You are on page 1of 9

การบงชี้และการประเมินความเสี่ยง

สุรชัย วิวัจนสิรินทร*
วศิน มหัตนิรันดรกุล**

ในชวงไมกี่ปที่ผานมาถาติดตามขาวสารตามหนาหนังสือพิมพ จะพบวาปญหาที่เกิดจากอุต
สาหกรรม เชน การเกิดไฟไหมจากการผลิตที่มีเชื้อเพลิงจํานวนมากเปนวัตถุดิบ การระเบิดจากการ
จัดเก็บกาซที่มีความดันในสภาวะของเหลว เชน คลอรีนเหลว แอมโมเนียเหลวหรือกาซปโตรเลียม
ตางๆ รวมไปถึงการหกรั่วไหลของสารเคมีสูสิ่งแวดลอม ซึ่งทั้งหมดนี้นําความเสียหายมาสูชีวิตและ
ทรัพยสินขององคกร ชุมชนโดยรอบและรวมไปถึงสภาพสิ่งแวดลอมโดยรอบ ซึ่งทั้งหมดนี้เกิดขึ้น
บอยมาก ครั้งสุดทายที่เราไดยินมาก็คือการติดตั้งอุปกรณโรงงานเพิ่มเติมผิดจากแบบที่กําหนดจน
ทําใหเกิดความสูญเสียชีวิตพนักงานหลายชีวิต หลายๆ ครั้งที่เกิดขึ้นเมื่อเวลาผานไปเราก็ลืม จนเกิด
เหตุการณขึ้นมาใหมก็จะรูสึกตื่นเตนกันที

องคกรของรัฐองคกรหนึ่งที่ทราบในเรื่องเหลานี้และตองการกําหนดแนวทางปองกันการ
เกิดปญหาดังกลาว คือ กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม จึงไดออกระเบียบกรมโรง
งานอุตสาหกรรม วาดวยหลักเกณฑการบงชี้อันตราย การประเมินความเสี่ยง และการจัดทําแผนงาน
บริหารจัดการความเสี่ยง พ.ศ. 2543 ขึ้นมาเพื่อกําหนดใหชนิดโรงงานที่ไดจดทะเบียนกับกระทรวง
อุตสาหกรรมรวม 12 ประเภทโรงงาน ซึ่งถือเปนโรงงานประเภทที่มีความเสี่ยงสูงซึ่งตองดําเนิน
การบงชี้อันตรายและประเมินความเสี่ยงที่มีโอกาสเกิดจากกิจกรรมภายในองคกรและดําเนินการจัด
ทําแผนงานบริหารจัดการความเสี่ยง โรงงาน 12 ประเภทที่กลาวถึงคือ
ลําดับ โรงงานประเภท ชนิดโรงงาน
1 7(1)(4) น้ํามันพืช
2 42(1)(2) เคมีภัณฑสารเคมีหรือวัตถุอันตราย
3 43(1)(2) ปุยหรือสารปองกันกําจัดศัตรูพืช
4 44 ผลิตยางเรซินสังเคราะห ยางอีลาสโตเมอร พลาสติด
5 45(1)(2) สี น้ํามันชักเงา เชลเล็ค
6 48(4) การทําไมขีดไฟ วัตถุระเบิด ดอกไมไฟ
7 49 โรงกลั่นน้ํามันปโตรเลียม
8 50(4) ผลิตภัณฑจากปโตรเลียม ถานหินลิกไนต
9 89 ผลิตกาซซึ่งมิใชกาซธรรมชาติ
10 91(2) โรงงานบรรจุกาซ
11 92 หองเย็น
12 99 ผลิต ซอมแซม คัดแปลง เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด

* ผูจัดการสวนธุรกิจบริการระบบความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม บริษัท ปโตรเคมีแหงชาติ จํากัด (มหาชน)


