You are on page 1of 145

ส่วนที่ 1

บทที่ 1
บทนํา
1.1 ความเป็นมาของการจัดทําแนวทางฯ
การจัดทําแนวทางประกอบการสอบเลื่อนระดับใบอนุญาตเป็นสามัญวิศวกรสาขาวิศวกรรมเหมืองแร่
งานวิศวกรรมเหมืองแร่ และงานวิศวกรรมโลหะการ ได้ดําเนินการจัดทําโดยคณะทํางานจัดทําแนวทางฯ
ภายใต้คณะอนุกรรมการมาตรฐานการประกอบวิชาชีพที่แต่งตั้งโดยสภาวิศวกร ให้มีภารกิจ หน้าที่ ดังนี้
1. กําหนดเกณฑ์องค์ความรู้ขั้นต่ําสําหรับจัดทําแนวทางการสอบเลื่อนระดับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบ
วิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ระดับสามัญวิศวกร
2. จัดทํ ากรอบแนวทางและรูป แบบในการจัดทํ าแนวทางและหลักเกณฑ์ในการสอบเลื่อนระดั บ
ใบอนุญาตเป็นสามัญวิศวกร
3. เสนอแต่งตั้งคณะทํางานฯ
4. ติดตามผลการจัดทําคู่มือและเผยแพร่แนวทางการสอบเลื่อนระดับใบอนุญาตเป็นสามัญวิศวกร
ในการจัดทําแนวทางการสอบฯ คณะทํางานฯ แต่ละสาขาเป็นผู้พิจารณาแนวทางตามความเหมาะสม
โดยมีเป้าหมายเดียวกันคือ ให้เป็นไปตามลักษณะงานหรือประเภทของงานของแต่ละสาขาที่สอดคล้องตามที่
กําหนดไว้ ในกฎกระทรวง และมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ในการสอบเลื่อนระดับให้แก่สมาชิกของ
สาขาอย่างทั่วถึง
คณะทํ า งานจั ดทํ า แนวทางฯ ในแต่ล ะสาขา เป็ นผู้ จัด ทํ า เนื้อ หาทางด้า นวิ ช าการ และนํ ามาเป็ น
องค์ความรู้พื้นฐานที่เป็นแนวทางสําหรับผู้ขอสอบเลื่อนระดับเป็นสามัญวิศวกรต้องทราบ
คณะทํ า งานจั ด ทํ า แนวทางประกอบการสอบเลื่ อ นระดั บ ใบอนุ ญ าตเป็ น สามั ญ วิ ศ วกร 7 สาขา
ได้กําหนดกรอบเวลาในการจัดทําคู่มือ ดังนี้
1. แต่งตั้งคณะทํางานของแต่ละหมวดวิชา ในแต่ละสาขา พร้อมรายชื่อผู้จัดทํา
2. กําหนดกรอบการจัดทําแนวทางฯ ทางด้านวิชาการที่ใช้ในการประกอบวิชาชีพ
3. ระดมความคิดเห็นจากสมาชิกของสาขา
4. ปรับปรุงกรอบการจัดทําแนวทางฯ
5. จัดทําร่างแนวทางฯ
6. จัดการประชุมเสนอแนวทางฯและแลกเปลีย่ นความเห็นต่อสมาชิกสาขา
7. จัดทําแนวทางฯ ฉบับสมบูรณ์

คณะทํางานจัดทํ าแนวทางประกอบการเลื่อนระดับใบอนุญาตเป็นสามัญ วิศวกร สาขาวิศวกรรม


เหมืองแร่ งานวิศวกรรมเหมืองแร่ และงานวิศวกรรมโลหะการ ประกอบด้วย
1) นายขวัญชัย ลีเผ่าพันธุ์ ประธานคณะทํางาน
2) นายศักดิ์สิทธิ์ บุญนํา คณะทํางาน
3) นายสฤทธิ์เดช พัฒนเศรษฐพงษ์ คณะทํางาน
4) นายฉัตรชัย สมศิริ คณะทํางาน
5) นายสมหวัง วิทยาปัญญานนท์ คณะทํางาน
-1-
 
6) นายสุรชัย พรจินดาโชติ คณะทํางาน
7) นายไพรัตน์ เจริญกิจ คณะทํางาน
8) นายทรงวุฒิ อาทิตย์ทอง คณะทํางาน

ผู้ช่วยเหลือการจัดทําแนวทางประกอบการเลื่อนระดับใบอนุญาตเป็นสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรม
เหมืองแร่ งานวิศวกรรมโลหะการ
1) นายชาคร จารุพิสิฐธร
2) นายอนุชา ธรรมา
3) นางสาวรัชวดี เลิศศักดิ์วณิช

1.2 ภาพรวมของการสอบเลื่อนระดับใบอนุญาตเป็นสามัญวิศวกร
การสอบเลื่ อ นระดั บ ใบอนุ ญ าตเป็ น สามั ญ วิ ศ วกรในปั จ จุ บั น เป็ น การสอบเพื่ อ วั ด ระดั บ ความรู้
ความสามารถในการประกอบวิชาชีพของวิศวกรผู้ยื่นขอรับใบอนุญาตโดยการสอบข้อเขียนในวิชาหลัก และ
พิจารณาจากข้อมูลแสดงผลงานในเอกสารแบบฟอร์มและในการสอบสัมภาษณ์ ผู้ยื่นขอจะต้องเสนอรายงาน
แสดงผลงานดีเด่นที่ผู้ยื่นขอจัดทําขึ้นเพื่อแสดงความรู้ความสามารถในโครงการใดๆ ที่ได้ปฏิบัติมา

