You are on page 1of 106

INFRASTRUCTURE

Port
CE 439

Chapter 7 page 1 INFRASTRUCTURE


World Surface Transport Patterns

https://qed.princeton.edu/getfile.php?f=World_Transportation_Patterns.jpg
Chapter 7 page 2 INFRASTRUCTURE
Density of traffic on Pacific shipping routes in 1938

http://www.lib.utexas.edu/maps/historical/pacific_islands_1943_1945/shipping_routes_traffic_density.jpg
Chapter 7 page 3 INFRASTRUCTURE
การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

ที่มา: ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม


Chapter 7 page 4 INFRASTRUCTURE
จานวนตู้ส่งออกแยกตามท่าเรือต่างๆ

ที่มา: สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย
Chapter 7 page 5 INFRASTRUCTURE
ท่าเรือ

“ท่าเรือ” หรือ “เมืองท่า” ทางภาษาอังกฤษใช้ว่า “Port” หรือ “Seaport ”


หมายถึงอาณาบริเวณพื้นที่สาหรับให้เรือเข้าจอดเทียบท่า มีการทอด
สมอเรือ มีอุปกรณ์หรือสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ในการดาเนินกิจกรรม
ระหว่างเรือกับชายฝั่ง เช่น การขนถ่ายสินค้าจากเรือขึ้นสู่ฝั่ง หรือจากเรือลง
เรือ หรืออาจกล่าวอย่างสั้น ๆ ว่า ท่าเรือ คือ อาณาบริเวณพื้นที่ทมี่ ีการ
ติดต่อกันระหว่างเรือกับชายฝั่ง (Ship/Shore interface)

Chapter 7 page 6 INFRASTRUCTURE


ประเภทของท่าเรือ (แบ่งตามวัตถุประสงค์ในการใช้งาน)

1) Original Destination Port หรืออาจเรียกว่าท่าเรือต้นทาง-ปลายทาง หรือท่าเรือ


ต้นแบบ ท่าเรือประเภทนี้ประกอบไปด้วย ศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้า
Distribute Center และจะต้องเชื่อมต่อไปยังศูนย์สินค้าต่อเนื่องไปยังจุดหมาย
ปลายทาง Original Port เช่น ท่าเรือนิวยอร์ก ท่าเรือโตเกียว หรือท่าเรือแหลม
ฉบังของประเทศไทย เป็นต้น ท่าเรือเหล่านี้จะเป็นท่าที่เป็นจุดหมายปลายทาง
ของการขนส่งเพื่อขนถ่ายสินค้าเข้าไปในแผ่นดินใหญ่ Interland หรือเพื่อที่จะ
ขนส่งไป Transit Port เช่น ท่าเรือ Singapore ท่าเรือฮ่องกง เป็นต้น

Chapter 7 page 7 INFRASTRUCTURE


ประเภทของท่าเรือ (ต่อ)

2) Transhipment Port เป็นท่าเรือแบบถ่ายลา เป็นศูนย์รวมในการเก็บและ


กระจายตู้คอนเทนเนอร์ คือ ทาหน้าที่เป็น Consolidation Port คือเป็นท่าที่ใช้ใน
การรวมตู้สินค้าจากบริเวณใกล้เคียง โดยตู้สินค้าจะมีการบบรทุกมาจากกเรือ
ประเภทที่เรียกว่า Feeder Vessel เพื่อรอการขนถ่ายไปยังเรือที่เรียกว่า Direct
Vessel หรือ Master Vessel เพื่อจะได้นาสินค้าไปส่งมอบตามจุดหมาย
ปลายทาง ซึ่งท่าเรือประเภทนี้อาจ ได้แก่ ท่าเรือสิงคโปร์, ท่าเรือกรัง (The Port
of Klang) มาเลเซีย,ท่าเรือรอทเทอดัมส์ ฯลฯ ซึ่งท่าเรือประเภทนี้จะต้องมีการ
บริหารจัดการในการลดเวลาในท่าเรือที่เรียก ว่า Time In port หรือ Waiting
Time คือ เวลาที่เรือคอยท่าน้อยที่สุด

Chapter 7 page 8 INFRASTRUCTURE


ประเภทของท่าเรือ (ต่อ)

3) Inland Container Depot (ICD) ลานวางตู้หรือท่าเรือในแผ่นดิน (ไม่ติดน้า)


เป็นสถานีในการเป็นศูนย์ (HUB) ในการรับตู้สินค้าเพื่อขนส่งไปท่าเรือ (Port)
หรือรับตู้สินค้าจากท่าเรือเข้ามาเก็บก่อนที่จะส่งต่อไปให้สถานที่รับมอบสินค้า
(Origin Point) ซึ่งปัจจุบันสถานะของ ICD จึงทาหน้าที่คล้ายกับท่าเรือใน
แผ่นดิน และมีบทบาทอย่างมากต่อกิจกรรมลอจิสติกส์ระหว่างประเ ทศ

Chapter 7 page 9 INFRASTRUCTURE


ปัจจัยที่ใช้ในการแข่งขันในท่าเรือด้วยกัน

(1) Throughput Capacity เป็นความสามารถที่เหนือกว่าในการให้บริการ ไม่ว่า


จะเป็นขนาดของพื้นที่ อัตราการใช้ท่า เทคโนโลยีที่นามาใช้ในการทางานและ
ความเหมาะสมทางภูมิศาสตร์
(2) Time In Port จะมีระยะเวลาที่ใช้ในการขนถ่ายตู้ ซึ่งปัจจุบันมีการแข่งขันใน
การจับเวลาว่าแต่ละตู้จะใช้เวลาในการขนถ่ายกี่ นาที ซึ่งจะเป็นปัจจัยสาคัญที่
ทาให้สายการเดินเรือนาเรือเข้ามาเทียบท่าเนื่องจาก จะมีผลต่อต้นทุนของเรือ
โดยตรง

Chapter 7 page 10 INFRASTRUCTURE


Global Shipping Routes

www.cruiselawnews.com/articles/pollution-1/
Chapter 7 page 11 INFRASTRUCTURE
เปรียบเทียบท่าเรือของโลก

แหลมฉบัง 4 641 5 240


คลองเตย 1 558 1 461
Chapter 7 page 12 INFRASTRUCTURE
Singapore Port

Chapter 7 page 13 INFRASTRUCTURE


Hong Kong Port

Chapter 7 page 14 INFRASTRUCTURE


ประเภทของเรือที่สาคัญ

http://twothirdsworld.blogspot.com/2008/12/life-without-airplanes.html
Chapter 7 page 15 INFRASTRUCTURE
Cruise Ship

www.cruiselawnews.com/articles/pollution-1/
Chapter 7 page 16 INFRASTRUCTURE
เรือบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์ (Container Vessel)

เรือที่ออกแบบมาสาหรับใช้ในการบรรทุกตู้สินค้าโดยเฉพาะ ปัจจุบันเรือจะบรรทุกโดยเฉลี่ยประมาณ
3,000 TEU แต่เรือที่มีขนาดใหญ่ที่อยู่ในชั้นที่เรียกว่า SX Class หรือที่เรียกว่า Super Post Panamax
มีความกว้างวางคอนเทนเนอร์ได้ 20-22 แถว ซึง่ จะมีความยาวโดยเฉลี่ย 320-330 เมตร กินน้าลึก
ประมาณ 13-14 เมตร ซึ่งสามารถบรรทุกตู้สินค้าได้สูงสุดถึง 8,000 TEU ซึ่งในอนาคตนี้กาลังมีการ
ต่อเรือที่มีขนาดใหญ่ขึ้นไปซึ่งอยู่ในชัน้ Malaccamax (กินน้าลึกไม่เกิน 21 เมตร ) ซึ่งสามารถขนย้าย
ตู้คอนเทนเนอร์ได้ 18,000 TEU ซึ่งขนาดเรือที่ใหญ่ขึ้นมากนี้จะมีผลทาให้ต้นทุนโดยรวมลดลง