** ผูจัดการดานวิชาการ ThaiFactory.com : องคกรพัฒนาคุณภาพอุตสาหกรรมไทย
โรงงานที่จดทะเบียนโรงงานในประเภทใดประเภทหนึ่งใน 12 ประเภทขางตน จะตอง
ดําเนินการ
- จัดทําบัญชีรายการสิ่งที่เปนความเสี่ยงและอันตราย รวมทั้งผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นตอ
บุคคล ชุมชน ทรัพยสินและสิ่งแวดลอม
- บงชี้อันตรายจากความเสี่ยงเบื้องตน
- ประเมินความเสี่ยงโดยพิจารณาจากโอกาสและความรุนแรง
- จัดทําแผนงานบริหารจัดการความเสี่ยง โดยอาจเปนแผนควบคุม/ลดความเสี่ยง

ทั้งนี้ในกฎหมายดังกลาวนี้ กําหนดใหใชเครื่องมือในการชี้บงอันตราย 6 เครื่องมือ แลวแต


ความชํานาญและความเหมาะสมของผูชี้บงอันตราย ดังนี้
1. Check List
2. What If Analysis
3. Hazard and Operability Study (HAZOP)
4. Fault Tree Analysis
5. Failure Modes and Effects Analysis (FMEA)
6. Event Tree Analysis

ในการบริหารจัดการกับความเสี่ยงใน มอก./OHSAS 18001 จะเนนไปที่งานที่เกิดขึ้นใน


แตละกิจกรรม แบงออกเปนขั้นตอนเพื่อบงชี้ความเสี่ยงที่มีโอกาสเกิดขึ้น ในสวนอื่นคือตัวอุปกรณ
เครื่องจักรตางๆ การบงชี้ความเสี่ยงไมชัดเจน เนื่องจากเปนรายละเอียดภายในของตัวอุปกรณ
เครื่องจักร ซึ่งในกฎหมายฉบับนี้ตองการใหมีการตรวจสอบลงไปใหถึงรายละเอียดดังกลาว ฉะนั้น
ในบทความนี้คณะผูเขียนจะพยายามสรางความเขาใจในขั้นตอนการดําเนินการตามกฎหมาย แนว
ความคิดควบคูในแตละขึ้นตอนไปเรื่อยๆ การใชเครื่องมือทั้ง 6 ชนิดขางตน และทายสุดจะพูดถึง
การกําหนดแผนการบริหารความเสี่ยง (แผนควบคุม/ลดความเสี่ยง)

บัญชีรายการสิ่งที่เปนความเสี่ยงและอันตราย หรือ Preliminary Hazard List (PHL)

ในแนวความคิดที่วา ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นอาจเกิดไดจากขั้นตอนการผลิต วัตถุดิบ และเครื่อง


จักร ฉะนั้นในขั้นตอนนี้ใหมีการประเมินความเสี่ยงและอันตรายทั้งหมด โดยพิจารณาจากขั้นตอน
การผลิต วัตถุดิบ หรือเครื่องจักร ในกระบวนการนั้นๆ ทีละตัว เพื่อกําหนดสิ่งที่เปนความเสี่ยงและ

* ผูจัดการสวนธุรกิจบริการระบบความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม บริษัท ปโตรเคมีแหงชาติ จํากัด (มหาชน)


** ผูจัดการดานวิชาการ ThaiFactory.com : องคกรพัฒนาคุณภาพอุตสาหกรรมไทย
อันตราย ขนาดของผลกระทบที่เกิดขึ้น ลองดูโรงงานตัวอยาง เปนโรงงานผลิตอาหารแชแข็ง แผน
ผังกระบวนการผลิตเปนดังนี้

วัตถุดิบ (อาหารทะเล)

แปรรูปวัตถุดิบ (ตัด, แตง, ลาง)