1.3 ขอบเขตการปฏิบัติวิชาชีพ
การปฏิ บั ติ วิช าชี พ ของวิ ศ วกรต้ อ งเป็ น ไปตามข้ อ บั ง คับ ตามพระราชบั ญ ญั ติก ารประกอบวิ ช าชี พ
วิศวกรรมควบคุมซึ่งกําหนดลักษณะงานทางวิศวกรรมและขอบเขตความรับผิดชอบที่วิศวกรที่ได้รับใบอนุญาต
แต่ละระดับสามารถทําได้
งานวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมประกอบด้วยงานวิศวกรรม 6 ประเภทงานดังนี้
1. งานให้คําปรึกษา ได้แก่ การให้คําแนะนํา การตรวจวินิจฉัย และการตรวจรับรองงาน
2. งานวางโครงการ ได้แก่ การศึกษา การวิเคราะห์ทางเลือกที่เหมาะสม การวางแผนของโครงการ
3. งานออกแบบและคํานวณ ได้แก่ การใช้หลักวิชาเพื่อให้ได้มาซึ่งรายละเอียด ในการก่อสร้าง
การสร้าง การผลิต หรือการวางผังโรงงานและเครื่องจักร โดยมีรายการคํานวณ แสดงเป็นรูปแบบ
ข้อกําหนด หรือประมาณการ
4. งานควบคุมการสร้างหรือผลิต ได้แก่ การอํานวยการควบคุม หรือการควบคุมเกี่ยวกับการก่อสร้าง
การสร้าง การผลิตการติดตั้ง การซ่อม การดัดแปลง การรื้อถอนงาน หรือการเคลื่อนย้ายงานให้
เป็นไปโดยถูกต้องตามรูปแบบและข้อกําหนดของหลักวิชาชีพวิศวกรรม
5. งานพิจารณาตรวจสอบ ได้แก่ การค้นคว้า การวิเคราะห์การทดสอบ การหาข้อมูลและสถิติต่างๆ
หรือใช้เป็นหลักเกณฑ์หรือประกอบการตรวจสอบวินิจฉัยงาน หรือในการสอบทาน
6. งานอํานวยการใช้ ได้แก่ การอํานวยการดูแลการใช้ การบํารุงรักษางาน ทั้งที่เป็นชิ้นงาน หรือ
ระบบ ให้เป็นไปโดยถูกต้อง ตามรูปแบบ และข้อกําหนดของหลักวิชาชีพวิศวกรรม

ประเภทและขนาดงานวิศวกรรมเหมืองแร่และโลหะการที่วิศวกรระดับภาคีวิศวกรสามารถปฏิบัติได้
วิศวกรระดับภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ งาวิศวกรรมเหมืองแร่ และงานวิศวกรรมโลหะการ
สามารถปฏิบัติวิชาชีพได้ในงานในประเภท (4) งานควบคุมการสร้างหรือผลิต (5) งานพิจารณาตรวจสอบ และ
(6) งานอํ า นวยการใช้ โดยไม่ ส ามารถปฏิ บั ติ ง านที่ เ ข้ า ข่ า ยงานประเภท (1) งานให้ คํ า ปรึ ก ษา (2) งาน

-2-
 
วางโครงการ และ (3) งานออกแบบและคํานวณ โดยมีขนาดของงานที่วิศวกรระดับภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรม
เหมืองแร่ งานวิศวกรรมเหมืองแร่ และงานวิศวกรรมโลหะการ สามารถประกอบวิชาชีพได้ ดังนี้

งานวิศวกรรมเหมืองแร่
 การทําเหมืองแร่ที่ใช้กําลังสูงสุดรวมกัน ตั้งแต่ 600 kW – 1,200 kW
 งานวิศวกรรม ที่มีการใช้วัตถุระเบิดที่มีปริมาณวัสดุจากการระเบิดไม่เกิน 800 เมตริกตันต่อวัน หรือไม่เกิน
280,000 เมตริกตันต่อปี
 การแยกวัสดุต่างๆ ออกจากของที่ใช้แล้ว โดยใช้กรรมวิธีทางการแต่งแร่ที่ใช้กาลังสูงสุดรวมกันไม่เกิน
200 kW
 การแต่งแร่ที่ใช้กําลังสูงสุดรวมกัน ตั้งแต่ 100 kW - 500 kW

งานวิศวกรรมโลหะการ
 การแต่งแร่ที่ใช้กําลังสูงสุดรวมกันตั้งแต่100 kW – 500 kW
 การถลุงแร่เหล็กหรือการผลิตเหล็กกล้าที่มีกําลังการผลิตสูงสุดไม่เกิน 80 เมตริกตันต่อวัน หรือตั้งแต่
 7,000 – 28,000 เมตริกตันต่อปี
 การถลุงแร่อื่นๆ หรือการสกัดโลหะ โลหะเจือ หรือสารประกอบโลหะออกจากแร่ตะกรัน เศษโลหะ วัสดุ
 หรือสารอื่นใด รวมทั้งการทําโลหะให้บริสุทธิ์ ที่มีกําลังการผลิตสูงสุด ตั้งแต่ 1,000 – 5,000 เมตริกตันต่อปี
หรืองานที่ลงทุนตั้งแต่ 10 – 20 ล้านบาท โดยไม่รวมค่าที่ดิน
 การหลอม การหล่อ การแปรรูป การปรับปรุงคุณสมบัติด้วยความร้อน การตกแต่งผิวหรือการชุบเคลือบ
โลหะ สําหรับงานที่ใช้คนงานตั้งแต่ 30 คน – 100 คน หรืองาน ที่ลงทุนตั้งแต่ 10 ล้านบาท ถึง 30 ล้าน
บาท โดยไม่รวมค่าที่ดิน

ประเภทและขนาดงานวิศวกรรมเหมืองแร่และโลหะการที่วิศวกรระดับสามัญวิศวกรสามารถปฏิบตั ิได้
วิศวกรระดับสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ งานวิศวกรรมเหมืองแร่ และงานวิศวกรรม
โลหะการ สามารถปฏิบัติวิชาชีพได้ในงานทุกประเภท ยกเว้นงานประเภท (1) งานให้คําปรึกษา โดยมีขนาด
ของงานที่วิศวกรระดับสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ งานวิศวกรรมเหมืองแร่ และงานวิศวกรรม
โลหะการ สามารถประกอบวิชาชีพได้ ดังนี้
งานวิศวกรรมเหมืองแร่
 การทําเหมืองแร่ที่ใช้กาลังสูงสุดรวมกัน ตั้งแต่ 600 – 15,000 kW
 การทําเหมืองใต้ดินที่มีพื้นที่หน้าตัดไม่เกิน 20 ตารางเมตร หรือที่มีกําลังการผลิตไม่เกิน 150,000 เมตริกตัน
ต่อปี
 การเจาะอุโมงค์ในเหมือง หรือปล่อง หรือโพรงในหิน ที่มีพื้นที่หน้าตัดไม่เกิน 20 ตารางเมตร หรือมีกําลัง
การผลิตสูงสุดไม่เกิน 150,000 เมตริกตันต่อปี
 งานวิศวกรรมที่มีการใช้วัตถุระเบิด ที่มีปริมาณวัสดุจากการระเบิดไม่เกิน 10,000 เมตริกตันต่อวัน หรือ
ไม่เกิน 3,500,000 เมตริกตันต่อปี
 การโม่ บด หรือย่อยแร่และหินที่ใช้กาลังสูงสุดรวมกันตั้งแต่ 600 kW ขึ้นไป