Chapter 7 page 17 INFRASTRUCTURE


ขนาดของเรือบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์

Twenty-foot Equivalent Units (TEU)


http://www.globalsecurity.org/military/systems/ship/container-types.htm
Chapter 7 page 18 INFRASTRUCTURE
Roll-on/Roll-off Ships
Roll-on/Roll-off Ships เป็นเรือคู่แข่งที่สาคัญของเรือคอนเทนเนอร์ ปัจจุบัน
นิยมแพร่หลายมากขึ้นเนื่องจากมีลักษณะเฉพาะเหมาะสาหรับการขนส่ง
สินค้าหลายประเภท และวิธกี ารขนถ่ายสินค้าสะดวก มีความคล่องตัวสูง
ต้องการอุปกรณ์ยกขนสินค้าจากท่าเรือน้อยมาก ลักษณะเรือจะมีสะพาน
ทอดด้านท้ายเรือและหัวเรือหรือมีเพียงด้านเดียวสาหรับให้สินค้าผ่านเข้า
ออกโดยสะดวก
สินค้าที่ขนถ่ายโดยเรือประเภทนี้ได้แก่
สินค้าบรรจุตู้ สินค้าทั่วไป สินค้า
ประเภทรถยนต์ หรือสินค้าที่สามารถ
วางบนล้อเลื่อนได้ เป็นต้น
Chapter 7 page 19 INFRASTRUCTURE
การวัดขนาดเรือ
Grain Space เป็นปริมาตร (หน่วยเป็นลูกบาศก์ฟุตหรือ
ลูกบาศก์เมตร) ของระวาง (Holds) และพื้นที่บรรทุกสินค้า
(Cargo Spaces) ของเรือวัดถึงผิวเรือ
Bale Space เป็นปริมาตร (หน่วยเป็นลูกบาศก์ฟุตหรือ
ลูกบาศก์เมตร) ของระวาง (Holds) และพื้นที่บรรทุกสินค้า
(Cargo Spaces) ของเรือวัดเป็นปริมาตรภายในคือวัดถึง
กรอบ (Frames) เพดาน (Ceiling)
Gross Tonnage เป็นปริมาตร (หน่วยเป็นลูกบาศก์ฟุตหรือ
ลูกบาศก์เมตร) ภายในของเรือคูณด้วยค่าคงทีเ่ ฉลี่ยของเรือ
เป็นหน่วยที่นิยมใช้ในการพิจารณาระดับกาลังคนประจาเรือ
Net Tonnage เป็นปริมาตร (หน่วยเป็นลูกบาศก์ฟุตหรือ
ลูกบาศก์เมตร) ที่ก่อให้เกิดรายได้ของเรือคูณด้วยค่าคงที่ เป็น
หน่วยที่นิยมใช้ในการคานวณค่าภาระท่าเรือ ค่าภาระเรือผ่าน
ร่องน้าและอื่น ๆ
Chapter 7 page 20 INFRASTRUCTURE
การกินน้าลึก (Ship’s Draft) และน้าหนักเรือ
Deadweight Draft in
Draft in feet
Tonnage metres
10,000 26 7.9
20,000 30 9.1
50,000 38 11.6
100,000 48 14.6
200,000 60 18.3
300,000 72 21.9
500,000 90 27.4

ในกรณีที่ต้องการเปลี่ยนฐานการคานวณจากหน่วยน้าหนัก (Tonnage) มาเป็นหน่วย


ปริมาตร (Cubic Capacity) นิยมใช้อัตราส่วนดังนี้
น้าหนัก 1 ตัน (ตันกรอสส์) = 2.83 ลบ.ม.
หรือ 1 ตัน (ตันกรอสส์) = 100 ลบ.ฟุต

Chapter 7 page 21 INFRASTRUCTURE


อุปกรณ์และการบริการต่างๆ ที่จาเป็นสาหรับนาเรือเข้าท่า
- เรือลากจูง
- เรือนาร่อง
- เรือรับเชือก
- เรือตรวจการณ์
- ทุ่นเครื่องหมายการเดินเรือ
- ไฟนาร่อง
- ไฟส่องท่าเทียบเรือ

Chapter 7 page 22 INFRASTRUCTURE


ตู้คอนเทนเนอร์ (Container Box)

ตู้คอนเทนเนอร์จะเป็นตู้ขนาดมาตรฐานอาจทา ด้วยเหล็กหรืออลูมิเนียม โดยมี


โครงสร้างภายนอกที่แข็งแรงสามารถวางเรียงซ้อนกันได้ไม่น้อยกว่า 10 ชั้น โดยจะมี
ยึด หรือ Slot เพื่อให้แต่ละตู้จะมีการยึดติดกัน
ส่วนใหญ่แล้วจะมีประตู 2 บาน ซึ่งจะมีรายละเอียด ระบุหมายเลขตู้ (Container
Number) น้าหนักของสินค้าบรรจุสูงสุด ฯลฯ เมื่อปิดตู้แล้วจะมีที่ ล็อกตู้ ซึ่งใช้ในการ
คล้องซีล(Seal) ซึ่งเดิมนั้นเป็นตะกั่ว แต่ปัจจุบันจะเป็น Plastic มีหมายเลขกากับ

Chapter 7 page 23 INFRASTRUCTURE


ประเภทของตู้คอนเทนเนอร์

1) Dry Cargoes เป็นตู้ที่ใส่สินค้าทั่วไปที่มีการบรรจุหีบห่อหรือภาชนะ ต้องเป็น


สินค้าที่ไม่ต้องการรักษาอุณหภูมิ โดยสินค้าที่เข้าตู้แล้วจะต้องมีการจัดทาที่กั้น
ไม่ให้มีสินค้าเลื่อนหรือ ขยับ
2) Refrigerator Cargoes เป็นตู้สินค้าประเภทที่มีเครื่องปรับอากาศ มีการปรับ
อุณหภูมิในตู้ ซึ่งทาตามมาตรฐานต้องสามารถปรับอุณหภูมิได้อย่างน้อย –18oซ.
โดยเครื่องทาความเย็นนี้อาจจะติดอยู่กับตัวตู้หรือมีปลั๊กใช้กระแสไฟฟ้า เสียบจาก
นอกตู้ โดยจะต้องมีที่วัดอุณหภูมิแสดงให้เห็นสถานะของอุณหภูมิของตู้สินค้า
3) Garment Container เป็นตู้สินค้าที่ออกแบบสาหรับใช้ในการบรรจุสินค้าที่เป็น
เสื้อผ้า โดยมีราวสาหรับแขวนเสื้อ ซึ่งส่วนใหญ่มักจะใช้กับสินค้าที่เป็น Fashion
ซึ่งไม่ต้องการที่จะมีการพับหรือบรรจุใน Packing ซึ่งจะมีผลทาให้เสื้อผ้ามีการ
ยับหรือไม่สวยงาม
Chapter 7 page 24 INFRASTRUCTURE
ประเภทของตู้คอนเทนเนอร์ (ต่อ)