ทอด, ยาง

จัดเรียงในถาด

แชแข็ง

บรรจุหีบหอ

เก็บในหองเย็นเตรียมสงขาย

จากแผนผังกระบวนการผลิตของโรงงานนี้ การพิจารณาความเสี่ยงและอันตรายทั้งหมดจะ
พิจารณาจาก
1. ขั้นตอนการผลิต ไดแก แปรรูปวัตถุดิบ, ทอด/ยาง/นึ่ง, จัดเรียงในถาด, แชแข็ง, บรรจุ
หีบหอ และเก็บในหองเย็นเตรียมสงขาย
2. วัตถุดิบที่ใช พิจารณาจากทุกขั้นตอนการผลิตอันไดแก วัตถุดิบ (อาหารทะเล), เชื้อ
เพลิงทอดยาง เชนกาซหุงตม, แอมโมเนีย ใชในระบบทําความเย็น และเชื้อเพลิงของ
หมอไอน้ําเพื่อใชนึ่ง เชน น้ํามันเตา
3. เครื่องจักรหลักๆ ที่ใชในแตขั้นตอนการผลิต ซึ่งแบงเปน
- ระบบการผลิตหลัก เชน เครื่องทอดยาง เครื่องแชแข็ง และเครื่องบรรจุหีบหอ

* ผูจัดการสวนธุรกิจบริการระบบความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม บริษัท ปโตรเคมีแหงชาติ จํากัด (มหาชน)


** ผูจัดการดานวิชาการ ThaiFactory.com : องคกรพัฒนาคุณภาพอุตสาหกรรมไทย
- ระบบสนับสนุน เชน ระบบทําความเย็น หมอไอน้ํา ระบบไฟฟากําลัง และระบบไฟ
ฟาฉุกเฉิน (Emergency Diesel)
ถึงขั้นตอนนี้จะเห็นวาเหมือนการจัดทําการบงชี้ปญหาดานสิ่งแวดลอมใน ISO 14001 ซึ่ง
บงชี้ปญหาจากทีละกิจกรรม ผลิตภัณฑ หรือบริการของบริษัท หรือการบงชี้ความเสี่ยงใน มอก.
18001/OHSAS 18001 โดยบงชี้จากงานของแตละตําแหนงงานในบริษัท คือ นํารายการขั้นตอน
การผลิต วัตถุดิบและเครื่องจัก นํามาจัดทําบัญชีรายการสิ่งที่เปนความเสี่ยงและอันตรายทีละรายการ
ดังตัวอยาง

บัญชีรายการสิ่งที่เปนความเสี่ยงและอันตราย
โรงงาน ABC จํากัด
วันที่ทําการศึกษา วิเคราะหและทบทวนการดําเนินงานในโรงงาน 1 มิถุนายน 2545
การดําเนินงานใน สิ่งที่เปนความเสี่ยงและ ผลกระทบที่อาจจะเกิด หมายเหตุ
โรงงาน อันตราย ขึ้น
1. รับวัตถุดิบ -รถอาจเฉี่ยวชน -ทรัพยสินบริษัท -มีมาตรการกําหนดความเร็วในการ
-กลองใสวัตถุดิบหลน -พนักงานบาดเจ็บ ขับรถยนต 20 กม./ชม
ทับ -มีการจัดโตะรองรับกลองใสวัตถุดิบ
2.แปรรูปวัตถุดิบ
2.1 ปอกเปลือก -มีดบาดมือ พนักงานบาดเจ็บ -มีการปองกันโดยการใสถุงมือ
-น้ํารอนลวก -มีการปองกันโดยการใสถุงมือ
2.2ในการตมวัตถุ ตะแกรงตมหลนทับ พนักงานบาดเจ็บ -มีการปองกันโดยใชรอกไฟฟาเปนตัว
ดิบ ยกตะแกรงปลาหมึก
3.ทอดหรือยาง น้ํามันกระเด็นโดย พนักงานบาดเจ็บ มีการปองกันโดยใสถุงมือและการด
อวัยวะสวนตางๆ ปองกันหนา
4.แชแข็ง อันตรายจาก Ammonia อันตรายตอพนักงาน มีมาตรการรองรับแผนอพยพจาก
รั่ว จํานวนมาก สภาพแวด Ammonia
ลอม ชุมชน

จากบัญชีรายการสิ่งที่เปนความเสี่ยงและอันตราย จะเห็นวาในชองที่ 2 คือความเสี่ยงและ


อันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น สวนในชองที่ 3 คือขนาดความรุนแรงของผลกระทบ ซึ่งมองไดทั้งความ
เสียหายตอทรัพยสินบริษัท อันตรายตอคนงาน ผลกระทบสูสิ่งแวดลอมรวมไปถึงผลกระทบสูชุม