-3-
 
 การแยกวัสดุต่างๆ ออกจากของที่ใช้แล้ว โดยใช้กรรมวิธี ทางการแต่งแร่ ทุกขนาด
 การแต่งแร่ที่ใช้กาลังสูงสุดรวมกัน ตั้งแต่ 100 kW ขึ้นไป

งานวิศวกรรมโลหะการ
 การแยกวัสดุต่างๆ ออกจากของที่ใช้แล้ว โดยใช้กรรมวิธีทางการแต่งแร่ ทุกขนาด
 การแต่งแร่ที่ใช้กําลังสูงสุดรวมกันตั้งแต่ 100 kW ขึ้นไป
 การถลุงแร่เหล็กหรือการผลิตเหล็กกล้าที่มีกาํ ลังการผลิตสูงสุดตั้งแต่ 7,000 – 300,000 เมตริกตันต่อปี
 การถลุงแร่อื่นๆ หรือการสกัดโลหะ โลหะเจือ หรือสารประกอบโลหะออกจาก แร่ตะกรัน เศษโลหะ วัสดุ
หรือสารอื่นใด รวมทั้งการทําโลหะให้บริสุทธิ์ ที่มีกําลังการผลิตสูงสุด ตั้งแต่ 1,000 – 40,000 เมตริกตัน
ต่อปีหรืองานที่ลงทุนตั้งแต่ 10 ล้านบาท ถึง 100 ล้านบาท โดยไม่รวมค่าที่ดิน
 การหลอม การหล่อ การแปรรูป การปรับปรุงคุณสมบัติด้วยความร้อน การตกแต่งผิวหรือการชุบเคลือบ
โลหะ สําหรับงานที่ใช้คนงานตั้งแต่ 30 – 300 คน หรืองานที่ลงทุนตั้งแต่ 10 ล้านบาท ถึง 60 ล้านบาท
โดยไม่รวมค่าที่ดิน

วุฒิวิศวกร สามารถปฏิบัติวิชาชีพได้ในงานทุกประเภทและทุกขนาด

หมวดหรือกลุม่ ความรู้ที่วิศวกรปฏิบัติงานระดับสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ งานวิศวกรรม


เหมืองแร่ ต้องมีความรูค้ วามเข้าใจเป็นอย่างดี
1. ธรณีวิทยาเหมืองแร่และการสํารวจแหล่งแร่
- ลักษณะการเกิดแหล่งแร่
- การอ่านแผนที่ธรณีวิทยาแหล่งแร่และสร้างภาพตัดขวาง
- วิธีการสํารวจแหล่งแร่
- ประเภทเครือ่ งเจาะสํารวจ และการประยุกต์ใช้
- การวางแผนสํารวจแหล่งแร่
- ประเภทของปริมาณสํารอง
- การประเมินปริมาณแร่
2. การทําเหมืองแร่
- วิธีการทําเหมือง
- การเลือกวิธีการทําเหมือง
2.1 การทําเหมืองบนดิน
- การออกแบบบ่อเหมืองและ ขั้นบันไดเหมือง (Bench)
- การคํานวณหาความลาดชันบ่อเหมืองและกองดินหินที่ปลอดภัย
- การคํานวณ Overburden Ratio
- การคํานวณ cycle time ของเครื่องจักร
- การคํานวณออกแบบการขนถ่ายด้วยวิธีต่างๆ
- การออกแบบเส้นทางลําเลียงในเหมือง

-4-
 
- การหา owning cost และ operating cost ของเครื่องจักร
- Machine Replacement
- การหาต้นทุนการผลิต
- การวางแผนการผลิต
- การจัดการความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม และอาชีวอนามัย ในการทํางาน
2.2 การทําเหมืองใต้ดิน
- การเลือกวิธีการทําเหมืองใต้ดิน
- การเปิดอุโมงค์ (tunneling , shaft sinking , adit , stoping , mine access )
- การออกแบบอุโมงค์
- การเจาะและการระเบิดในอุโมงค์
- การออกแบบการค้ํายัน
- การคํานวณออกแบบการระบายอากาศ และการให้แสงสว่าง
- การคํานวณออกแบบระบบขนถ่ายคนและแร่
- การหา owning cost และ operating cost ของเครื่องจักร
- การหาต้นทุนการผลิต
- การจัดการความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม และอาชีวอนามัย ในการทํางาน
- การกู้ภัยเหมืองแร่
3. การเจาะและระเบิด
- วัตถุระเบิด และอุปกรณ์
- ประเภทเครือ่ งเจาะรูระเบิด
- การออกแบบรูเจาะระเบิด
- สาเหตุและการแก้ปัญหาระเบิดด้าน
- การเก็บและการขนส่งวัตถุระเบิด
- การหาต้นทุนการเจาะและระเบิด
- การระเบิดควบคุมและป้องกันผลกระทบสิ่งแวดล้อม
- ความปลอดภัยในการระเบิด
4. เครื่องจักรกลเหมืองแร่
- ประเภทเครือ่ งจักรกล
- การเลือกใช้เครื่องจักรกล
- การวิเคราะห์ การทดแทนเครื่องจักร (Machine Replacement Analysis)
- การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการใช้เครื่องจักร (Utilization-Effectiveness Analysis)
- การวางแผนซ่อมบํารุงเครื่องจักร
- การวิเคราะห์ระบบเครื่องจักรการทําเหมือง (Mine System Analysis)
- การหาต้นทุน Owning Cost และ Operating Cost
- ความปลอดภัยในการใช้เครื่องจักรกล
5. การปรับปรุงคุณภาพแร่
- การจําแนกคุณลักษณะของแร่และวัสดุ
- มวลสมดุล (Mass Balance)

