You are on page 1of 14

อ่านง่าย เป็นเร็ว

ทาความเข้าใจได้ด้วยตนเอง
มีแบบฝึกอ่านตลอดทั้งเล่ม
อักษรฮิรางานะ
อักษรคาตาคานะ
รูปประโยคพื้นฐาน

ผู้แต่ง : สรพงษ์ น้อยเสวก


7 วัน อ่านญีป่ ุ่นคล่องปรื๋อ
แบบเรียนตัวอักษรภาษาญี่ปุ่น
และ
ไวยกรณ์ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น

ผู้แต่ง : สรพงษ์ น้อยเสวก


ภาพปก : ชัยวัฒน์ ฉันทนานุกูล
สารบัญ
หน้ า
ทาความเข้ าใจก่อนเรี ยน 1
เตรี ยมพร้ อม 2
ตารางตัวอักษรฮิรางานะ 4
แผนการเรี ยนวันที่ 1 5
แผนการเรี ยนวันที่ 2 11
แผนการเรี ยนวันที่ 3 17
แผนการเรี ยนวันที่ 4 23
แผนการเรี ยนวันที่ 5 29
แผนการเรี ยนวันที่ 6 อักษรเสียงขุ่น อักษรเสียงผสม 35
แผนการเรี ยนวันที่ 7 การใช้ ตวั อักษรเสียงยาว 43
อักษรเสียงสะดุด
ทบทวนบทเรี ยน 51
บททบทวนที่ 1 การใช้ คาช่วย 52
บททบทวนที่ 2 การใช้ คาช่วย 55
บททบทวนที่ 3 การใช้ คาช่วย 57
รูปประโยค
รูปประโยค
บททบทวนที่ 4 การใช้ คาช่วย 60
บททบทวนที่ 5 การใช้ คาช่วย 63
หน้ า
ตารางตัวอักษรคาตาคานะ 67
แผนการเรี ยนวันที่ 8 68
แผนการเรี ยนวันที่ 9 72
แผนการเรี ยนวันที่ 10 76
แผนการเรี ยนวันที่ 11 80
แผนการเรี ยนวันที่ 12 84
แผนการเรี ยนวันที่ 13 อักษรเสียงขุ่น อักษรเสียงผสม 88
การใช้ ตวั อักษรเสียงยาว
การใช้ ตวั
แผนการเรี ยนวันที่ 14 อักษรคาตาคานะเสียงพิเศษ 96
บททบทวนที่ 6 การใช้ 102
บททบทวนที่ 7 การใช้ 106
บททบทวนที่ 8 การใช้ คาช่วย 109
บททบทวนที่ 9 การใช้ 112
บททบทวนที่ 10 รวมการใช้ 116
และ
1

ทาความเข้าใจก่อนเรียน

การเรี ยนภาษาทุกภาษาต้ องอาศัยการฝึ กฝนจนชานาญ ต้ อง


อาศัยความอดทน ความขยัน ความช่างสังเกต จดจารายละเอียดของ
ภาษาที่เรี ยนนันๆ
้ และต้ องไม่เปรี ยบเทียบกับภาษาแม่ตวั เองในทุกๆ เรื่ อง
เพราะบางเรื่ องต้ องจาเอาเท่านัน้ ผมเองที่ใช้ ภาษาญี่ปนในการท
ุ่ างานอยู่
ในทุกวันนี ้ เมื่อย้ อนนึกถึงวันที่เริ่ มเรี ยนภาษาญี่ปนนั
ุ่ น้ บอกได้ เลยว่าเป็ น
เรื่ องยากทีเดียวในการจดจาตัวอักษรภาษาญี่ปนุ่ เพราะตัวอักษรมีความ
คล้ ายคลึงกัน ประกอบกับหนังสือที่จะช่วยเราในการจดจาตัวอักษรที่ตรง
ใจนัน้ หาได้ คอ่ นข้ างน้ อย จึงทาให้ ใช้ เวลานานพอสมควรที่จะจดจาและใช้
ตัว หนัง สือ ภาษาญี่ ปุ่ นได้ อ ย่า งคล่อ งแคล่ว เพื่ อ นหลายๆ คนที่ ป ระสบ
ปั ญหาดังกล่าวนี ้ บางคนมีความตัง้ ใจ แต่ ไม่สามารถผ่านด่านแรก คื อ
เรื่ องของตัวอักษรนี ้ไปได้ จึงเกิดความท้ อ และ ล้ มเลิกความตังใจไปมาก