* ผูจัดการสวนธุรกิจบริการระบบความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม บริษัท ปโตรเคมีแหงชาติ จํากัด (มหาชน)


** ผูจัดการดานวิชาการ ThaiFactory.com : องคกรพัฒนาคุณภาพอุตสาหกรรมไทย
ชน ซึ่งขนาดของความรุนแรงของผลกระทบดังกลาวเปนตัวบอกความเรงดวน หรือลําดับความเรง
รีบที่จะตองเขาไปจัดการคราวๆ

ขั้นตอนตอไปคือการประเมินความเสี่ยง ซึ่งก็เทียบเทากับการใหคะแนนปญหาสิ่งแวดลอม
หรือใหคะแนนบัญชีความเสี่ยง ใน ISO 14001 หรือ มอก. 18001 โดยใชเครื่องมือประเมิน 6
เครื่องมือ โดยเครื่องมือแรกที่จะขอกลาวถึงคือ Check List สวนเครื่องมืออื่นจะกลาวถึงในบท
ความตอไป

Check List: เปนวิธีประเมินความเสี่ยงและอันตรายจากการทํารายการคําถามจากมาตร


ฐาน กฎหมาย หรือ การปฏิบัติที่ดี (Best Practice) เทียบกับสิ่งที่องคกรหรือหนวยงานที่มีอยู หรือ
อาจจะเรียก การวิเคราะหชองวาง “Gap Analysis” สวนที่หนวยงานไมมีจะเปนสวนที่จะตองปรับ
ปรุงใหมีการดําเนินการที่ดีขึ้น ขั้นตอนการทํา Check List มีดังนี้

1. เลือกกระบวนการที่จะดําเนินการพรอมกับกําหนดวัตถุดิบ/ผลิตภัณฑ เครื่องจักร/
อุปกรณ และวิธีการปฏิบัติงานที่ใชในกระบวนการดังกลาว เพื่อจะไดกําหนดสวนตางๆ ที่เกี่ยวของ
ไดครบถวนตามกระบวนการดําเนินงานขององคกร (Process Approach) ดังตัวอยาง

กระบวนการ วัตถุดิบ/ผลิตภัณฑ เครื่องจักร/อุปกรณ วิธีปฏิบัติที่สําคัญ


การรับน้ํามันเตา น้ํามันเตา -รถ Tank Car วิธีปฏิบัติงานรับน้ํามันเตา
-ถังน้ํามันเตา
-ปมป, วาลว, ทอ

2. เมื่อแจกแจงไดครบทุกกระบวนการแลว ใหทําการสรุปขอมูลสําคัญของวัตถุดิบที่ใชใน
แตละตัว เพื่อทราบคุณสมบัติและมาตรการควบคุมที่สําคัญ ซึ่งจะนําไปกําหนดเปนคําถามใน
Check List ตอไป ดังตัวอยาง

ชนิดที่ วัตถุดิบ/ผลิตภัณฑ คุณสมบัติที่สําคัญ ผลกระทบ มาตรการควบคุม


1 น้าํ มันเตา เกรด C -เปนเชื้อเพลิง “ชนิด เสี่ยงตอ 1.ดําเนินตามประกาศกระทรวงมหาดไทย
ไมนากลัวอันตราย” การเกิด เรื่อง “การปองกันและระงับอัคคีภัยในสถาน
ตามกฎหมาย อัคคีภัย ประกอบการเพือ่ ความปลอดภัยในการทํางาน
-ดูรายละเอียดใน สําหรับลูกจาง” และกฎหมายเรื่องการสรางที่
Material Safety เก็บน้ํามันเชื้อเพลิง เชน
Data Sheet of - สถานที่ Unloading ตองหางจากสวนกิจ

* ผูจัดการสวนธุรกิจบริการระบบความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม บริษัท ปโตรเคมีแหงชาติ จํากัด (มหาชน)