4) Open Top เป็นตู้ซึ่งส่วนใหญ่จะต้องเป็น 40 ฟุต โดยจะออกแบบมาไม่ให้มีหลังคา


สาหรับใช้ในการวางสินค้าขนาดใหญ่ เช่น เครื่องจักร ซึ่งไม่สามารถขนย้ายผ่าน
ประตูตู้ได้ จึงต้องขนย้ายโดยการยกส่วนบนของตู้แทน
5) Flat-rack เป็นพื้นราบมีขนาดกว้างและยาว ตาม Size ของ Container มาตรฐาน
โดยจะเป็นตู้คล้ายกับ Container ที่มีแต่พื้น Platform สาหรับใส่สินค้าที่มีลักษณะ
เป็นพิเศษ เช่น เครื่องจักร , แท่งหิน , ประติมากรรม , รถแทรกเตอร์ ซึ่งสินค้า
เหล่านี้ อาจจะขนส่งด้วยเรือที่เป็น Conventional Ship แต่หากเมื่อขนส่งด้วยเรือ
ระบบ Container แล้วก็จะต้องมาวางใน Flat rack เพื่อให้สามารถจัดเรียงกองใน
รูปแบบที่เป็น Slot ซึ่งเป็นลักษณะของเรือที่เป็น Container

Chapter 7 page 25 INFRASTRUCTURE


ขนาดของตู้คอนเทนเนอร์

1) ขนาด 20 ฟุต เป็นตู้ที่มี Outside Dimension คือ ยาว 19.10 ฟุต และกว้าง 8.0
ฟุต สูง 8.6 ฟุต โดยมีน้าหนักบรรจุตู้ได้สูงสุดประมาณ 32-33.5 ลบ.ม. และ
น้าหนักบรรจุตู้ได้ไม่เกิน 21.7 ตัน
2) ขนาด 40 ฟุต จะมีความยาว 40 ฟุต กว้าง 8 ฟุต สูง 9.6 ฟุต (Hicute) โดย
สามารถบรรจุ สินค้าได้ 76.40 – 76.88 ลบ.ม. และบรรจุสินค้าน้าหนักสูงสุดได้
27.4 M/T ซึ่งจะเป็นน้าหนักสาหรับสินค้าประเภท Dry Cargoes

Chapter 7 page 26 INFRASTRUCTURE


ขนาดของตู้คอนเทนเนอร์

Chapter 7 page 27 INFRASTRUCTURE


Port Crane

Chapter 7 page 28 INFRASTRUCTURE


Gantry Crane

Chapter 7 page 29 INFRASTRUCTURE


Container Forklifts

Chapter 7 page 30 INFRASTRUCTURE


Straddle carrier

Chapter 7 page 31 INFRASTRUCTURE


The subsystems of a typical container terminal

Chapter 7 page 32 INFRASTRUCTURE


An overview of container terminal port operations

Chapter 7 page 33 INFRASTRUCTURE


A Schematic view of an OHBC yard block

Chapter 7 page 34 INFRASTRUCTURE


Container Ships Evolution

Chapter 7 page 35 INFRASTRUCTURE


Gantry Crane Evolution

Chapter 7 page 36 INFRASTRUCTURE


Some possible container terminal layouts

Chapter 7 page 37 INFRASTRUCTURE


Another possible layout for container terminal

Chapter 7 page 38 INFRASTRUCTURE


ท่าเรือของประเทศไทย

ตลอดชายฝัง่ ทะเลของไทยทัง้ อ่าวไทยและอันดามัน มีท่าเรือสินค้า ท่าเรือ


ประมง และท่าเรือโดยสาร/ท่าเรือท่องเที่ยว ตัง้ อยู่ถึง 443 ท่า
- อ่าวไทยฝั่งตะวันออกมีจานวน 112 ท่า
- อ่าวไทยตอนใน 86 ท่า
- อ่าวไทยฝั่งตะวันตก 120 ท่า และ
- ทะเลอันดามัน 125 ท่า
หากจาแนกท่าเรือตามประเภทการให้บริการจะประกอบด้วย
- ท่าเรือสินค้า 147 ท่า
- ท่าเรือประมง 222 ท่า
- ท่าเรือโดยสาร รวม 74 ท่า

Chapter 7 page 39 INFRASTRUCTURE


ท่าเรือในอ่าวไทยฝั่งตะวันออก

อ่าวไทยฝั่งตะวันออก ประกอบด้วย จังหวัดตราด จันทบุรี ระยอง ชลบุรี


และฉะเชิงเทรา มีท่าเรือทั้งสิ้นรวม 112 ท่า ประกอบด้วย
- ท่าเรือสินค้า 39 ท่า
- ท่าเรือประมง 57 ท่า
- ท่าเรือโดยสาร 16 ท่า
ท่าเรือที่สาคัญในอ่าวไทยฝั่งตะวันออกมี 2 ท่า ได้แก่
- ท่าเรือแหลมฉบัง เป็นท่าเรือหลักของประเทศในด้านตู้สินค้าและสินค้าเทกอง
- ท่าเรือมาบตาพุด เป็นท่าเรือหลักในด้านสินค้าเทกอง (Bulk Cargo) ทั้งสินค้า
เหลว ได้แก่ น้ามันและสารเคมี และสินค้าเทกองแห้ง ได้แก่ ถ่านหิน

Chapter 7 page 40 INFRASTRUCTURE


ท่าเรือในอ่าวไทยตอนบน

อ่าวไทยตอนใน ประกอบด้วย จังหวัดกรุงเทพฯ สมุทรปราการ สมุทรสาคร และ


สมุทรสงคราม
อ่าวไทยตอนในมีท่าเรือ 86 ท่า ท่าเรือส่วนใหญ่เป็นท่าเรือสินค้า ท่าเรือในอ่าวไทยตอน
ในมีลักษณะเป็นท่าเรือในแม่น้า ซึ่งแม่น้าสายสาคัญ ได้แก่ แม่น้าเจ้าพระยา
ท่าเรือที่สาคัญที่สุดที่ตั้งอยู่บนแม่น้าเจ้าพระยาคือ ท่าเรือกรุงเทพ ซึ่งเป็นท่าเรือหลัก
แห่งแรกของประเทศไทย โดยตั้งมากว่า 50 ปี ปัจจุบันท่าเรือกรุงเทพเป็นท่าเรือตู้
สินค้าที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ
นอกจากท่าเรือกรุงเทพแล้วยังมีท่าเรือสาธารณะ 5 แห่ง ที่ให้บริการบรรทุกขนถ่ายตู้
สินค้า ท่าเรืออื่นๆ เป็นท่าเรือสินค้าทั่วไปซึ่งส่วนใหญ่ให้บริการแก่ธุรกิจหรือกลุ่ม
ธุรกิจของตนเอง
Chapter 7 page 41 INFRASTRUCTURE
ท่าเรือในอ่าวไทยฝั่งตะวันตก