-5-
 
- วิธีการคัดแยกแร่และการประยุกต์ใช้
- การพัฒนาและออกแบบแผนผังกระบวนการ
- การหาต้นทุนการผลิต
6. การจัดการสิ่งแวดล้อม สังคม และคุณภาพชีวิตของเหมือง และโรงปรับปรุงคุณภาพแร่
- กฎหมาย กฎระเบียบ และมาตรฐานที่เกีย่ วข้องกับสิ่งแวดล้อม
- การจัดการชุมชนสัมพันธ์ วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม
- มลพิษและผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากการทําเหมือง
- มลพิษและผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากการแต่งแร่
- มาตรการและเทคโนโลยีการป้องกันและลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม
- เทคโนโลยีสะอาด
- การป้องกันมลพิษ
- ความรับผิดชอบต่อสังคม และคุณภาพชีวิต
- การจัดทํา รายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และการติดตามผล (Monitoring)
7. การวางแผนและบริหารโครงการ
- การศึกษาความเหมาะสม และความเป็นไปได้ของโครงการ
- เทคนิคการวิเคราะห์และบริหารโครงการ
- การวิเคราะห์เศรษฐศาสตร์การลงทุน
- การวิเคราะห์และบริหารโครงการเมื่อมีความเสี่ยง
8. การวางแผน การออกแบบ และการพัฒนาทรัพยากรแร่อย่างยั่งยืน
- แผนการจัดการทรัพยากรแร่และนโยบายการพัฒนาทรัพยากรแร่
- การพัฒนาทรัพยากรแร่ และเศรษฐศาสตร์
- Mine Master plan (short , medium , long term)
- Mine Closure plan (Bio-diversity , reclamation , restoration , rehabilitation )

หมวดหรือกลุ่มความรู้ที่วิศวกรปฏิบัติงานระดับสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ งานวิศวกรรม


โลหะการ ต้องมีความรู้ความเข้าใจเป็นอย่างดี
ควรมีความรู้ความเชี่ยวชาญเป็นอย่างดีอย่างน้อย 5 หมวดวิชาชีพ (Professional Competency)
จากทั้งหมด 12 หมวดวิชาชีพ
1. การแต่งแร่
2. การผลิตโลหะและการนําโลหะกลับมาใช้ใหม่
3. การแปรสภาพและขึ้นรูปร้อน
4. การแปรสภาพและขึ้นรูปเย็น
5. กระบวนการอบชุบความร้อน
6. เทคโนโลยีการหล่อโลหะ
7. เทคโนโลยีการเชื่อมโลหะและการบัดกรี
8. การเกิดการผุกร่อนและกระบวนการป้องกัน
9. โลหะวิทยาของเหล็กและโลหะกลุ่มนอกเหล็ก

-6-
 
10. โลหะวิทยาของโลหะต้านการผุกร่อนและทนความร้อนสูง
11. การวิเคราะห์ลักษณะเฉพาะการวิบัติ และการเสื่อมสภาพของโลหะ
12. กระบวนการปรับปรุงผิวและการเคลือบผิวโลหะ

นอกจากนี้แล้วต้องมีความรู้และเชี่ยวชาญในหมวดแกนหลัก (Core competency) ดังนี้


1. การบริหารระบบคุณภาพ
2. การจัดการสิ่งแวดล้อม สังคม และคุณภาพชีวิต
3. การวางแผนและเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม

-7-
 
บทที่ 2
กรอบความต้องการ (Requirements)
2.1 เกณฑ์ประเมิน (Assessment Criteria)
เกณฑ์การประเมินวิศวกรที่ขอเลื่อนระดับ มีดังนี้
1. ข้อมูลส่วนตัว (10 คะแนน) ประกอบด้วย
1.1 บุคลิกภาพ หมายถึง การแต่งกายสุภาพเรียบร้อย มาตรงเวลา วาจาสุภาพ มีเหตุผล ทะมัดทะแมง
อดทนต่อภาวะการทํางานกดดัน กระฉับกระเฉง น่าเชื่อถือ ไม่หลุกหลิก
1.2 วุฒิภาวะ หมายถึง ความเป็นผู้ใหญ่ ใช้เหตุผลมากกว่าอารมณ์ความรู้สึก ควบคุมอารมณ์ได้ดี
1.3 ภาวะการเป็นผู้นํา หมายถึง การกล้าคิดกล้าแสดงออก สามารถทํางานร่วมกับคนอื่นได้ สามารถนํา
ความคิดจากปัญหาองค์รวมมาแก้ไขปัญหา ตลอดจนเป็นผู้ตาม ที่รับฟังและให้เกียรติผู้ออกความเห็น
คนอื่น

2 ความรู้ความชํานาญในสาขาอาชีพ (40 คะแนน) ประกอบด้วย


2.1 ทักษะในการทํางาน หมายถึง ความสามารถในเชิงปฏิบัติ จากการปฏิบัติงานจริง คลุกคลีหน้างาน
อธิบายรายละเอียดของงานที่ทําด้วยตนเอง หรือทําร่วมกับผู้บังคับบัญชาและลูกน้องได้ มีเทคนิค
การปฏิบัติเฉพาะตัว ที่สามารถแก้ปัญหางานได้เร็ว การทํางานที่ไม่ซับซ้อน ตรงจุดตรงเป้า และ
มีประสิทธิภาพ
2.2 ความสามารถในการพัฒนางาน หมายถึง การใช้วงจรเดมมิ่ง PDCA พัฒนายกระดับงานที่ตนเอง
รับผิดชอบให้ดียิ่งๆ ขึ้น อย่างต่อเนื่อง สามารถหยิบยกปัญหาและแนวทางแก้ไขได้ อยู่เป็นระยะๆ
ต่อเนื่อง ตลอดเวลาที่ประกอบวิชาชีพ
2.3 ความรู้เชี่ยวชาญในสาขาของงานที่ขอเลื่อน หมายถึง ความสามารถแสดงความเชี่ยวชาญชํานาญ
ในงานที่ตนเองประกอบวิ ชาชีพ มีประเด็นต่างๆ ที่ยกขึ้นมาอธิบายถึงรายละเอียดได้ อย่างลึ กซึ้ง
เชิง วิ ศ วกรรม สามารถตอบคํา ถามได้อ ย่า งมีเ หตุ ผ ล แสดงรูป วิธีคิ ด การคํ านวณ การออกแบบ
ได้อย่างรวดเร็ว สามารถอธิบายจุดแข็งจุดอ่อนและจุดที่ควรจะปรับปรุงในงานวิศวกรรมได้

