You are on page 1of 7

การบงชี้และการประเมินความเสี่ยง (ตอน 6)

สุรชัย วิวัจนสิรินทร*
วศิน มหัตนิรันดรกุล**

จากเลมที่แลวมาหวังวาทานผูอานที่ติดตามตั้งแตตน ก็คงเขาใจวัตถุประสงคของกฎหมายการ
ประเมินความเสี่ยงของโรงงานอุตสาหกรรมที่ประกาศออกมาเพื่อใชกับโรงงานทั้ง 12 ประเภทแลว
และคงจะมีความเขาใจและสามารถใชเครื่องมือการประเมินความเสี่ยงทั้ง 6 เครื่องมือได หรือไมได
ทั้งหมดก็ไมเปนไร เพราะถาชํานาญเครื่องมือเหลานี้สัก 2-3 เครื่องมือก็นาจะเพียงพอที่จะบงชี้หรือ
ประเมินความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น พรอมทั้งสามารถกําหนดมาตรการปองกันและแกไขได ก็อยางที่
ไดเคยคุยกันไว คือ เมื่อรูปญหาวามีโอกาสเกิดอะไร ตนเหตุมาจากไหน ก็ควรจะสามารถกําหนด
มาตรการจัดการกับตนเหตุของปญหาที่เรียกวา “ การปองกัน” จุดประสงคคือ เพื่อไมใหเกิดปญหา
เกิดขึ้น จะไดมีเวลาไปนั่งจิบกาแฟแทนที่จะยุงอยูกับการตอสูกับปญหาที่เกิด เหนื่อยเปลาๆ นอก
จากจะกําหนดการป องกั น แลว ควรกําหนดมาตรการแกไขดวย เผื่ อฟลุค ถาปองกัน แลวยังเกิ ด
ปญหาขึ้นมาอีกจะไดใชมาตรการดังกลาวตอสูกับปญหา เพื่อลดความสูญเสีย นั้นคือ “การแกไข”

ถาใครเคยทํางานกับโรงงานที่มีความเสี่ยงสูง ก็จะคุนเคยกับคําวา “Prefire Plan” ดี ก็ใชหลัก


การเดียวกันคือ ใหเปนเปนคนมองโลกในแงราย โดยมองวามีโอกาสเกิดปญหา เชน ไฟไหม ระเบิด
หรือ ก าซรั่ ว ตามจุ ด ต างๆ แล ว พิ จ ารณาที ล ะจุ ด ว า ถ าเกิ ด กรณี ดั งกล าวจะระดมทรั พ ยากร คน
อุปกรณตางๆ เขาระงับเหตุเชนใด กลับมาที่การประเมินความเสี่ยง โดยใชเครื่องมือแตละตัวที่เรา
ถนัด กับปญหาที่ยกมา จะเห็นวา ทุกเครื่องมือ การประเมินความเสี่ยง 6 เครื่องมือ จะใหเรากําหนด
2 หัวขอ ดังนี้ มาตรการปองกัน / ควบคุมอันตราย และ ขอเสนอแนะ

มาตรการปองกัน / ควบคุมอันตราย เปนมาตรการที่มีอยูเดิมในองคกร เพื่อปองกันมิใหเกิด


ความเสี่ยงที่ไดประเมินมา ซึ่งอาจจะแตกประเด็นใหพิจารณาวา ควรจะมาจากอะไรบาง ก็อาจกลับ
ไปพิจารณาที่มาของ Root Cause แตละตัว คือ 4 M (Man, Machine, Material และ Method) โดย
- Man : อาจดูจากกําหนด Qualification ของคนในตําแหนงทํางานนั้น หรือ พิจารณาจัด
อบรมใหมีความรูเพื่อปฏิบัติงานนั้นๆ
- Machine : ดูจากการกําหนดการออกแบบเครื่องจักร หรือ มาตรการบํารุงรักษาเครื่องจักร
เพื่อคงสภาพและสมรรถนะใหดีที่สุด ทั้งนี้ใหรวมไปถึงอุปกรณปองกัน อุปกรณควบคุม
และอุปกรณเพื่อความปลอดภัยตางๆ

* ผูจัดการสวนความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม บริษัท ปโตรเคมีแหงชาติ จํากัด (มหาชน)


** วิทยาลัยเทคนิคอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
- Method : กําหนดจากระเบียบ / วิธีก ารปฏิบั ติงานที่ใชในการควบคุม การทํางานหรือ
เครื่องจักรในจุดนั้นๆ ทั้งที่เปนเอกสารหรือไมเปนเอกสาร ซึ่งการเปนเอกสารก็จะดีกวา
เพราะคอนขางทําใหเชื่อถือไดวามีระเบียบวิธีการปฏิบัติงานนั้นจริง สื่อสารไดงาย และ
รวมไปถึงสามารถเก็บไวตรวจสอบหรือสื่อสารใหคนรุนตอๆ ไป
- Material : คงจะมองไปที่วัสดุ เครื่องใชตางๆ ที่นําไปใชตองใหเหมาะสมกับงานนั้นๆ

เฉพาะมาตรการปองกันที่มีอยูเดิมจากมุมมอง 4 M ขางตน และมุมมองในการแกไขที่มีอยู ให


กําหนดลงในชอง “มาตรการปองกันและควบคุมอันตราย” แตสวนที่ขาดอยูและนาจะนํามาเพิ่มเติม
รวมกับมาตรการที่มีอยูเดิม เพื่อเพิ่มพลังในการปองกันและแกไขปญหา ก็นํามาใสในชอง “ขอเสนอ
แนะ”

ขั้นตอนดําเนินการตอไปคือ การกําหนดแผนงานดานความปลอดภัย ซึ่งประกอบดวย แผน


ควบคุมความเสี่ยงและแผนลดความเสี่ยง ลองมาปรับแนวความคิดใหตรงกันดังนี้

1. แผนควบคุมความเสี่ยง มองจากมาตรการทั้งปองกันและแกไขที่มีอยูเดิม นับเปนของดีที่


มีอยู ฉะนั้น ก็ควรจะรักษาไวใหมีอยูตลอดไป และใหดึงมาตรการที่มีอยูในชอง “มาตรการปองกัน
ควบคุม และแกไข” มากําหนดเปนแผนงานควบคุมความเสี่ยง โดยกําหนดผูรับชอบ เพื่อกําหนดให
ดําเนินการเชนนั้นอยางตอเนื่อง
- กําหนดหัวขอเรื่องที่ผูรับผิดชอบตองดําเนินการ
- หลักเกณฑ มาตรฐานที่ควบคุม
- ผูตรวจ ติดตาม เพื่อตรวจติดตาม ผูรับผิดชอบดําเนินการตามความถี่กําหนด

หวังวามาตรการที่มีอยูจะไมหายไปไหน มั่นใจวามีการควบคุมการดําเนินการใหเปนอยาง
นั้นตลอดเวลา มีคําที่ดูยุงๆ อยู 2 คํา คือ คําวา “วัตถุประสงค” และ “เปาหมาย” โดย
วัตถุประสงค : หมายถึงสิ่งที่คิดวาจะดําเนินการหลังจากอานชื่อความเสี่ยง ความคิดแรกที่
อานชื่อความเสี่ยงและนึกถึงวาจะทําอยางไรกับมัน นั่นแหละครับคือ วัตถุ
ประสงค ซึ่งจะเปนทิศทางกวางๆ ในการดําเนินการ
เปาหมาย : หมายถึง จุดที่จะไปถึง ซึ่งตองวัดความสําเร็จได บางทานอาจบอกวา เปา
หมายตอง “SMART” คือ
S = Specific : เฉพาะเจาะจง

* ผูจัดการสวนความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม บริษัท ปโตรเคมีแหงชาติ จํากัด (มหาชน)


** วิทยาลัยเทคนิคอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
M = Measurable : วัดได
A = Acceptable : ยอมรับได
R = Realistic : เปนจริงและไปถึงได
T = Timeframe : มีกําหนดเวลาแลวเสร็จ

แตในเรื่องของแผนควบคุมความเสี่ยง เปนการกําหนดสิ่งที่เปนมาตรการที่มีอยูแลวใหชัด
เจนยิ่งขึ้นทันที ดังนั้น วัตถุประสงค จะเปนทิศทางกวางๆ ที่สอดคลองกับความเสี่ยง เปาหมาย คือ
สิ่งที่ตองการใหเปนและวัดได โดยสอดคลองกับวัตถุประสงค เชน
ความเสี่ยง : อันตรายจากแอมโมเนียรั่วไหล
วัตถุประสงค : ลดโอกาสเกิดแอมโนเนียมรั่วไหลสูพนักงาน และชุมชนโดยรอบ
เปาหมาย : จํานวนครั้งแอมโมเนียรั่วไหลเปนศูนย
มาตรการ : 1. แผนการตรวจสอบการรั่วไหลตามจุดตอและอุปกรณ (Leak Survey)
2. ตรวจสอบการทํางานของวาลวระบายแรงดัน
มาตรการนี้ไมจําเปนตองมีกําหนดแลวเสร็จเพราะมีอยูในปจจุบันอยูแลว