** ผูจัดการดานวิชาการ ThaiFactory.com : องคกรพัฒนาคุณภาพอุตสาหกรรมไทย
ชนิดที่ วัตถุดิบ/ผลิตภัณฑ คุณสมบัติที่สําคัญ ผลกระทบ มาตรการควบคุม
Fuel Oil C กรรมอื่นโดยรอบรัศมี 8 ม.
(MSDS) - ตองจัดทําปาย “วัตถุระเบิดหามสูบบุหรี่”
หรือ “วัตถุไวไฟหามสูบบุหรี่”
- ที่เก็บวัตถุไวไฟตองจัดใหมีถังดับเพลิงมือ
ถือชนิด 20-B ไมนอยกวา 1 เครื่อง และอยู
หางไมนอยกวา 8 ม. และไมเกิน 24 ม.
2.มาตรการความปลอดภัยตาม MSDS
3.กําหนด Work Instruction ในการรับ/ขน
ถาย
4.จัดฝกอบรมวิธีการรับ/ขนถาย
5.มีแผนฉุกเฉินกรณีน้ํามันรั่ว/ไฟไหม

3. สรุปขอมูลสําคัญของเครื่องจักร/อุปกรณหลักๆ เพื่อทราบถึงมาตรฐาน อุบัติเหตุและผล


กระทบที่อาจเกิดขึ้นจากเครื่องเหลานี้ และนํามากําหนดเปนคําถามใน Check List ตอไป ดังตัว
อยาง
เครื่องจักร/อุปกรณ วัตถุประสงคการใชงาน มาตรฐาน ผลกระทบ
Tank Car เพื่อใชในการขนยาย ตามประกาศกรมโยธาธิการ -เกิดการรั่วไหล
Fuel Oil เชน ตองผานการตรวจสอบ -เกิดการเฉี่ยวชน
และอนุญาต ถังอยูในสภาพ -เกิดไฟไหม/ระเบิด
ดีและคงทน
Fuel Oil Tank เพื่อใชเก็บ Fuel Oil ประกาศกระทรวงมหาดไทย -เกิดการรั่วไหล
เรื่อง “การปองกันและระงับ -บรรจุเกินปริมาณความจุ
อัคคีภัยในสถานประกอบ -ถังถูกกัดกรอนจนผุ
การเพื่อความปลอดภัยใน
การทํางานสําหรับลูกจาง”
และกฎหมายเรื่องการสราง
ที่เก็บน้ํามันเชื้อเพลิง

* ผูจัดการสวนธุรกิจบริการระบบความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม บริษัท ปโตรเคมีแหงชาติ จํากัด (มหาชน)


** ผูจัดการดานวิชาการ ThaiFactory.com : องคกรพัฒนาคุณภาพอุตสาหกรรมไทย
4. สรุปขอกําหนดสําคัญในวิธีการปฏิบัติงานที่เกี่ยวของและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นถาขาด
วิธีปฏิบัติงานที่ถูกตอง
กิจกรรม วัตถุประสงค ผลกระทบ
การขนถาย
1.จอดรถเขาที่ ดับเครื่อง ดึงเบรคมือ รถตองคงที่ปลอดภัยกอนขนถาย เกิดรถไหลขณะขนถาย
2.ตรวจสอบหมายเลข สภาพซีล เพื่อควบคุมความถูกตองของสินคา เกิดแรงดันในทอสงเนื่องจาก
กอนเบรคซีล และการซีล ตําแหนงวาลวไมถูกตอง
3.ตรวจระดับ Fuel Oil ในแตละชอง ตรวจสอบปริมาณที่กําลังบรรจุ เกิดการลนถัง
4.ตรวจสอบความพรอมของถังรับ เพื่อยืนยันถังวาพรอมรับการบรรจุ Fuel Oil รั่วไหลออกสูสิ่งแวด
ทอรับ ตําแหนงเปด-ปดวาลว ลอม