3 การประกอบวิชาชีพ (50 คะแนน) ประกอบด้วย


3.1 วิสัยทัศน์กว้างไกล หมายถึง ความสามารถมององค์รวมของงาน ในระดับองค์กร ระดับประเทศ และ
ระดับภูมิ ภาคได้ ในระดับหนึ่ ง ทํานายทิศทางในอนาคตของเหมืองแร่ การปรั บปรุงคุณภาพแร่
ตลอดจนสิ่งที่ต้องปรับตัว เพื่อก้าวสู่อนาคต สิ่งที่ตัวเองจะเป็น องค์กรที่ตัวเองสังกัดจะเป็น ในช่วง
3-10 ปี ข้างหน้า
3.2 มาตรฐานในการทํางานโดยได้มีการศึกษาฝึกอบรมพัฒนาตัวเอง และมีความเข้าใจในมาตรฐานวิชาชีพ
ที่จําเป็นในการออกแบบเพียงใด หมายถึง ความสามารถในการเข้าใจมาตรฐาน วิธีการออกแบบ
ซอฟแวร์ที่ใช้ในการออกแบบ ที่จําเป็นในการประกอบวิชาชีพของตน มีการพัฒนาตัวเอง ใฝ่เรียนรู้
ในวิชาชีพหรือที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพที่ขาดเสียมิได้ ผ่านช่องทางการอบรม สัมมนา การนําเสนอผลงาน
ประชุมวิชาการในระดับต่างๆ การเขียนบทความ การได้รับเชิญไปสอนหรือบรรยาย การวิจัยค้นคว้า

-8-
 
เรี ย นรู้ ใ นสิ่ ง ที่ เ ป็ น ปั ญ หาอุ ป สรรคในด้ า นต่ า งๆ ที่ ม ากระทบต่ อ การออกแบบเหมื อ ง และวิ ธี
การทําเหมือง
3.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา หมายถึง ความสามารถในการหยิบปัญหาขึ้นมาแก้ไข เรียงลําดับ
ความสํ า คั ญ ของปั ญ หาได้ มี ก ระบวนการในการทํ า ความเข้ า ใจปั ญ หา สามารถจํ า แนกแจกแจง
เหตุปัจจัยต่างๆ ที่ก่อให้เกิดปัญหาอย่างถ่องแท้ มีความรู้วิธีการแก้ปัญหาได้หลากหลาย การพิสูจน์
สืบสาวข้อเท็จจริง สามารถเลือกวิธีการแก้ปัญหาที่เหมาะสมกับองค์กร และสถานการณ์ตอนนั้น
ไม่ด่วนสรุป แต่ใช้ข้อมูลในการวิเคราะห์วินิจฉัย สามารถออกแบบวิธีการทดลองหรือวิธีจําลองปัญหา
สุดท้ายสามารถควบคุมเหตุปัจจัยต่างๆ ได้ และสรุปออกมาเป็นองค์ความรู้เชิงวิศวกรรม
3.4 ความสามารถที่ จ ะให้ คํ าแนะนําหรือควบคุม ให้ การปฏิบัติงานนั้นๆ เป็ นไปอย่างปลอดภัย โดยมี
ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐาน ที่ใช้ในการออกแบบและการทํางานเพียงใด หมายถึง การแสดงถึง
ความรู้ความเข้าใจในการหยิบมาตรฐานหรือประเมินความเสี่ยงมาใช้ในการออกแบบหรือปฏิบัติงาน
ว่ า มี สิ่ ง ใดบ้ า งที่ เ ป็ น ความเสี่ ย งภั ย ต่ อ อุ บั ติ เ หตุ หรื อ ภั ย อั น ตรายต่ า งๆ มาเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ
การออกแบบ หรื อ ปฏิ บัติ ง าน สามารถคาดการณ์ล่ ว งหน้ า แล้ ว มี ก ารออกแบบป้อ งกัน ไว้อ ย่ า ง
เหมาะสม ตลอดจนสามารถแก้ไขสถานการณ์ในภาวะฉุกเฉิน
3.5 ความรอบรู้ในเรื่องของจรรยาบรรณและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง หมายถึง สามารถเข้าใจจรรยาบรรณ
วิ ศ วกรของสภาวิ ศ วกร ว่ า หาข้ อ มู ล ได้ ที่ ไ หน และสรุ ป หลั ก ๆ มี อ ะไรบ้ า ง เมื่ อ หยิ บ เหตุ ก ารณ์
ในการทํางานสามารถบอกได้ว่าผิดจรรยาบรรณหรือไม่ เช่น เซนต์วิศวกรควบคุม แต่ไม่เคยไปดู
เหมืองเลย เป็นต้น สามารถระบุกฎหมายที่วิศวกรเหมืองแร่ต้องทราบ มีกฎหมายอะไรบ้าง แล้วมีผล
ต่อการทําเหมืองอย่างไร
3.6 ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ให้บุคคลอื่น หมายถึง ความสามารถในการอธิบาย ได้ทั้งแบบ
ละเอียด และแบบสรุปย่อ ได้ เคยมีประสบการณ์การสอนการบรรยายที่ไหนบ้าง เรื่องอะไร สามารถ
ปรับปรุงวิธีการพูดให้สอดคล้องกับระดับผู้ฟัง ที่อาจเป็นผู้ประกอบการ วิศวกรด้วยกัน ชุมชน ราชการ
และองค์กรอิสระ

2.2 ความสามารถทางวิชาชีพ (Professional Competency)


วิศวกรควรมีความรู้ความสามารถทางวิชาชีพสอดคล้องกับหมวดความรู้ที่กําหนดในเอกสาร
ส่วนที่ 3 ความรู้ทางวิศวกรรม

-9-
 
บทที่ 3
หมวดความรู้วิศวกรรม
1) งานวิศวกรรมเหมืองแร่ ประกอบด้วย
1.1 ธรณีวิทยาเหมืองแร่และการสํารวจแหล่งแร่
1.2 การทําเหมืองแร่
- การทําเหมืองบนดิน
- การทําเหมืองใต้ดิน
1.3 การเจาะและระเบิด
1.4 เครื่องจักรกลเหมืองแร่
1.5 การปรับปรุงคุณภาพแร่
1.6 การจัดการสิ่งแวดล้อม สังคม และคุณภาพชีวิตของเหมือง และโรงปรับปรุงคุณภาพแร่
1.7 การวางแผนและบริหารโครงการ
1.8 การวางแผน การออกแบบ และการพัฒนาทรัพยากรแร่อย่างยั่งยืน

งานวิศวกรรมเหมืองแร่มีรายละเอียดแต่ละหมวดหรือกลุ่มความรู้ที่วิศวกรต้องมีความรู้ความเข้าใจ
เป็นอย่างดี ดังนี้