ชายฝั่งในภาคตะวันตกของอ่าวไทย นับเป็นชายฝั่งที่ยาวที่สุดของประเทศ มี
จังหวัดที่ตั้งอยู่ตามแนวชายฝั่งถึง 8 จังหวัด ได้แก่ เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร
สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช สงขลา ปัตตานี และนราธิวาส
มีท่าเรืออยู่ 120 ท่า ประกอบด้วย
- ท่าเรือสินค้า 34 ท่า
- ท่าเรือประมง 76 ท่า
- ท่าเรือโดยสาร 10 ท่า
ท่าเรือที่สาคัญในอ่าวไทยฝั่งตะวันตก คือ ท่าเรือสงขลา ตั้งอยู่ในทะเลสาบสงขลา
เป็นท่าเรือสินค้าทั่วไปและสินค้าห้องเย็น

Chapter 7 page 42 INFRASTRUCTURE


ท่าเรือในชายฝั่งทะเลอันดามัน
จังหวัดที่ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลอันดามัน ประกอบด้วย ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง
และสตูล
มีท่าเรือตั้งอยู่ตามจังหวัดต่างๆ 125 ท่า
- ท่าเรือสินค้า 11 ท่า
- ท่าเรือประมง 77 ท่า
- ท่าเรือโดยสาร 37 ท่า

Chapter 7 page 43 INFRASTRUCTURE


ท่าเรือไทยในด้านอ่าวไทย
1. ท่าเรือกรุงเทพ (เปิดทาการปี 1951) ปี 2004 มีปริมาณตู้สินค้าคอนเทน
เนอร์ จานวน 1,318,403 TEUS.
2. ท่าเรือแหลมฉบัง (เปิดทาการปี 1992) ปี 2004 มีปริมาณตู้สินค้าคอนเทน
เนอร์ จานวน 3,529,882 TEUS.
3. ท่าเรือมาบตาพุด ท่าเรืออุตสาหกรรมหลัก (เปิดทาการปี 1991) แต่มีการ
ขนถ่ายสินค้าทั่วไปในปี 2004 จานวนกว่า 15,000,000 ตัน (ประมาณ 1.5
ล้าน TEUS)
4. ท่าเรือสงขลา ท่าเรือหลักภาคใต้ (เปิดทาการปี 1988)

Chapter 7 page 44 INFRASTRUCTURE


ท่าเรือไทยในด้านทะเลอันดามัน
1. ท่าเรือภูเก็ต (เปิดทาการปี 1988) เป็นท่าเรือประมงเดิม แต่จะมุ่งเน้น
ทางด้านเรือท่องเที่ยวมากกว่า และมีการขนส่งสินค้าเทกองเป็นหลัก
ปัจจุบันไมมีกจิ กรรมขนถ่ายสินค้ามากนัก โดยมีปริมาณสินค้าประมาณ
202,747 ตัน (ประมาณ 20,000 TEUS.)
2. ท่าเรือระนอง (เปิดทาการปี 2003) เป็นท่าเรือประมงเดิมและเริ่มปรับปรุง
เป็นท่าเรือสินค้า และกาลังจะขยายพื้นที่พฒ ั นาเป็นลานตู้คอนเทนเนอร์
รวมทัง้ ก่อสร้างระบบขนส่งต่อเนื่องทางรถไฟเข้าในเขตท่าเรือ

Chapter 7 page 45 INFRASTRUCTURE


ท่าเรือในความรับผิดชอบของ ททท.

Chapter 7 page 46 INFRASTRUCTURE


ท่าเรือแหลมฉบัง

Chapter 7 page 47 INFRASTRUCTURE


ท่าเรือแหลมฉบัง
มีพื้นที่ประมาณ 6,340 ไร่
มีท่าเทียบเรือในแอ่งจอดเรือที่ 1 จานวน 11 ท่า โดยให้เอกชนเช่า บริหารและ
ประกอบการท่าเทียบเรือทั้งหมด ปัจจุบันได้เปิดให้บริการแล้วทั้งหมดจานวน 11 ท่า
ได้แก่ ท่า A0-A5 และท่า B1-B5 มีขีดความสามารถในการรองรับตู้สินค้ารวม 4.0 ล้าน
ที.อี.ยู. ต่อปี
สาหรับแอ่งจอดเรือที่ 2 จานวน 7 ท่า เปิดให้บริการแล้ว จานวน 4 ท่า ได้แก่ ท่า C0-C3
ท่า D1-D3 จะเปิดดาเนินการได้ภายในปี 2554 มีขีดความสามารถในการรองรับตู้สินค้า
รวม 6.8 ล้าน ที.อี.ยู. ต่อปี
เมื่อเปิดให้บริการครบทุกท่าทั้งในแอ่งจอดเรือที่ 1 และแอ่งจอดเรือที่ 2 จะมีขดี
ความสามารถในการรองรับตู้สินค้ารวม 10.8 ล้าน ที.อี.ยู. ภายในปี 2554

Chapter 7 page 48 INFRASTRUCTURE


ท่าเรือแหลมฉบัง

Chapter 7 page 49 INFRASTRUCTURE


ท่าเรือแหลมฉบัง

Chapter 7 page 50 INFRASTRUCTURE


ท่าเรือกรุงเทพ

พื้นที่ทางน้า ร่องน้าตอนนอกจากปากร่องน้ากิโลเมตรที่ -18 ถึงป้อมพระจุลฯ กิโลเมตรที่ 0


ยาว 18 กิโลเมตร และร่องน้าตอนในตั้งแต่ป้อมพระจุลฯ กิโลเมตรที่ 0 ถึงสะพานพระพุทธ
ยอดฟ้าฯ กิโลเมตรที่ 48 ยาว 48 กิโลเมตร รวมระยะทาง 66 กิโลเมตร
ร่องน้าทางเข้า ร่องน้าสันดอนท่าเรือกรุงเทพมีความยาว 18 กิโลเมตร ความกว้างร่องน้าใน
ทางตรง 150 เมตร และความกว้างร่องน้าในทางโค้ง 250 เมตร ร่องน้าดังกล่าวได้รับการ
บารุงรักษาให้คงความลึกที่ 8.5 จากระดับทะเลปานกลาง ในส่วนของแม่น้าบริเวณท่าเรือ
กรุงเทพ จะมีความลึกระหว่าง 8.5-11 เมตร จากระดับทะเลปานกลาง
พื้นที่ทางบก ประมาณ 2,353 ไร่ แบ่งเป็น พื้นที่ในเขตรั้วศุลกากรในกิจการประมาณ 898 ไร่
นอกเขตรั้วศุลกากรประมาณ 110 ไร่
พื้นที่หน่วยงานรัฐขอใช้ประมาณ 217 ไร่ พื้นที่หน่วยงานรัฐและเอกชนเช่าประมาณ 721 ไร่
พื้นที่ชุมชนประมาณ 208 ไร่ และทางสัญจรประมาณ 199 ไร่
Chapter 7 page 51 INFRASTRUCTURE
ผังท่าเรือกรุงเทพ

Chapter 7 page 52 INFRASTRUCTURE


ท่าเรือกรุงเทพ

Chapter 7 page 53 INFRASTRUCTURE


เรือบริการของท่าเรือกรุงเทพ

Chapter 7 page 54 INFRASTRUCTURE


ท่าเรือระยอง

ท่าเทียบเรืออเนกประสงค์ (ท่าเทียบเรือที่ 1)
มีขนาดความกว้าง 26 เมตร ยาว 134 เมตร สามารถรับเรือสินค้าขนาดไม่เกิน 500 ตันกรอส จอดเทียบ
ท่าได้พร้อมกัน 2 ลา มีสะพานเชื่อมฝั่งกว้าง 10 เมตร ยาว 212 เมตร จานวน 2 สะพาน
ท่าเทียบเรือตู้สินค้า (ท่าเทียบเรือที่ 2)
มีความกว้าง 30 เมตร ยาว 150 เมตร สามารถรองรับเรือสินค้า/ตู้สนิ ค้า ขนาดไม่เกิน 12,000 เดดเวทตัน
จอดเทียบท่าได้ครั้งละ 1 ลา มีสะพานเชื่อมฝั่งกว้าง 7.5 เมตร ยาว 212 เมตร สะพานเชื่อมกับท่าเรือ
อเนกประสงค์ กว้าง 8.50 เมตร ยาว 40 เมตร