2. แผนลดความเสี่ยง เปนการกําหนดมาตรการปองกัน/แกไข เพิ่มเติมใหครบถวน เพื่อเพิ่ม


ประสิทธิภาพการจัดการกับความเสี่ยงนั้นๆ โดยกําหนดจากขอเสนอแนะที่ไดกําหนดขึ้น ขอเสนอ
แนะดังกลาวเปนไดทั้งการปองกัน/แกไข เชนเดียวกับแผนควบคุมความเสี่ยง แตแตกตางกันตรง
มาตรการในแผนลดความเสี่ยงเปนสิ่งที่ไมมีอยูเดิม การกําหนดวัตถุประสงค/เปาหมาย ดังนี้
วัตถุประสงค : เปนทิศทางการดําเนินการกวางๆ ที่สอดคลองกับความเสี่ยงและขอเสนอ
แนะในการปรับปรุง ยิ่งขอเสนอแนะชัดเจนมากเทาใด ก็ใหเขียนวัตถุ
ประสงคใหชัดเจนเทานั้น แตถาขอเสนอแนะมีหลายๆ ขอ ก็ใหเราเขียนวัตถุ
ประสงคไดกวางๆ
เปาหมาย : อธิบายวัตถุประสงคใหชัดเจนขึ้นพรอมกําหนดแลวเสร็จแนนอน ซึ่ง
กําหนดเวลาหลังมาตรการที่ชาที่สุดที่จะจัดทําขึ้น

เชน ความเสี่ยง : อันตรายจากการใชเชื้อเพลิงหุงตม


วัตถุประสงค 1 : กําหนดแผนการตรวจสอบอุปกรณในระบบเชื้อเพลิง
เปาหมาย : แผนการตรวจสอบอุปกรณระบบเชื้อเพลิงแลวเสร็จ ธันวาคม 2545
วัตถุประสงค 2 : กําหนดมาตรการปองกันการเกิดเชื้อเพลิงรั่วไหล/ไฟไหม
เปาหมาย : มาตรการปองกัน/แกไขการเกิดเชื้อเพลิงรั่วไหล/ไฟไหมแลวเสร็จภายใน
ธันวาคม 2545
* ผูจัดการสวนความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม บริษัท ปโตรเคมีแหงชาติ จํากัด (มหาชน)
** วิทยาลัยเทคนิคอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
มาตรการ 1. จัดทําแผนการตรวจสอบอุปกรณ
2. จัดทําแผนตรวจสอบพื้นที่
3. กําหนดการตรวจสอบการรั่วไหล
4. กําหนดปายหามทําใหเกิดประกายไฟ
5. ออกระเบียบคําสั่งเขตหามสูบบุหรี่

ลองดูตัวอยางการประเมินความเสี่ยงและการกําหนดแผนควบคุมความเสี่ยง แผนลดความ
เสี่ยง ในการขนยายแอมโมเนียจากรถบรรทุก โดย Tank Car สงใหกับบริษัท เพื่อจัดเก็บไวใชใน
ระบบทําความเย็น ซึ่งอาจมีแอมโมเนียรั่วไหลสูภายนอกกระทบตอพนักงานหรือชุมชนโดยรอบ

ไอแอมโมเนียรั่วไหล

การขนสงจากรถรั่วไหล การเติมจากรถรั่วไหล การจัดเก็บรั่วไหล

ไมไดตอทอ
Vent ไปที่รถ
รถเกิดอุบัติเหตุ ตอขอตอเขา ทอ/จุดตอรั่วเนื่อง /ถังชํารุด
ระบบทอ/ถังจาก
รั่วไหล ถังไมแนน จากเสื่อมสภาพ เสื่อมสภาพ
รถมีจุดรั่วไหล
เดินปมเติมเร็ว
เกินไป

ลืม ไมมีระเบียบ ทอ/จุดตอรั่วเนื่อง


ปฏิบัติงาน จากเสื่อมสภาพ
รถเกิดอุบัติเหตุ ทอหรือ/ถัง
เฉี่ยวชน ชํารุด

เดินปมดวย วาวลปลอด น้ําในบอ


อัตราไหลสูงไป ภัยทํางาน Basin แหง

อันตรายจากแอมโมเนียรั่วไหลขณะขนสง/จัดเก็บและเคลื่อนยาย

* ผูจัดการสวนความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม บริษัท ปโตรเคมีแหงชาติ จํากัด (มหาชน)


** วิทยาลัยเทคนิคอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
ผลการศึกษา วิเคราะห และทบทวนการดําเนินงานในโรงงานเพื่อการชี้บงอันตรายและการ
ประเมินความเสี่ยงดวยวิธี Fault Tree Analysis ในพื้นที่/เครื่องจัก/กระบวนการผลิต/ขั้นตอนการ
ปฏิบัติงาน/กิจกรรมของระบบทําความเย็นที่ใชแอมโมเนียเปนสารทําความเย็น โดยมีสถานการณ
จําลองของเหตุการณที่อาจกอใหเกิดอุบัติเหตุรายแรงขณะทําการขนสง จัดเก็บ และเคลื่อนยาย

สาเหตุที่ทําใหเกิดเหตุ อันตรายหรือผลที่ มาตรการปองกัน ขอเสนอแนะ การประเมินความเสี่ยง


การณที่อาจกอใหเกิด เกิดขึ้นตามมา และควบคุมอันตราย โอกาส ความ ผล ระดับ
อุบัติภัยรายแรง รุนแรง ลัพธ ความเสี่ยง
-ทอ/ถังแอมโมเนีย -แอมโมเนียรั่ว -มีระเบียบปฏิบัติงาน ตรวจสภาพรถ 3 2 6 2
จากรถบรรทุกสภาพ ไหลสูภายนอก การเติมแอมโมเนีย กอนเขาโรงงาน
ไมดีมีการรั่วไหล -อันตรายสูส ิ่งแวด - มีการใชอุปกรณ
ลอม/ชุมชน ปองกันสวนบุคคล
-ตรวจสอบพื้นที่ทุก
4 ชั่วโมง
-รถบรรทุกเกิดอุบัติ -กําหนดเสนทาง 3 3 9 3
เหตุเฉี่ยวชนทอ/ถัง เดินรถและจุดจอด
ของรถชํารุด -สํารวจพื้นที่และ
แกไขในจุดที่มี
โอกาสเกิดอุบัติ
เหตุเฉี่ยวชน
-ถังแอมโมเนียชํารุด -บํารุงรักษาเชิง 2 3 6 2
ปองกันถัง
แอมโมเนีย
-ตรวจสอบการรั่ว
ไหลในระบบทอ/
จุดตอ
-ขณะเติมแอมโน -ตรวจสอบขอตอ 3 2 6 2
เนียเขาถังโดยตอขอ ตางๆ ใหแนน
ตอไมแนน หนากอนเริ่มเติม
แอมโนเนียเขาถัง
-ระบบทอหรือขอตอ -บํารุงรักษาเชิง 3 2 6 2
ชํารุด ปองกันทอ/ขอตอ
………………….. …………………. ……………………. ……………….. ……. ……. …… ……..
………………….. …………………. ……………………. ……………….. ……. ……. …… ……..

ตัวอยางแผนงานบริหารจัดการความเสี่ยง (แผนงานควบคุมความเสี่ยง) โดยฝายบํารุงรักษา


วัตถุประสงค: เพื่อปองกัน ควบคุม และลดความรุนแรงจากการเกิดแอมโมเนียรั่วไหลจากการขนสง
/จัดเก็บ และเคลื่อนยาย
เปาหมาย: ใหจํานวนครั้งการเกิดแอมโมเนียรั่วไหลเปนศูนย
* ผูจัดการสวนความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม บริษัท ปโตรเคมีแหงชาติ จํากัด (มหาชน)
** วิทยาลัยเทคนิคอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
ลําดับ มาตรการหรือกิจกรรม การดําเนิน ผูรับผิดชอบ หัวขอเรื่องที่ควบคุม หลักเกณฑ/มาตร ผูตรวจติดตาม
ที่ งาน เพื่อลดความเสี่ยง หรือขั้นตอน ฐานที่ควบคุม
การปฏิบัติที่เปนความเสี่ยง
1 ตรวจสภาพรถกอนเขาโรงงาน จป.หัวหนางาน -สภาพรถตามราย -สภาพรถตองอยู จป.หัวหนางาน
- ตัวถัง - ทอไอเสีย การกําหนด ในเกณฑกําหนด
- ยาง - สภาพทั่วไป กอนเขาโรงงาน
2 กําหนดเสนทางเดินรถในโรงงาน จป.หัวหนางาน -เสนทางที่รถใช -รถที่เขามาใน จป.หัวหนางาน
โรงงานใหใช
เสนทางตามที่
กําหนด
3 ระเบียบการปฏิบัติงานการเติม พนักงานคลังวัตถุ -รายละเอียดใน -มีการดําเนินการ หัวหนาแผนกคลัง
แอมโมเนีย ดิบ ระเบียบปฏิบัติงาน ตามรายละเอียด วัตถุดิบ
ระเบียบปฏิบัติ
งานครบถวน