พอสมควร

ผมเองตระหนัก ถึงความตัง้ ใจของเพื่อนๆ และ น้ อ งๆ ที่คิดจะ


เรี ยนภาษาญี่ ปุ่น และต้ องการหนังสือดีๆ ที่จะช่วยให้ เราสามารถจดจา
ตัวอักษรญี่ปนได้ ุ่ อย่างรวดเร็ ว หนังสือเล่มนี ้ จะช่วยให้ เราสามารถจดจา
ตัวอักษรภาษาญี่ปนได้ ุ่ เป็ นอย่างดี และมีบทเสริ มทักษะการอ่านให้ ได้ ฝึก
ตลอดทังเล่
้ ม

สรพงษ์ น้ อยเสวก
2

เตรียมพร้อม

ทาความรูจ้ กั กับตัวอักษรญีป่ นุ่


ตัวอักษรที่มใี ช้ ในประเทศญี่ปนุ่ มีทงหมด
ั้ 4 ประเภท คือ

1. ตัวอักษรโรมันยิ (Romaji)
เป็ นตัวอักษรภาษาอังกฤษ เขียนเพื่อให้ ทกุ ชนชาติ
สามารอ่านได้ ส่วนมากเป็ นชื่อเฉพาะต่างๆ
เช่น Fujiyama, Yakisoba, Udon, Nagasaki ฯลฯ
2. ตัวอักษรฮิรางานะ (Hiragana) มีทงหมด
ั้ 46 ตัว
เป็ นตัวอักษรทีใ่ ช้ เขียนคาภาษาญี่ปนทั
ุ่ ว่ ไป
เช่น (ละครคาบูกิ), (ปลาดิบ),
(มหาวิทยาลัย) ฯลฯ
3. ตัวอักษรคาตาคานะ (Katakana) มีทงหมด
ั้ 46 ตัว
เป็ นตัวอักษรทีใ่ ช้ เขียนคาศัพท์ทมี่ าจาก
ภาษาต่างประเทศ รวมถึงชื่อคนไทยอย่างเราๆ หรื อ
ชื่อในภาษาอื่นๆ ก็ต้องเขียนด้ วยตัวคาตาคานะ
เช่น (โทรทัศน์), (มอนิเตอร์ ),
(สุวิทย์), (จอห์น) ฯลฯ
3

4. ตัวอักษรคันยิ (Kanji)
เป็ นตัวอักษรภาษาจีนที่นามาใช้ อย่างแพร่หลายใน
ภาษาญี่ปนุ่ ซึง่ ต้ องอาศัยเวลาเรียนและจดจา
พอสมควร ตัวอักษรคันยิที่กาหนดโดย
กระทรวงศึกษาธิการของประเทศญี่ปนว่
ุ่ าเป็ น
ตัวอักษรคันจิทใี่ ช้ ในชีวิตประจาวันมี 1,945 ตัว เช่น
(มัธยมปลาย), (เศรษฐกิจ),
(จักรยาน) ฯลฯ

เห็นตัวอักษรข้ างต้ น โดยเฉพาะคันยิแล้ ว อย่าเพิ่งตกใจ


ไปนะครับ มันไม่ได้ ยากครับถ้ าเราตังใจ
้ และในเบื ้องต้ นนี ้ ขอให้ เรา
จดจาตัวอักษร ฮิรางานะ(ข้ อ 2) และ คาตาคานะ (ข้ อ 3) เพียงสอง
แบบนี ้ก่อน เพราะเป็ นจุดเริ่ มต้ นของทุกสิง่ ทุกอย่างในการเรี ยน
ภาษาญี่ปนุ่ ซึง่ เป็ นพื ้นฐานสาคัญที่จะทาให้ เราสามารถศึกษาต่อ
จากตาราเล่มใดก็ได้ เนื่องจากเราสามารถอ่านออกเขียนได้ แล้ ว
นัน่ เองครับ
4