Chapter 7 page 55 INFRASTRUCTURE


ท่าเรือเชียงแสน
มีเนื้อที่ประมาณ 9 ไร่ ด้านหลังติดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1290 ซึ่งเชื่อมระหว่าง
อาเภอเชียงแสน และอาเภอเชียงของ
•ท่าเทียบเรือ
• ท่าเทียบเรือมีลักษณะเป็นทุ่นลอยน้า 2 ทุ่น ขนาด 12x50 เมตร สามารถรองรับเรือสินค้าได้ 8 ลา
เขื่อนเทียบเรือมีความยาว 250 มีสะพานเชื่อมระหว่างทุ่นกับเขื่อน ขนาด 6x30 ม. ออกแบบรับ
น้าหนัก800 กิโลกรัม/ตารางเมตร สามารถใช้รถ Fork Lift และรถบรรทุกขนาดเล็กในการขนถ่าย
สินค้าข้างเรือได้ ตัวทุ่นและสะพานเชื่อมมีหลังคาคลุมกันแดดฝน จึงสามารถทาการบรรทุกและ
ขนถ่ายได้ในขณะฝนตก
• สามารถรับเรือเทียบท่าได้ไม่เกิน 200 ตันกรอส ยาว 50 เมตร กินน้าลึก 2 เมตร
• อุปกรณ์อานวยความสะดวก
• มีลานจอดรถบรรทุกซึ่งสามารถรองรับรถบรรทุก 8-10 ล้อ ได้ประมาณ 50 คัน มีปั้นจั่นเคลื่อนที่
ขนาด 50 เมตริกตัน 1 คัน และสายพาน ลาเลียงสินค้า 1 ชุด
Chapter 7 page 56 INFRASTRUCTURE
ท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2
ครม. อนุมัติให้กรมการขนส่งทางน้าและพาณิชยนาวีก่อสร้างท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2 ใน
วงเงิน 1,546.40 ล้านบาท คาดว่าจะก่อสร้างแล้วเสร็จในวันที่ 28 ธันวาคม 2554

Chapter 7 page 57 INFRASTRUCTURE


ท่าเรือเชียงของ

ด้านหน้าติดแม่น้าโขง ฝั่งตรงข้ามคือเมืองห้วยทราย แขวงบ่อแก้ว สาธารณรัฐ


ประชาธิปไตยประชาชนลาว ด้านหลังติดถนนซึ่งเชื่อมระหว่างอาเภอเชียงแสน และ
อาเภอเชียงของ
•ท่าเทียบเรือ
• ท่าเทียบเรือขนาดกว้าง 24 เมตร ยาว 180 เมตร
• รองรับเรือขนาดเล็กจาก สปป.ลาว เป็นส่วนใหญ่ประมาณ 90 % ของเรือทั้งหมด การบรรทุกขน
ถ่ายใช้แรงงานยกขนเป็นหลัก

Chapter 7 page 58 INFRASTRUCTURE


ท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด

Chapter 7 page 59 INFRASTRUCTURE


ท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด

ท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด แบ่งท่าเรือออกเป็น 2 ประเภทคือ


1. ท่าเรือสาธารณะ (Public Berths) หมายถึงท่าเรือที่ "ไม่จำกัดจำนวนผู้ที่จะมำขอใช้
บริกำร" (Non-Rival in Consumtion) ท่าเรือประเภทนี้ กนอ.จะลงทุนก่อสร้างสิ่ง
อานวยความสะดวกพื้นฐานให้ทั้งท่าเทียบเรือ
2. ท่าเรือเฉพาะกิจ (Dedicated Berth) หมายถึง
ท่าเรือที่ "จำกัดจำนวนผู้ที่เข้ำมำขอใช้บริกำร"
(Rival in Consumtion) เฉพาะในกลุ่มของผู้ที่
ได้รับสัมปทานเท่านั้น โดยเอกชนหรือผู้ขอ
สัมปทาน จะต้องลงทุนก่อสร้างท่าเทียบเรือและ
สิ่งอานวยความสะดวกพื้นฐานเองทั้งหมด

Chapter 7 page 60 INFRASTRUCTURE


ท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด - ท่าเรือสาธารณะ
ท่าเรือสาธารณะ ประกอบด้วย
1.1 ท่าเทียบเรือทั่วไป (General Cargo Berth) จานวน 1 ท่า สาหรับขนถ่ายสินค้า
ทั่วไป สินค้าเทกอง สินค้าเกษตร และสินค้าแร่ มีความยาวหน้าท่า 330 เมตร
ความลึกหน้าที่ 12.5 เมตร สามารถให้บริการเรือสินค้าทั่วไป ความยาวไม่เกิน 200
เมตร กินน้าลึกไม่เกิน 11.9 เมตร
1.2 ท่าเทียบเรือสินค้าเหลว (Liquid Cargo Berth) จานวน 2 ท่า เป็น Platform
คอนกรีตเสริมเหล็กกว้าง 35 เมตร หลักผูกเรือยาว 280 เมตรและมีอุปกรณ์
Loading Arm สูบถ่ายสินค้าเหลวจากเรือใส่ท่อผ่านไปสู่ถังเก็บในบริเวณ คลังเก็บ
เคมีภัณฑ์ เพื่อส่งต่อไปโดยผ่านท่อควบคุมความดัน ไปตามแนววางท่อเคมีภัณฑ์
ซึ่งมีความกว้าง 20 เมตร เพื่อส่งป้อนโรงงาน อุตสาหกรรมต่าง ๆ

Chapter 7 page 61 INFRASTRUCTURE


ท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด - ท่าเรือเฉพาะกิจ
พื้นที่ถมทะเล ระยะที่ 1
- ท่าเรือ NFC ( บริษัท ปุ๋ยเอ็นเอ็ฟซี จากัด (มหาชน) )
- ท่าเรือ RBT ( บริษัท ท่าเรือระยอง จากัด)
- ท่าเรือ PTTAR ( บริษัท ปตท.อะโรเมติกส์และการกลั่น จากัด )
- ท่าเรือ SPRC (บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จากัด)
- ท่าเรือ GLOW (บริษัท โกลว์ เอสพีพี 3 จากัด)
- ท่าเรือ MTT (บริษัท มาบตาพุด แทงค์ เทอร์มินัล)
พื้นที่ถมทะเล ระยะที่ 2
- ท่าเรือ BLCP (บริษัท บีแอลซีพี เพาเวอร์ จากัด)
- ท่าเรือ PTT LNG (บริษัท พีทีที แอลเอ็นจี จากัด)
อยู่ระหว่างดาเนินการก่อสร้างคาดว่าจะแล้วเสร็จปี 2554