- 10 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
1. ธรณีวิทยาเหมืองแร่ 1.1 การกําเนิดแหล่งแร่ (Deposits) 1.1.1 เข้าใจการกําเนิดแหล่งแร่แบบต่างๆ ทั้งแบบ
และการสํารวจแร่ ความรู้ด้านธรณีวิทยาแหล่งแร่ ที่มีหลายชนิด อันจะเป็นประโยชน์ใน ปฐมภูมิและทุติยภูมิ
(Mine Geology and การทําเหมืองที่ต้องติดตามและขุดขนขึ้นมาในการผลิต 1.1.2 เข้าใจชนิดแหล่งแร่แบบสายแร่ ตกตะกอน
Ore Reserve การกํ า เนิ ด แหล่ ง แร่ อาจแบ่ ง เป็ น แหล่ ง แร่ แ บบปฐมภู มิ ที่ เ ป็ น เป็นชั้น ความร้ อนแพร่ กระจาย และแบบ
Exploration) การเกิดแร่ที่มาจากของเหลวใต้โลก ดันตัวขึ้นมาสู่ผิวโลกเนื่องจาก ลานแร่
การขยั บ ตั ว ของโลก ธาตุ ต่ า งๆ ที่ อ ยู่ ใ นของเหลวร้ อ น จะมี
การรวมตัวเป็นแร่ แล้วเย็นตัวลง เช่น ทองแดง เหล็ก ฟลูออไรต์
แบบสายแร่ หรือแบบกระจายตัว แต่บางชนิดก็ไปรวมตัวกับดินหิน
ผิวโลกเดิม ทําปฏิกิริยาใหม่เป็นแร่ชนิดใหม่ เช่น ดิกไกต์ สําหรับ
แหล่งแร่แบบทุติยภูมิ จะมีธาตุจากแหล่งทั้งปฐมภูมิและทุติยภูมิ เกิด
การพังทลายตามการกัดกร่อนตามธรรมชาติ มาสะสมในที่ใหม่ เช่น
แร่ดีบุก แร่พลอย มาสะสมตัวเป็นกะสะแร่ หรือเกิดปฏิกิริยาทางเคมี
ละลายน้ําตามภาวะกรดด่าง ทําปฏิกิริยากับธาตุอื่นๆ เกิดเป็นแร่ใหม่
แล้วมาสะสมตัวในที่ใหม่ เช่น ลูกรัง แมงกานีส สังกะสี
1.2 ธรณีโครงสร้าง (Geology Structure) 1.2.1 รู้ จั ก รู ป ร่ า งหน้ า ตาของBedding, Fault,
ความรู้ด้านธรณีวิทยาที่มีองค์ประกอบของดินหินแร่ที่ประกอบขึ้นมา Joint, Cave, Crack, Sink hole, Folding,
เป็นรูปร่างโครงสร้างแบบต่างๆ Basin, Anti-cline, Syncline ในแผนที่และ
ธรณี โ ครงสร้ า งอาจเกิ ด จากการเคลื่ อ นของโลก ที่ อ าจเป็ น แบบ หน้างานจริงได้
การมุดอัด แผ่นดินไหว ทําให้โครงสร้างเดิม กดอัด หักงอ เอียงเท 1.2.2 รู้จักการวัด Dip , Strike , Direction โดยใช้
เป็ น รู ป ร่ า งแบบต่ า งๆ นอกจากนี้ การซะล้ า งพั ด พาเนื่ อ งจาก เข็มทิศธรณี
การซะล้าง น้ําท่วม การพังทลาย มาสะสมตัวเป็นชั้นๆ ในยุคต่างๆ
หรือเกิดการตกตะกอนเป็นชั้นๆ

- 11 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
1.3 ธรณีอุทก (Ground Water Geology) 1.3.1 สามารถอ่านแผนที่น้ําบาดาลได้
ความรู้ด้านธรณีวิทยาที่เกี่ยวกับการกําเนิดน้ําใต้ดินในธรณีโครงสร้าง 1.3.2 สามารถบอกได้ว่า เป็นแหล่งน้ําบาดาลแบบ
แบบต่ า งๆ การกํ า เนิ ด น้ํ าใต้ ดิ น เริ่ ม จากฝนตก น้ํ า ทะเลซึ ม ผ่ า น ไหน ทั้งแบบชั้นทราย ตามรอยแตกหิน ตา
ซึมผ่านชั้นดินหินใต้ดิน จากชั้นดินที่มีการซึมตัวสูง เก็บกักน้ําใต้ดิน น้ําใต้ดิน
การไหลของน้ําใต้ดิน มาตามชั้นดินทรายที่พรุนตัวหรือไหลผ่านรอย
แตกที่ ผ่ านแนวสัม ผัส ต่างชนิด การพบในแนวรอยแตกรอยเลื่อน
โพรงถ้ําของหินปูน การพบตาน้ําในชั้นดินเหนียว เมื่อน้ําใต้ดินตัด
ความลาดเอียงจะเรียกว่าน้ําซับ หากตัดพื้นราบก็จะตัดตัวขึ้นเป็นน้ํา
ผุด ถ้ามีแรงดันสูงๆ จะเป็นน้ําพุ คุณภาพน้ําใต้ดินจะขึ้นอยู่กับชนิด
หินดินที่ไหลผ่าน มีธาตุอะไรเป็นองค์ประกอบ เช่น เหล็ก แมงกานีส
กํามะถัน คาร์บอเนต เชื้ออีโคไล หากผ่านชั้นหินร้อน น้ําใต้ดินก็จะมี
อุณหภูมิสูงขึ้นด้วยมีการสํารวจและจําแนกปริมาณน้ําใต้ดิน และ
ทําเป็ น แผนที่ น้ํา ใต้ ดิน เพื่ อ ใช้เ ป็ นแนวทางในการค้น หาแหล่งน้ํ า
มาใช้งาน
1.4 ธรณีเคมี (Chemical Geology) 1.4.1 มีความเข้าใจถึงประโยชน์ทางธรณีเคมี ใน
ความรู้ด้านธรณีวิทยาเชิงเคมี ที่ทําปฏิกิริยาตามธรรมชาติเป็นแร่ การสํ า รวจค้ น หาแหล่ ง แร่ และการค้ น หา
ชนิดต่างๆ จนกําเนิดเป็นแหล่งแร่ หรือเกิดการแพร่กระจายของแร่ แหล่งกําเนิดมลภาวะทางดินและทางน้ํา เพื่อ
ธาตุ ที่เป็นมลทินทางดินและทางน้ํา บําบัดจัดการ โดยเฉพาะโลหะหนัก
1.4.2 รู้จักภาวะกรดด่างที่ทําให้เกิดการละลาย
และการตกตะกอนของแร่ โ ลหะและแร่
อโลหะ ในระดับเบื้องต้น

