You are on page 1of 8

การใชภาษาใน

การโนมนาวใจ
1104
สมาชิก
ปริยากร, กัลยรัตน ,ศุภรดา, เพชรวริสา, ณัฐว
รรณ, ณธพรรณ, ปณิตา
ความหมายและความสําคัญของการโนมนาวใจ
คําวาโนมนาว เปนคําซอน สามารถตีความหมายออกมาไดวา โนม หมายถึง
การทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งใหเปลี่ยนทิศทางที่ผูโนมนาวตองการ นาว คือ มีความหมาย
ไปในทํานองเปลี่ยนทิศทางเชนกัน

การโนมนาวใจ หมายถึง พฤติกรรมการสื่อสารอยางหนึ่ง ที่ใชความ


พยายามเปลี่ยนความเชื่อ ทัศนคติ คานิยม และการกระทําของบุคคลอื่น โดยใช
กลวิธีที่เหมาะสมใหมีผลกระทบใจบุคคลนั้น ทั้งวัจนภาษาและอวัจนภาษา จน
เกิดการยอมรับและยอมเปลี่ยนตามที่ผูโนมนาวประสงค
ความตองการพื้นฐานของมนุษยกับการโนมนาวใจ
-เปน แรงผลักดัน ใหมนุษยสรางทัศนคติ ความเชื่อ และคานิยม และอื่นๆเพื่อการตอบสนอง
ความตองการของตนเอง เชน การตองการอาหาร

-เปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหมนุษยเกิด ความรูสึกนึกคิดและแสดงพฤติกรรม ไปในทิศทางใด


ทิศทางหนึ่ง เมื่อใดที่ถูกเราจนคิดไดวา ถาตนเปลี่ยนความคิดจะไดสิ่งของตอบสนอง ถือวา
มนุษยผูนั้นจะตกอยูในสภาวะโนมนาวใจได

หลักที่สําคัญที่สุดในการโนมนาวใจ คือ การทําใหมนุษยประจักษไดวาถาเชื่อ หรือเห็นคุณคา


และทําตามที่ผูโนมนาวใจชี้แนะ ก็จะไดรับผลตามที่ตนสนอง แตตราบใดที่ความประจักษยัง
ไมเกิดขึ้น ถือวาการโนมนาวใจยังไมสัมฤทธิ์ผล เชน การทําบุญเพราะความรําคาญ
กลวิธีในการโนมนาวใจ
การโนมนาวใจในแตละครั้งนั้นแตกตางกันไปตามโอกาสและสถานการณ โดยบางครั้งอาจจะ
ใชเวลานาน หรืออาจจะตองใชศิลปะเฉพาะตัวบุคคลในการโนมนาวใจ ซึ่งมีกลวิธีหลักๆอยู 6
วิธี ดังนี้

1. แสดงใหเห็นถึงความนาเชื่อถือของบุคคลผูโนมนาวใจ
2. แสดงใหเห็นถึงความหนักแนนของเหตุผล
3. แสดงใหประจักษถึงความรูสึกหรืออารมณรวมกัน
กลวิธีในการโนมนาวใจ
4. แสดงใหเห็นถึงทางเลือกทั้งดานดีและดานเสีย
5. สรางความหรรษาแกผูรับสาร
6. เราใหเกิดอารมณอยางแรงกลา
ขอสรุปเกี่ยวกับการโนมนาวใจ
1. การโนมนาวใจไมจําเปนตองใชวิธีขูเข็ญ คุกคามหรือหลอกลวง
2. การโนมนาวใจไมใชการกระทําที่ดีหรือเลว
3. การโนมนาวใจเปนการกระทําที่มีจุดมุงหมายเสมอ และตองใชกลวิธีใหเกิดการยอม
รับและการเปลี่ยนแปลง
4. การเรียนรูกลวิธีในการโนมนาวใจตองมีความรับ ผิดชอบทางจริยธรรม
ภาษาที่ใชโนมนาวใจ
ทุกคนมักจะไดรับสารที่สงมาจากแหลงตางๆไมวาจะเปนการพูดจาสนทนากัน ไดรับสารจาก
บุคคลที่สาม หรือ ผานสื่อมวลชนตางๆ โดยทุกสารจะมีจุดประสงคที่ตางกันไป เชน มุงใหความ
รู เปลี่ยนความเชื่อ และใหขอเท็จจริงเปนตน

● ควรหลีกเลี่ยงการใชนํ้าเสียงในลักษณะขมขูหรือบีบบังคับ
● ตองใหเปนไปในเชิงเสนอแนะ ขอรอง วินวอน หรือเราใจ
● คํานึงถึงจังหวะและคําที่เหมาะสม
● พยายามสรางความรูสึกใหผูรับสารคลอยตาม ไมกลาวเด็ดขาดตายตัว หรือกลาวตรงไป
ตรงมา หรือกลาวในเชิงตําหนิ
การพิจารณาสารโนมนาวใจ
มี 3 ชนิด

1. คําเชิญชวน: เปนการแนะนําชวยอยางใดอยางหนึ่ง เพื่อใหเกิดประโยชนสวนรวมโดยจะ


ปรากฏในรูปแบบของแผนประกาศ ใบปลิว โปสเตอร หรือเปนการพูดปากตอปาก
2. โฆษณาสินคาหรือบริการ: การสงสารโนมนาวเพื่อประโยชนในการขายสินคาหรือ
บริการ ซึ่งจะมีลักษณะ เชน ใชถอยคําแปลกใหม สะดุดตา, ใชวลีสั้นๆ, ใชกลวิธีโนมนาว
ใจ
3. โฆษณาชวนเชื่อ: แบงออกไดสองชนิด คือโฆษณาชวนเชื่อเชิงสินคา และการเมือง
เปนการพยายามจะเปลี่ยนความเชื่อถือในตัวบุคคลหรือฝายตรงขาม เชน การตราชื่อ,
ใชคําหรูหราเพื่อใหคนเลื่อมใสศรัทธา, อางบุคคลหรือสถาบัน

You might also like