Chapter 7 page 62 INFRASTRUCTURE


ท่าเรือภูเก็ต

บริษัทเจ้าพระยาท่าเรือสากลได้รับสัมปทานจากกรมธนารักษ์ในการบริหาร
จัดการท่าเรือน้าลึกภูเก็ต
- มีท่าเทียบเรือ 2 ท่า เป็นท่าเทียบเรือสินค้าทั่วไป ความยาวท่าละ 180 เมตร รวมความ
ยาวทั้งสิ้น 360 เมตร กว้าง 50 เมตร ความลึกหน้าท่า 10 เมตร (เมื่อน้าลงต่าสุด)
- เรือสินค้าที่เข้าเทียบท่า มีขนาดยาวไม่เกิน 173 เมตร (ประมาณ 567 ฟุต) กินน้าลึกไม่
เกิน 8 เมตร ขนาดไม่เกิน 20,000 DWT. สามารถจอดเทียบท่าได้พร้อมกัน 2 ลา
- เรือสาราญขนาดใหญ่ ที่เข้ามาจอดที่ท่าเรือน้าลึกภูเก็ต ในปี 2552 เข้ามาจอดประมาณ
100 ลา เพิ่มขึ้นจากปี 2551 ประมาณ 10%
- เรือที่เข้ามาจอดประจาทุกสัปดาห์คือ เรือ Superstar Libra ที่เดินทางมาจากประเทศสิงคโปร์
- เรือสาราญข้ามทวีปมาจากยุโรปปีละประมาณ 30-40 ลา

Chapter 7 page 63 INFRASTRUCTURE


ท่าเรือภูเก็ต

Chapter 7 page 64 INFRASTRUCTURE


ท่าเรือน้าลึกสงขลา

มีท่าเทียบเรือ 3 ท่า ความยาวรวม 510 เมตร กว้าง 30 เมตร ความลึกหน้าท่า 10 เมตร


(เมื่อน้าลงต่าสุด) ประกอบด้วยท่าเทียบเรือต่าง ๆ ดังนี้.-
1. ท่าเทียบเรือสินค้าทั่วไป 2 ท่า มีความยาว 180 เมตร และ 175 เมตร ตามลาดับ
2. ท่าเทียบเรือสินค้าเทกอง 1 ท่า มีความยาว 155 เมตร

Chapter 7 page 65 INFRASTRUCTURE


ท่าเรือสงขลา

อุปสรรคของเจ้าของเรือสินค้าที่ท่าเรือสงขลา ได้แก่ ร่องน้าตื้นเขิน ทางเข้าท่าเรือแคบ


และมีโค้งหักศอก การเชื่อมโยงระหว่างท่าเรือกับทางรถไฟยังไม่ดีพอ พื้นที่หลังท่า
พัฒนายากเนื่องจากมีพื้นที่น้อย ตู้สินค้าขาเข้าน้อยทาให้ต้องนาตู้สินค้าเปล่าเข้ามาเพื่อ
ส่งออกเป็นผลให้ ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น
Chapter 7 page 66 INFRASTRUCTURE
สถิติจานวนเรือเทียบท่าของประเทศไทย

Chapter 7 page 67 INFRASTRUCTURE


จานวนสินค้าที่ท่าเรือกรุงเทพ-ท่าเรือแหลมฉบัง

Chapter 7 page 68 INFRASTRUCTURE


จานวนตู้สินค้าที่ท่าเรือกรุงเทพ-ท่าเรือแหลมฉบัง

Chapter 7 page 69 INFRASTRUCTURE


จานวนสินค้ารถยนต์ผ่านท่าเรือแหลมฉบัง

Chapter 7 page 70 INFRASTRUCTURE


จานวนเรือเทียบท่าที่ท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ปี 2550

Chapter 7 page 71 INFRASTRUCTURE


ปริมาณสินค้าผ่านท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ปี 2550

Chapter 7 page 72 INFRASTRUCTURE


จานวนเรือเทียบท่าที่ท่าเรือภูมิภาค

Chapter 7 page 73 INFRASTRUCTURE


จานวนสินค้า-ตู้สินค้าที่ผ่านท่าเรือภูมิภาค

Chapter 7 page 74 INFRASTRUCTURE


การขนส่งสินค้าภายในประเทศ

Chapter 7 page 75 INFRASTRUCTURE


การขนส่งผู้โดยสารภายในประเทศ

Chapter 7 page 76 INFRASTRUCTURE


ปริมาณการขนส่งสินค้าทางรถไฟ ปี 2551

Chapter 7 page 77 INFRASTRUCTURE


ปริมาณการขนส่งสินค้าทางน้าภายในประเทศ

Chapter 7 page 78 INFRASTRUCTURE


ปริมาณการขนส่งสินค้าทางชายฝั่งทะเล ปี 2551

Chapter 7 page 79 INFRASTRUCTURE


การขนส่งสินค้าทางลาน้าภายในประเทศ ในปี 2546

ที่มา : รายงานการสารวจข้อมูลเศรษฐกิจการขนส่งทางน้าเฉพาะแห่ง บริเวณลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาและป่าสัก ประจาปีงบประมาณ 2547,


กรมการขนส่งทางน้าและพาณิชยนาวี
Chapter 7 page 80 INFRASTRUCTURE
ช่วงของลาน้าที่มักใช้ขนส่งสินค้าทางลาน้าภายในประเทศ

ที่มา: โครงการพัฒนาศูนย์กลางการขนส่งสินค้าทางน้าเพื่อส่งเสริมระบบการขนส่งชายฝั่งและการขนส่งระหว่างประเทศ
กรมการขนส่งทางน้าและพาณิชยนาวี
Chapter 7 page 81 INFRASTRUCTURE
การขนส่งสินค้าผ่านแม่น้าเจ้าพระยาและแม่น้าป่าสัก
วันที่สารวจข้อมูล: 15-30 กรกฎาคม พ.ศ. 2547
ปริมาณการขนส่งสินค้าทางลาน้าขาล่อง ปริมาณการขนส่งสินค้าทางลาน้าขาขึ้น

Chapter 7 page 82 INFRASTRUCTURE


สัดส่วนสินค้าประเภทต่างๆ
วันที่สารวจข้อมูล: 15-30 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 บริเวณลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาและแม่น้าป่าสัก
สัดส่วนสินค้าขาล่อง สัดส่วนสินค้าขาขึ้น

Chapter 7 page 83 INFRASTRUCTURE


ท่าเรือริมฝั่งแม่น้า
กรมการขนส่งทางน้าและพาณิชยนาวี ได้กอ่ สร้างท่าเรือริมฝัง่ แม่น้าแล้ว
เสร็จ จานวน 5 ท่า ประกอบด้วย
1. ท่าเรือนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์
2. ท่าเรือตะพานหิน จังหวัดพิจิตร
3. ท่าเรือนครพนม จังหวัดนครพนม
4. ท่าเรือเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
5. ท่าเรือเชียงของ จังหวัดเชียงราย

Chapter 7 page 84 INFRASTRUCTURE


โครงข่ายการขนส่งสินค้าชายฝั่ง

http://www.logisticsclinic.com/web/content/view/680/119/1/1/
Chapter 7 page 85 INFRASTRUCTURE
ปริมาณเรือที่ขนส่งสินค้าในทะเลของประเทศไทย

http://marinepolicy.trf.or.th/transportation_02.html
Chapter 7 page 86 INFRASTRUCTURE
ระวางเรือที่ขนส่งสินค้าในทะเลของประเทศไทย