5. สรุปรายการ Check List จากขอมูลในขอ 2, 3 และ 4 แลวกําหนดเปน Check List เพื่อ


ใชในการตรวจสอบสถานะการณปจจุบันของหนวยงานที่ดําเนินการอยูวาเปนไปตามรายการหรือ
ไม ดังตัวอยาง
รายการการตรวจสอบ ผลการตรวจสอบ หมายเหตุ
มี ไมมี
รายการตรวจสอบที่เกี่ยวกับวัตถุดิบ/ผลิตภัณฑ
1. Fuel Oil
-มีการกําหนดเขตควบคุมหรือไม √
-มีปายชี้บงวาเปนสถานที่รับสารไวไฟ หรือหามสูบบุหรี่หรือไม √
-มีขอมูล MSDS หรือไม √
-มี Work Instruction ในการรับ/ขนถายหรือไม √
-มีการฝกอบรมวิธีการขน/ถาย และซอมแผนฉุกเฉินหรือไม √
-มีถังดับเพลิงมือถือชนิด 20-B ไมนอยกวา 1 เครื่องหรือไม √
รายการตรวจสอบที่เกี่ยวกับเครื่องจักร/อุปกรณ
-Tank Car ไดรับการตรวจสอบ/อนุญาตตามกฎหมายหรือไม √ ตรวจโดยกรมโยธาธิ
การ
-ถัง Fuel Oil ไดรับการออกแบบเพื่อปองกันการบรรจุเกินหรือไม √
-ถัง Fuel Oil ไดรับการออกแบบเพื่อปองกันการเกิดแรงดันสูง/ต่ํา √
เกินไปหรือไม
-มีการตรวจสภาพถังหรือไม √

* ผูจัดการสวนธุรกิจบริการระบบความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม บริษัท ปโตรเคมีแหงชาติ จํากัด (มหาชน)


** ผูจัดการดานวิชาการ ThaiFactory.com : องคกรพัฒนาคุณภาพอุตสาหกรรมไทย
รายการการตรวจสอบ ผลการตรวจสอบ หมายเหตุ
มี ไมมี
รายการตรวจสอบวิธีปฏิบัติงาน
-มีวิธีการขนถายเปนลายลักษณอักษรหรือไม √
-มีขั้นตอนการตรวจสอบทอสงและวาลวตางๆ หรือไม √
-มีขั้นตอนการถอดทอสงเพื่อปองกันการรั่วไหลหรือไม √

6. หลังจากนํา Check List ในขอ 5 ไปใชตรวจสอบสถานะปจจุบันภายในองคกรแลว ใน


สงที่ไมมีหรือไมปฏิบัติ จะถูกนําเปนหัวขอที่จะเอาไปประเมินระดับความเสี่ยงภัยตอไปโดยกําหนด
เกณฑ เปนโอกาสที่เกิดและความรุนแรง ซึ่งตามระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรม ไดมีหลักเกณฑ
ดังนี้
6.1 การจัดระดับโอกาสในการเกิดของเหตุการณตางๆ
1 = มีโอกาสในการเกิดยาก เชนไมเคยเกิดเลยในชวง 10ป ขึ้นไป
2 = มีโอกาสในการเกิดนอย เชน เกิด 1 ครั้งในชวง 5-10 ป
3 = มีโอกาสในการเกิดปานกลาง เชน เกิด 1 ครั้งในชวง 1-5 ป
4 = มีโอกาสในการเกิดสูง เชน มากกวา 1 ครั้ง ใน 1 ป

6.2 การจัดระดับความรุนแรงของเหตุการณตางๆ ที่สงผลกระทบตอบุคคล ชุมชน สิ่งแวด


ลอม และทรัพยสิน
ความรุนแรง ตอบุคคล ตอชุมชน ตอสิ่งแวดลอม ตอทรัพยสิน
1 = เล็กนอย บาดเจ็บเล็กนอยในระดับ มีผลกระทบเล็กนอย สามารถควบคุมหรือ นอยมากหรือไม
ปฐมพยาบาล แกไขได เสียหายเลย
2 = ปานกลาง บาดเจ็บที่ตองไดรับการ สามารถแกไขไดในระยะ สามารถแกไขไดใน สามารถดําเนิน
รักษาทางการแพทย เวลาสั้น ระยะเวลาสั้น การผลิตตอได
3 = สูง บาดเจ็บหรือเจ็บปวยที่รุน ตองใชเวลาในการแกไข ตองใชเวลาในการแก ตองหยุดการผลิต
แรง ไข ในบางสวน
4 = สูงมาก ทุพลภาพหรือเสียชีวิต รุนแรงเปนบริเวณกวาง รุนแรงตองใช ตองหยุดการผลิต
หรือหนวยงานของรัฐตอง ทรัพยากรและเวลา ทั้งหมด
เขามาดําเนินการแกไข นานในการแกไข