- 12 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
1.4.3 รู้จักการพิจารณาการแพร่ กระจายทางน้ํา
และทางดิน จากลักษณะภูมิประเทศ และ
ลักษณะทางธรณี

1.5 ธรณีเทคนิค (Geo-tech) 1.5.1 รู้จักการพังทลายของดินหินแร่แบบต่างๆ


ความรู้ด้านธรณีวิทยาด้านวัสดุศาสตร์ในเชิงกล เมื่อมีโครงสร้างแบบ จากความลาดเอียง จากการพังแบบรูปโค้ง
ต่างๆ ทั้งความลาดและโพรงอุโมงค์ ภายใต้เงื่อนไข คุณสมบัติความ แบบระนาบ แบบลิ่ม แบบหกกระเมน แบบ
แข็ งแรงธรณี วัส ดุ น้ํ า ที่กระทํา น้ํ าหนั กต่า งๆ ที่กระทํ า ตลอดจน กลิ้งตกหล่น
โครงสร้ า งทางธรณี แ บบต่ า งๆ ที่ ส ามารถบ่ ง บอกความแข็ ง แรง 1.5.2 รู้จักการพังทลายของอุโมงค์ในรูปแบบต่างๆ
ปลอดภัยหรือเกิดพังทลายลงได้ ทั้ ง การหั ก พั ง เฉพาะจุ ด การทรุ ด ตั ว เข้ า หา
อุโมงค์ ดินโคลนไหลจากโพรงเข้าอุโมงค์
1.5.3 รู้จักความแข็งแรงของดินหินด้านแรงเฉือน
แรงกดอัด แรงดัด เมื่อมีเหตุปัจจัยจากน้ําใต้
ดิน ตลอดจนดีกรีความอิ่มตัวน้ํา
1.5.4 สามารถคํ า นวณแฟกเตอร์ ค วามปลอดภั ย
ของความลาดเอียงจากการพังทลายรูปโค้ง
อย่างง่ายได้

- 13 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
1.6 แ ผ น ที่ ธร ณี แ ห ล่ ง แ ร่ แ ล ะ ภา พ ตั ด (Geology Map and 1.6.1 สามารถอ่านแผนที่ธรณีไ ด้ว่าเป็น หินอะไร
Section) อ่ า นแผนที่ ภู มิ ป ระเทศ 1:50,000 ได้ เ รี ย ก
แผนที่ ธ รณี แ หล่ ง แร่ เ ป็ น ความรู้ ด้ า นธรณี ที่ แ สดงเป็ น แผนที่ พิกัดแผนที่ได้ รู้จักขอบเขตขอบแอ่งถ่านหิน
ที่สามารถบ่งบอก ลักษณะทางธรณีต่างๆ อ่าน Fault ได้ ทั้ง Top view และ Cross
ภาพตัดทางธรณีเป็นความรู้ที่แสดงรูปร่างหน้าตาของลักษณะทาง section
ธรณีต่างในทิศทาง 2 มิติ และ 3 มิติ 1.6.2 สามารถเข้าใจ ภาพตัดขวางแหล่งแร่ ทั้ง
แบบ 2 มิติ และ 3 มิติและ Block Model
แหล่งแร่ เข้าใจชั้นดินชั้นหิน และรูปร่างตัว
แร่
1.6.3 สามารถอ่านและเข้าใจ คําอธิบายทางธรณี
จากหลุ ม เจาะสํ า รวจได้ ทั้ ง ชนิ ด ดิ น หิ น แร่
ตลอดจนความยาว ที่เชื่อมโยงไปตามพิกัด
x,y,z ในแผนที่ภูมิประเทศ

1.7 วิธีการสํารวจแร่ (Exploration Methods) 1.7.1 รู้ จั ก การวางแผนสํ า รวจที่ ส อดคล้ อ งกั บ
ความรู้ ใ นการพิ สู จ น์ แ หล่ ง แร่ ว่ า มี คุ ณ ค่ า ทางธรณี ห รื อ เศรษฐกิ จ ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะทางธรณี ความ
ตามความแม่ น ยํ า ที่ ต้ อ งการ ซึ่ ง มี อ ยู่ ห ลายวิ ธี ซึ่ ง ต้ อ งพิ จ ารณา ต้องการใช้แร่ หรือความต้องการที่ต้องการ
เลือกใช้ตามความเหมาะสม คุณสมบัติเพื่อการออกแบบสิ่งก่อสร้างทับบน
และการทําเหมืองในอนาคต

- 14 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
1.7.2 เข้ า ใจการเลื อ กวิ ธี สํ า รวจแร่ โดยวิ ธี เ ดิ น
สํารวจ เจาะสํารวจ ขุดบ่อสํารวจ การตัดร่อง
สํารวจทางธรณีฟิสิกส์ว่าความใช้เมื่อไร ข้อดี
ข้ อ เสี ย ในแต่ ล ะวิ ธี ปั ญ หาอุ ป สรรค์ ที่ อ าจ
เกิดขึ้น เวลาที่ต้องใช้ในการสํารวจ
1.7.3 รู้ จั ก อุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งมื อ เครื่ อ งจั ก รในการ
สํารวจแร่ ในระดับเบื้องต้น
1.7.4 เข้าใจความไม่แน่นอนของแหล่งแร่
1.7.5 สามารถแปลค่าการสํารวจลงในแผนที่ธรณี
และแผนผังการทําเหมืองได้

1.8 ประเภทเครื่องเจาะสํารวจและการประยุกต์ใช้ (Drilling 1.8.1 เข้าใจวัตถุประสงค์ของการเก็บตัวอย่างดิน


Machine and Application) หินแร่จากหลุมเจาะว่าต้องการแบบชิ้นย่อย
ความรู้ด้านเครื่องเจาะสํารวจแหล่งแร่แบบต่างๆ อันจะทําให้ทราบ หรือแบบแท่งตัวอย่าง เพื่อให้สอดคล้องกับ
ลักษณะรูปร่างการวางตัวทิศทางและขนาด ตลอดจนสามารถเก็บ ความต้องการรู้รูปร่างหน้าตาของแหล่ งแร่
ตัวอย่างขึ้นมาเป็นตัวแทนแหล่งแร่ ตามวัตถุประสงค์ที่จะทําเหมือง ตลอดจนการใช้ แ ร่ ห รื อ นํ า มาทดสอบด้ า น
หรือทางธรณีเทคนิค กลศาสตร์ หรือต้องการรูเจาะเพื่อหาชั้นน้ํา
หรือรูเจาะเพื่อวัดค่าทางธรณีเทคนิค
1.8.2 รู้ ช นิ ด เครื่ อ งเจาะแบบต่ า งๆ ได้ แ ก่ เครื่ อ ง
เจาะบังก้า เครื่องเจาะโรตารี เครื่องเจาะที่
เหมาะสํ าหรั บ งานหิน งานดิน ตลอดจนหั ว
เจาะดอกเจาะเก็บตัวอย่าง