Chapter 7 page 87 INFRASTRUCTURE


ปริมาณเรือที่ขนส่งสินค้าในทะเลไทย ปี 2540–2546

Chapter 7 page 88 INFRASTRUCTURE


ปัญหาและอุปสรรคในการขนส่งสินค้าชายฝั่ง

ในปัจจุบันการขนส่งสินค้าชายฝั่งประสบปัญหาหลายประการ อาทิเช่น
ปัญหาโครงสร้างพื้นฐาน ปัญหาเรื่องกฎระเบียบ เป็นต้น
ปัญหาโครงสร้างพื้นฐาน ได้แก่
- ท่าเรือชายฝั่งขาดแคลนหรือไม่มีเครื่องมือขนถ่ายสินค้าที่เหมาะสมกับสินค้า
โดยเฉพาะท่าเรือเอกชน
- ท่าเรือบางแห่งประสบปัญหาร่องน้าตื้นเขินทาให้เรือต้องรอเวลาน้าขึ้นเพื่อ เข้า
เทียบท่าหรือออกจากท่า และผู้ประกอบการเรือไม่สามารถบรรทุกสินค้าได้เต็ม
ความสามารถของเรือเนื่องจากป้องกันไม่ให้เรือกินน้าลึกเกินความลึกของร่องน้า
- หน่วยงานรัฐมีงบประมาณไม่เพียงพอต่อการขุดลอกและบารุงรักษาร่องน้า
- การขาดการเชื่อมโยงกับการขนส่งรูปแบบอื่นที่เหมาะสมทาให้การขนส่งสินค้า
ระหว่างท่าเรือกับพื้นที่หลังท่าไม่สะดวก
Chapter 7 page 89 INFRASTRUCTURE
ปัญหาและอุปสรรคในการขนส่งสินค้าชายฝั่ง (ต่อ)

อุปสรรคของเจ้าของเรือสินค้าที่ใช้บริการท่าเรือแหลมฉบัง ได้แก่
- การให้ลาดับความสาคัญกับเรือระหว่างประเทศในการเทียบท่า
- ค่าใช้บริการของเรือชายฝั่งที่เข้าเทียบท่าเรือแหลมฉบังเท่ากับเรือเดินทะเลระหว่างประเทศ
ทั้งที่ความสามารถในการบรรทุกสินค้าและปริมาณสินค้าแตกต่างกัน
อุปสรรคของเจ้าของเรือสินค้าที่ท่าเรือสงขลา ได้แก่
- ความถี่ของเรือที่วิ่งระหว่างท่าเรือแหลมฉบังกับท่าเรือสงขลาไม่มาก

Chapter 7 page 90 INFRASTRUCTURE


แผนงานในการพัฒนาการขนส่งสินค้าชายฝั่ง

แผนงานหรือโครงการที่สาคัญและเกี่ยวข้องกับการพัฒนาโลจิสติกส์ของกรมการ
ขนส่งทางน้าและพาณิชยนาวี
- งานก่อสร้างท่าเทียบเรืออเนกประสงค์คลองใหญ่ จังหวัดตราด
- งานพัฒนาท่าเรือที่จังหวัดชุมพร
- งานพัฒนาท่าเรืออเนกประสงค์จังหวัดระนอง
- งานก่อสร้างปรับปรุงท่าเทียบเรืออเนกประสงค์ดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี
- งานพัฒนาท่าเรือน้าลึกปากบารา
- งานพัฒนาท่าเรือน้าลึกสงขลาแห่งที่ 2

Chapter 7 page 91 INFRASTRUCTURE


คอคอดกระ

Chapter 7 page 92 INFRASTRUCTURE


คอคอดกระ

Chapter 7 page 93 INFRASTRUCTURE


ท่าเรือน้าลึกฝั่งตะวันตกของประเทศไทย

Chapter 7 page 94 INFRASTRUCTURE


ท่าเรือน้าลึกปากบารา

Chapter 7 page 95 INFRASTRUCTURE


ท่าเรือน้าลึกปากบารา

Chapter 7 page 96 INFRASTRUCTURE


ท่าเรือน้าลึกปากบารา
จากการศึกษาของ บริษัท เอทีที คอนซัลแตนท์ จากัด บริษัทที่ปรึกษา ศึกษาโครงการท่าเรือ
น้าลึกในภาคใต้ ระบุว่า หากรัฐบาลเห็นสมควรให้มีการก่อสร้างท่าเรือปากบารา จะใช้
งบประมาณในการก่อสร้างประมาณ 26,000 ล้านบาท แบ่งการก่อสร้างออกเป็น 3 เฟส
- เฟสที่ 1 ใช้เงินลงทุน 10,600 ล้านบาท รองรับตู้คอนเทนเนอร์ขนาด 20 ฟุตได้ 8.25
แสนตู้ กาหนดการก่อสร้างในปี 2552-2556
- เฟสที่ 2 ก่อสร้างในปี 2557-2563 ใช้เงินลงทุน 5,100 ล้านบาท รองรับตู้คอนเทนเนอร์
ได้ 1.3 ล้านตู้ และ
- เฟสที่ 3 ก่อสร้างในปี 2554-2567 ใช้เงินลงทุน 10,300 ล้านบาท รองรับตู้คอนเทนเนอร์
ได้ 2.4 ล้านตู้

Chapter 7 page 97 INFRASTRUCTURE


ท่าเรือน้าลึกปากบารา
เหตุผลของความจาเป็นในการดาเนิน โครงการ ซึ่งพอจะสรุปเป็น 7 ประเด็นหลักๆ ด้วยกัน
คือ
1.ลดการพึ่งพาท่าเรือต่างประเทศ และประหยัดค่าขนส่ง ทั้งนี้ในปัจจุบันสินค้าจากภาคใต้
คือ ยางพารา (72%) หรือราว 200,000 TEU ได้ถูกส่งออกผ่านชายแดนไปยังท่าเรือปีนัง
และท่าเรือกลางของมาเลเซีย (Port Klang)
ส่วนสินค้าอีกประมาณ 19% หรือ 50,000 TEU เท่านั้นที่ส่งออกที่ท่าเรือสงขลา และค่า
ขนส่งแพงกว่าส่งออกที่มาเลเซีย
ดังนั้น การมี "ท่าเรือน้าลึกปากบารา" จะเป็นการย้ายสินค้าที่ส่งออกทางมาเลเซียมา
ส่งออกที่ท่าเรือน้าลึกปากบารา แทน โดยต้นทุนค่าขนส่งจะถูกลงเพราะไม่ต้องส่งไปไกล
ถึงมาเลเซีย และจะทาให้เงินตราไม่ต้องไหลเวียนออกนอกประเทศ

Chapter 7 page 98 INFRASTRUCTURE


ท่าเรือน้าลึกปากบารา
2. ลดภาระค่าขนส่งสินค้าจากประเทศไทยไปยังฝั่งตะวันตก เนื่องจากสินค้าจากประเทศ
ไทยประมาณ 20% หรือ 600,000 TEU ที่ต้องส่งไปทางตะวันตก คือ อินเดีย ตะวันออก
กลาง ยุโรป และแอฟริกา เกือบทั้งหมดต้องไปถ่ายเรือที่ประเทศสิงคโปร์ การมีท่าเรือน้า
ลึกปากบาราจะทาให้ลดค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ เป็นการประหยัดค่าขนส่งและเวลาในการ
ขนส่งลง
3. เป็นการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และอุตสาหกรรมในภาคใต้ ไม่ว่าเศรษฐกิจระดับภาค
เมือง และชุมชน ทาให้สังคมในภาคใต้มีฐานะทางเศรษฐกิจดีขึ้น รวมทั้งการพัฒนา
อุตสาหกรรมทั้งอุตสาหกรรมหลัก อุตสาหกรรมรอง และอุตสาหกรรมเชื่อมโยง
4. เป็นทางเลือกในการค้าขายกับประเทศตะวันตก ในกรณีที่ช่องแคบมะละกามีปัญหา ไม่
ว่าจะถูกปิดล้อม การจราจรทางเรือที่แออัด รวมทั้งโจรสลัดที่เกิดขึ้นมากมายในระยะ
หลังๆ และอุบัติเหตุทางเรือที่มีแนวโน้มมากยิ่งขึ้น