แผนงานบริหารจัดการความเสี่ยง (แผนงานลดความเสี่ยง) โดยฝายบํารุงรักษา


วัตถุประสงค: เพื่อจัดเตรียมมาตรการปองกันและลดความรุนแรงจากการเกิดแอมโมเนียหกรั่วไหล
เปาหมาย: มีมาตรการปองกันและควบคุมความรุนแรงแอมโมเนียรั่วไหล ภายใน 31 พ.ค. 2546

ลําดับที่ มาตรการ/กิจกรรม/การดําเนินงาน ผูรับผิดชอบ ระยะเวลาดําเนินการ ผูตรวจติด หมายเหตุ


ลดความเสี่ยง ตาม
1. กําหนดการตรวจสภาพกอนอนุญาตเขา จป.หัวหนางาน 1-15 กพ. 46 จป.วิชาชีพ
โรงงาน
2. กําหนดเสนทางเดินรถและจุดจอด จป.หัวหนางาน 1-15 กพ. 46 จป.วิชาชีพ
3. เพิ่มเติมระเบียบปฏิบัติการเติมแอมโมเนีย พนักงานคลังวัตถุดิบ 1-30 มค. 46 หัวหนา
ใหมีการ แผนกคลัง
-ตรวจสอบขอตอใหแนนหนา วัตถุดิบ
-กําหนดแบบตรวจสอบและตรวจสอบ
ตามแบบที่กําหนด
4. ติดตั้งวาลวเติมน้ําอัตโนมัติเพื่อคุมระดับ วิศวกรเครื่องกล 15-30 มี.ค. 46 หัวหนาฝาย
ในบอ (Water Basin) วิศวกรรม
… ……………………………………… …………………… ………………….. ………….
… ……………………………………… …………………… ………………….. ………….

ทายนี้ ขอสรุปขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงตั้งแตตนจนจบทั้ง 6 ตอน เพื่อใหเห็นภาพ


รวมอีกครั้ง ดังนี้

* ผูจัดการสวนความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม บริษัท ปโตรเคมีแหงชาติ จํากัด (มหาชน)


** วิทยาลัยเทคนิคอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
1. รวบรวมขอมูลพื้นฐานที่ใชในการประเมินความเสี่ยง เชน Process Flow Diagram
(PFD), Piping / Instrument Diagram (PID), Material Safety Data Sheet (MSDS), Plot
Plan, กฎหมายที่เกี่ยวของและขอมูลจําเปนอื่นๆ
2. ประเมินความเสี่ยงเบื้องตน (Preliminary Hazard Analysis : PHA) โดยประเมินจาก
กระบวนการ เครื่องจักร และวัตถุดิบ
3. ตรวจสอบระดับอันตราย ถารุนแรง (Major Hazard) นํามากําหนดการประเมินความ
เสี่ยง
4. ประเมินความเสี่ยงโดยใชเครื่องมือประเมินใน 6 แบบ ที่ใหเลือก
5. จัดทําแผนการควบคุม / ลดความเสี่ยง
6. สรุปผลการดําเนินการ

อยางที่กลาวไวครับวา ความสําเร็จคือ เรารูวาเรายืนอยูบนกองความเสี่ยงอะไรบาง และหา


ทางกําหนดแนวทางการควบคุมโดยมาตรการที่มีอยู และปรับปรุงเพื่อลดความเสี่ยงจากการเพิ่มเติม
มาตรการที่จําเปน โดยความสําเร็จหลักจะเกิดจาก การมีขอมูลในรายละเอียดที่เพียงพอ และใชผูมี
ความรู 3 ดาน คือ ความรูในกระบวนการผลิตในเชิงวิศวกรรม ความรูดานความปลอดภัย และความ
สามารถใชเครื่องมือการประเมินความเสี่ยง

* ผูจัดการสวนความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม บริษัท ปโตรเคมีแหงชาติ จํากัด (มหาชน)


** วิทยาลัยเทคนิคอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

You might also like