* ผูจัดการสวนธุรกิจบริการระบบความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม บริษัท ปโตรเคมีแหงชาติ จํากัด (มหาชน)


** ผูจัดการดานวิชาการ ThaiFactory.com : องคกรพัฒนาคุณภาพอุตสาหกรรมไทย
เมื่อจัดระดับโอกาสและความรุนแรงไดตามเกณฑขางตนแลวใหนําผลทั้งสองมาคูณกันได
ผลลัพธของการประเมินความเสี่ยงในเรื่องนั้นๆ ระดับความเสี่ยงถูกจัดเปน 4 ระดับดังรายละเอียด
ระดับ 1-2 = ความเสี่ยงเล็กนอย
ระดับ 3-6 = ความเสี่ยงที่ยอมรับได ตองมีการทบทวนมาตรการควบคุม
ระดับ 8-9 = ความเสี่ยงสูง ตองมีการดําเนินงานเพื่อลดความเสี่ยง
ระดับ 12-16 = ความเสี่ยงที่ยอมรับไมได ตองหยุดกิจการและปรับปรุงแกไขกอน

ผลการชี้บงอันตรายและการประเมินความเสี่ยงดวยวิธี Check List


ผลการทํา Check อันตรายหรือผลที่ มาตรการปองกัน ขอเสนอแนะ การประเมินความเสี่ยง
List เกิดขึ้นตามมา ควบคุมอันตราย โอกาส ความรุน ผลลัพธ ระดับ
แรง ความเสี่ยง
1.ไมมีพื้นที่รอบ ไมสามารถควบ ออกแบบกอสราง เพิ่มมาตรการ 1 4 4 2
สถานที่รับ Fuel คุมการแพร พื้นที่รองรับให ภาวะฉุกเฉิน
Oil สามารถรองรับ
กระจายเมื่อเกิด กรณีเกิดการ
การรั่วไหล Fuel Oil พรอม รั่วไหล
อุปกรณสําหรับ
Recover
2.ไมมี Work พนักงานไมทราบ จัดทํา Work ฝกอบรม 1 4 4 2
Instruction ขั้นตอนที่ถูกตอง Instruction พนักงาน
สําหรับขั้นตอนการ ทั้งในการรับ Fuel
รับ Fuel Oilและ Oil และแกไขใน
แผนภาวะฉุกเฉิน ภาวะฉุกเฉิน

วิธีการประเมินความเสี่ยงดวย Check List นี้ จะเห็นวามีขอดีคือใชตรวจเทียบกับกฎหมาย


และมาตรฐานไดอยางชัดเจน มีความงาย สะดวกในการประเมิน และสามารถตรวจยอนกลับวาขอ
มูลมาจากไหนและครบถวยหรือไม แตก็มีขอเสียเชนกัน คือในการประเมินจะตองใชผูเชี่ยวชาญที่มี
ความรูเฉพาะดานโดยเฉพาะการรอบรูกฎหมายที่เกี่ยวของกับกิจกรรมนั้น การจัดทํา Check List ที่
ครอบคลุมและสมบูรณนั้นเปนไปไดยาก เสียเวลา และตองการขอมูลที่ละเอียดมากดวย ในบท
ความตอไปจะกลาวถึงเครื่องมือที่เหลือพรอมทั้งตัวอยางในการใชงานดวย

* ผูจัดการสวนธุรกิจบริการระบบความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม บริษัท ปโตรเคมีแหงชาติ จํากัด (มหาชน)


** ผูจัดการดานวิชาการ ThaiFactory.com : องคกรพัฒนาคุณภาพอุตสาหกรรมไทย

You might also like