Chapter 7 page 99 INFRASTRUCTURE


ท่าเรือน้าลึกปากบารา
5. เป็นที่ยืนยันชัดเจนว่าการขนส่งสินค้าของประเทศไทยมีเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งสามารถยืนยัน
ได้จากการที่ต้องมีท่าเรือแห่งชาติแห่งที่ 2 คือท่าเรือแหลมฉบัง นอกจากท่าเรือคลองเตย
และท่าเรือแหลมฉบังเองได้ขยายจากขั้นที่ 1 เป็นขั้นที่ 2 และมีแนวโน้มว่าจะมีขั้นที่ 3
ตามมา
ดังนั้น การมีท่าเรือน้าลึกปากบาราจะช่วยชะลอความแออัดจากการขนส่งทางบกที่ท่าเรือ
แหลมฉบังและรอบๆ ท่าเรือแหลมฉบังได้ในระยะยาว
6. เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ โดยเฉพาะประเทศมาเลเซีย ซึ่งในอดีตมี
สิงคโปร์ที่คอยคัดค้านการขุดคลองกระมาแล้ว ถามว่าหากไม่มีท่าเรือน้าลาปากบาราแล้ว
จะมีท่าเรืออื่นแทนหรือไม่ คาตอบคือ มี นั่นคือท่าเรือปีนัง ท่าเรือกลางของประเทศ
มาเลเซีย และท่าเรือแหลมฉบังของไทย

Chapter 7 page 100 INFRASTRUCTURE


ท่าเรือน้าลึกปากบารา
แต่หากดูทางยุทธศาสตร์การขนส่งแล้ว "ท่าเรือน้าลึกปากบารา" จะเป็น "ฮับของด้าน
ตะวันตกของประเทศในการขนส่ง" ในขณะที่ทางด้านตะวันออกมีท่าเรือสงขลา ซึ่ง
กาลังจะทาเฟส 2 อยู่ในเร็วๆ นี้
7.เพิ่มความมั่นคงในภาคใต้หลังจากที่ในอดีตไม่สามารถขุดคอคอดกระ หรือ "คลองกระ"
ได้เพราะเกรงว่าจะเกิดความไม่มั่นคงในภาคใต้ แต่ในที่สุดความรุนแรงใน 3 จังหวัด
ภาคใต้ที่เกิดขึ้นอยู่ในขณะนี้คงต้องอาศัยการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมเข้ามาพร้อมๆ กับ
นโยบายของรัฐบาลเหมือนในอดีตที่เคยเกิดในภาคเหนือและภาคอีสานมาแล้ว

Chapter 7 page 101 INFRASTRUCTURE


เทียบจุดแข็งท่าเรือน้าลึก "ทวาย" ลด "ปากบารา" แค่ท่าเรือท่องเที่ยว
โครงการสร้างท่าเทียบเรือน้าลึกปากบารา อ.ละงู จ.สตูล ที่
ผลักดันกันมาหลายรัฐบาล จนถึงขณะนี้ ก็ยังไม่สามารถ
เดินหน้าได้อย่างเต็มที่ เพราะความไม่ชัดเจนของนโยบาย
และ เจอกระแสการต่อต้านอย่างหนักจากประชาชนใน
พื้นที่
ล่าสุดก็มาถึงจุดพลิกผันอีกครั้ง เมื่อนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
นายกรัฐมนตรี สนับสนุนการพัฒนาโครงการท่าเรือน้าลึก
ทวาย ประเทศพม่า แทนการพัฒนาท่าเรือปากบารา เพื่อ
สนับสนุนบทบาทของไทย ในการเป็นศูนย์กลางภูมิภาค
เชื่อมประเทศฝั่งตะวันตกกับประเทศฝั่งตะวันออก โดย
ผ่านเส้นทางระเบียงแนวตะวันออก-ตะวันตก (East-West
Economic Corridor : EWEC) ระหว่างเมืองดานัง
เวียดนาม-เมืองเมาะละแหม่ง พม่า
ประชาชาติธุรกิจ วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 ปีที่ 34 ฉบับที่ 4227 หน้า 23
Chapter 7 page 102 INFRASTRUCTURE
ข้อสอบ Midterm ข้อที่ 1

จากเนื้อหาที่เรียนเรื่องโครงสร้างพื้นฐานด้านโทรคมนาคมของประเทศ
ไทย และให้อ่านบทความต่อไปนี้
1. บทสรุปสาหรับผูบ้ ริหาร ประเมินผลนโยบาย IT2010
2. แนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบสื่อสารและโทรคมนาคม

ให้นักศึกษาเสนอความคิดเห็นในประเด็นต่อไปนี้
1. อะไรคือปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาด้านโทรคมนาคมของไทย
2. แนวทางในการพัฒนาด้านโทรคมนาคมของประเทศไทยให้ทัน
ประเทศมาเลเซีย

Chapter 7 page 103 INFRASTRUCTURE


ข้อสอบ Midterm ข้อที่ 2

ศึกษา พรบ. การเข้าร่วมการงานของภาครัฐและเอกชน พ.ศ. 2535 และให้


นักศึกษาเสนอความคิดเห็นในประเด็นต่อไปนี้
1. หลักการสาคัญของ พรบ. นี้
2. ผลของ พรบ. นี้ ต่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่
3. เปรียบเทียบสัมปทานรถไฟฟ้า BTS กับสัมปทานรถไฟฟ้า รฟม.
4. ผลของ พรบ. นี้ ต่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่

Chapter 7 page 104 INFRASTRUCTURE


ข้อสอบ Midterm ข้อที่ 3

กรณีศาลปกครองกลางมีคาสั่งบรรเทาทุกข์ชั่วคราว ให้ระงับ 76 โครงการ


เพื่อคุ้มครองชุมชนมาบตาพุด....

ให้นักศึกษาเสนอความคิดเห็นในประเด็นต่อไปนี้
1. อะไรคือที่มาของปัญหานี้
2. แนวทางในการแก้ไขปัญหาของรัฐบาล
3. ข้อสรุปของทางออกของปัญหานี้ ในปัจจุบัน

Chapter 7 page 105 INFRASTRUCTURE


ข้อสอบ Midterm ข้อที่ 4

สนามบินสุวรรณภูมิ

ให้นักศึกษาเสนอความคิดเห็นในประเด็นต่อไปนี้
1. ประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นของการพัฒนาสนามบินสุวรรณภูมิ
2. อุปสรรคในการพัฒนาสนามบินสุวรรณภูมิต่อไปในอนาคต
3. สนามบินสุวรรณภูมิจะสามารถแข่งขันกับสนามบินชางฮีของสิงคโปร์
ได้หรือไม่

Chapter 7 page 106 INFRASTRUCTURE

You might also like