ตารางตัวอักษรฮิรางานะ

a (อะ) i (อิ) u (อุ) e (เอะ) o (โอะ)

ka (คะ) ki (คิ) ku (คุ) ke (เคะ) ko (โคะ)

sa (ซะ) shi (ชิ) su (ซุ) se (เซะ) so (โซะ)

ta (ทะ) chi (จิ) tsu (ทสึ) te (เทะ) to (โทะ)

na (นะ) ni (นิ) nu (นุ) ne (เนะ) no (โนะ)

ha (ฮะ) hi (ฮิ) fu (ฟุ) he (เฮะ) ho (โฮะ)

ma (มะ) mi (มิ) mu (มุ) me (เมะ) mo (โมะ)

ya (ยะ) yu (ยุ) yo (โยะ)

ra (ระ) ri (ริ) ru (รุ) re (เระ) ro (โระ)

wa (วะ) o (โอะ) n (อึ้น)


5

แผนการเรียนวันที่ 1
ใช้ เวลา 1-3 นาที เพื่อจดจาหน้ าตาของตัวอักษรวรรคแรก คือ
(a อะ) ถึง (o โอะ) ครับ ยังไม่ต้องเขียนครับ ขอแค่จาก่อนครับ

a (อะ) i (อิ) u (อุ) e (เอะ) o (โอะ)


จาตัวอักษรทัง้ 5 ตัวได้ แล้ ว เริ่ มอ่านแบบฝึ กหัด ข้ อ 1 -10 โดย
พยายามไม่มองคาอ่านด้ านบน
แบบฝึกหัดอ่านตัวอักษร ชุดที1่
6

ต่อไปนี ้ขอให้ เราหากระดาษหรื อสมุด หัดเขียนตัวอักษรทัง้ 5 ตัว


ตัวละ 1-2 บรรทัด ขณะเขียนให้ ออกเสียงไปด้ วย จะช่วยให้ จาได้ ยิ่งขึ ้นครับ

เขียนตัวอักษรครบทุกตัวแล้ ว ขอให้ กลับไปอ่านแบบฝึ กหัดอ่าน


ตัวอักษร ชุดที่ 1 อีกครัง้ โดยไม่มองคาอ่านครับ
7

จดจาหน้ าตาของตัวอักษร (ka คะ) ถึง (ko โคะ) โดยใช้


เวลา 1-3 นาที เมื่อพอจาได้ แล้ ว ให้ ลองหัดอ่านแบบฝึ กหัดตัวอักษร ชุดที่ 2
ข้ อ 1-10 ครับ

ka (คะ) ki (คิ) ku (คุ) ke (เคะ) ko (โคะ)

แบบฝึกหัดอ่านตัวอักษร ชุดที2่
8

หัดเขียนตัวอักษรทัง้ 5 ตัวนี ้ ตัวละ 1-2 บรรทัด ขณะเขียนให้ ออก


เสียงไปด้ วย จะช่วยให้ จาได้ ยิ่งขึ ้นครับ

เมื่อหัดเขียนจนจาได้ แล้ ว ให้ กลับไปอ่านแบบฝึ กหัดอ่านตัวอักษร


ชุดที่ 2 อีกครัง้ โดยครัง้ นี ้ ไม่ควรมองคาอ่านครับ อ่านครบ 10 ข้ อ แล้ วลอง
อ่านแบบฝึ กหัดคาศัพท์ในหน้ าถัดไปครับ
9

แบบฝึกหัดอ่านคาศัพท์

(สีฟ้า, สีน ้าเงิน) (สีแดง)


aoi / อะโอะอิ akai / อะคะอิ

(พูด, กล่าว) (หน้ าฝน)


iu / อิอุ uki / อุคิ

(บ้ าน) (ข้ างบน)


ie / อิเอะ ue / อุเอะ

(พบ) (ปลาคราฟ)
au / อะอุ koi / โคะอิ

(บ่อน ้า) (ลูกพลับ)


ike / อิเคะ kaki / คะคิ
10

(ดอกเบญจมาศ) (หอย)
kiku / คิคุ kai / คะอิ

(ปลาหมึกกล้ วย) (หน้ า, หน้ าตา)


ika / อิคะ kao / คะโอะ

(ซื ้อ) (สถานีรถไฟ)


kau / คะอุ eki / เอะคิ

(วาง) (ความรัก)
oku / โอะคุ ai / อะอิ

(ต่างแดน, ต่างประเทศ) (ฤดูใบไม้ ร่วง)


ikoku / อิโคะคุ aki / อะคิ

You might also like