระยะทาง
ของวัตถุระเบิดขนาด 2.4 ก.ก. (60% gelatin) ที่ Obra Dam28
เนื่องจากตําแหนงระเบิดจุดที่ใกลที่สุดอยูหางจากตีนเขื่อนปาสักชลสิทธิ์มากกวา 50 เมตร การ
อนุมานจากแผนภูมิแสดงในรูปที่ 14 ไดขอสรุปวาการเปลี่ยนแปลงแรงดันน้ําอยูในระดับต่ํากวารอยละ 10 ของ
หนวยแรงประสิทธิผล
การพิจารณาคําแนะนําของ USBM ไดขอสรุปวาการระเบิดเพื่อกอสรางโรงไฟฟาที่เขื่อนปาสักชลสิทธิ์
สามารถดําเนินการไดโดยมีการวัดแรงดันน้ําตลอดเวลาที่ทําการระเบิด และอาจยืดเวลาการระเบิดรอบตอไป
หากพบวาแรงดันน้ําเปลี่ยนแปลงสูงกวาเกณฑที่ยอมรับได

28
Prakash, S., Soil Dynamics, McGraw-Hill Book Company, New York, NY, 1981 อางถึงใน Bureau of Reclamation,
US Department of Interior, Review of present practices used in predicting the effects of blasting on pore
pressure, Engineering Research Center, p. 21
-37-
7.2 ผลกระทบตออาคารทอระบายน้าํ ลงลําน้ําเดิม
การประเมินผลกระทบตออาคารทอระบายน้ําลงลําน้ําเดิม มี 2 รายการ ประกอบดวย
 การประเมินคาความถี่ธรรมชาติ
 การประเมินคา Dynamic Load Factor
การประเมินคาความถี่ธรรมชาติ
การประเมินคาความถี่ของธรรมชาติของอาคารทอระบายน้ําลงลําน้ําเดิมดวยสมการ29 (24) – (26) ได
ความเร็วเชิงมุมประมาณ 12.4 เรเดียน/วินาที คิดเปนความถี่ 2 รอบ/วินาที เนื่องจากความถี่ตามธรรมชาติ
นอยกวาความถี่ของแรงที่เกิดจากการระเบิด ลักษณะดังกลาวชวยลดผลกระทบของแรงพลวัตรที่กระทํากับ
โครงสราง
k
 (24)
m
24 EI c 12   1
k (25)
h 3 12   4
Ib
 (26)
4I c

เมื่อ
 ความเร็วเชิงมุมของความถีต่ ามธรรมชาติ เรเดียน/วินาที
k Stiffness ของโครงสราง กิโลนิวตัน/เมตร
m มวลของโครงสราง กิโลกรัม/ตารางเมตร
E โมดูลัสยืดหยุน ของคอนกรีตเสริมเหล็ก กิโลนิวตัน/ตารางเมตร
Ic โมเมนตอนิ เนอรเชียของเสา เมตร4
Ib โมเมนตอนิ เนอเชียของคาน เมตร4
h ความสูงของอาคาร เมตร
 อัตราสวนคาโมเมนตอนิ เนอเชียของคานและเสาที่จุดตอ

29
Anil K. Chopra, Dynamics of Structures: Theory and Applications to Earthquake Engineering, Pearson/ Prentice
Hall, 2007, p.45
-38-
การประเมินคา Dynamic Load Factor
การประเมินคา Dynamic Load Factor (DLF) จากคาความเร็วเชิงมุมตามธรรมชาติ 12.5 เรเดียน/
วินาที และความเร็วเชิงมุมของแรงที่เกิดจากการระเบิด 314 เรเดียน/วินาที30 ตามสมการ (27) ไดคา DLF อยู
ในชวง ± 0.04 (ดูรูปที่ 16) ลักษณะดังกลาวแสดงวาแรงพลวัตรที่เกิดจากการระเบิดมีผลกระทบกับโครงสราง
ไมมาก
การประเมินผลกระทบกับอาคารทอระบายน้ําลงลําน้ําเดิมพิจารณาวาการระเบิดหินในบริเวณที่ตั้ง
โครงการสามารถดําเนินการไดโดยควบคุมความเร็วและอัตราเรงของอนุภาคใหอยูในชวงคาที่ปลอดภัย

1   
DLF   sin  t  sin t  (27)
  2
 
1    
    

เมื่อ
DLF Dynamic Load Factor
 ความเร็วเชิงมุมของแรงที่กระทํากับโครงสราง เรเดียน/วินาที
 ความเร็วเชิงมุมของความถี่ธรรมชาติ เรเดียน/วินาที
t เวลาใดๆ
0.05
0.04
0.03
0.02
0.01
DLF

0
‐0.01 0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5

‐0.02
‐0.03
‐0.04
‐0.05
Time (t)

รูปที่ 16 คา Dynamic Load Factor

30
คํานวณที่ความถี่ของแรงระเบิด 50 รอบ/วินาที
-39-

You might also like