- 15 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
1.9 การวางแผนการสํารวจแร่ (Exploration Plan) 1.9.1 มี ค วามเข้ า ใจในการสํ า รวจแหล่ ง แร่ แ บบ
ความรู้ด้านการสํารวจแร่ ที่สอดคล้องกับการกําเนิดแหล่งแร่ การทํา กว้างๆ การค้นหาศักยภาพที่ทําให้ลดพื้นที่
เหมือง หรืออื่นๆ โดยเลือกใช้วิธีการเครื่องมือ ครอบคลุมพื้นที่ ที่จะ การสํารวจที่เข้าหาแหล่งแร่
สามารถสํารวจได้ภายในเวลาที่กําหนด งบประมาณ ตลอดจนนํา 1.9.2 มีความเข้าใจวัตถุประสงค์ของการสํารวจว่า
ข้ อ มู ล มาวิ นิ จ ฉั ย แหล่ ง แร่ ไ ด้ ทั้ ง แบบเบื้ อ งต้ น หรื อ แบบลง สํา รวจหาแหล่ ง แร่ หรื อ สํ า รวจเพื่อ การทํ า
รายละเอียด เหมือง
1.9.3 สามารถวางแผนการสํารวจว่าควรจะเดิน
สํารวจ เจาะสํารวจ สํารวจทางธรณี จะใช้
เวลาเท่ า ไร เงิ น งบประมาณเท่ า ไร ใช้
เครื่องมือสํารวจอะไร ใครเป็นผู้รับผิดชอบ
ผลสําเร็จของงานคืออะไร ที่อาจเป็นปริมาณ
ตันแร่ คุณภาพแร่ คนงานผู้รับเหมาจะหาที่
ไหน ให้สอดคล้องกับความต้องการสํารวจ
1.9.4 สามารถทํา Action plan ได้ และติดตาม
แก้ปัญหางานได้ทันท่วงที

- 16 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
1.10 ประเภทของปริมาณสํารอง (Ore Reserve Classification) 1.10.1 มีความเข้าใจในความแตกต่างเรื่องปริมาณ
ความรู้ด้านปริมาณสํารอง ที่มีหลายชนิด ซึ่งแต่ละชนิด แสดงถึง สํารอง ที่เป็น ปริมาณสํารองทางธรณี และ
ความเป็นไปได้และความเชื่อมั่นที่แตกต่างกัน ประมาณสํารองทางการทําเหมือง
จะต้องเข้าใจปริมาณแร่สํารองแบบต่างๆ เพื่อป้องกันความสับสน 1.10.2 เข้าใจความไม่แน่นอนของปริมาณสํารอง
เข้าใจผิด ถึงขั้นไปลงทุนแล้วขาดทุนได้ ปริมาณสํารองทางธรณีนั้น เชิงความแปรปรวนทางธรณี และจํานวน
เป็ น ปริ ม าณแร่ ที่ มี อ ยู่ แต่ เ มื่ อ มาทํ า เหมื อ งจะขุ ด เก็ บ ได้ ไ ม่ ห มด ข้ อ มู ล ที่ นํ า มาคํ า นวณ หรื อ ระยะห่ า งตั ว
เนื่องจาก อาจอยู่ลึกเกินไปจนไม่คุ้มค่าในการลงทุน หรือ ต้องเว้น ข้อมูล
พื้นที่ไว้ สําหรับขอบถนน หมู่บ้าน การผายปากบ่อ หรือเหลือไว้ค้ํา 1.10.3 เข้าใจปริมาณสํารอง ที่เป็น แค่ศักยภาพ
ยันเพื่อความปลอดภัย หรือเป็นพื้นที่หวงห้าม ปริมาณสํารองที่ขุดได้ โอกาสทีจ่ ะเป็น และที่พิสูจน์แล้ว
จึงเป็นปริมาณสํารองทางเหมืองแร่

1.11 การประเมินปริมาณแร่ (Ore Reserve Evaluation) 1.11.1 เข้าใจรูปร่างหน้าตาแหล่งแร่ก่อนประเมิน


ความรู้ในการคํานวณประเมินปริมาณแร่สํารองในแหล่งแร่แบบต่างๆ ปริมาณแร่
ที่สามารถทําเหมืองได้ ซึ่งอาจมีแร่หลายชนิด เกรดแร่ที่แตกต่างกัน 1.11.2 สามารถเข้าใจ แหล่งแร่ที่จะเป็นวัตถุดิบ
อันจะนํามาผลิตเชิงพาณิชย์ ที่สอดคล้องตามแผนการทําเหมือง ตาม ว่าต้องการเกรดไหนบ้างที่จะนํามาผลิต
หลักวิศวกรรมเหมืองแร่ 1.11.3 เข้าใจวิธีการทําเหมืองก่อนการคํานวณ ทั้ง
วิธีการประเมินนั้น จะต้องมีข้อมูลจากการสํารวจแร่ หลุมเจาะ ธรณี แบบเหมืองผิวดิน ที่ต้องมีความรู้ด้านธรณี
ฟิ สิก ส์ ธรณีเ คมี ธรณีรั ง สี รวมทั้ง ข้อ มูล ธรณี ก ารกํ าเนิ ดแหล่ งแร่ เทคนิค เสถียรภาพความลาดเอียง หาก
ข้อมูลประสบการณ์การสํารวจและการทําเหมือง มาประกอบเป็น เป็นเหมืองอุโมงค์ ก็ต้องเข้าใจทิศทางที่จะ
รูปร่างหน้าตาแหล่งแร่ใ ต้ดิน อาจรวมข้อมูลคุณภาพแร่ด้วย เพื่อ เข้าหาแหล่งแร่ และประสิทธิภาพในการทํา
กําหนดคุณภาพแร่ขั้นต่ําที่ต้องการ จากนั้น การกําหนดเป็นพิกัด เหมืองแต่ละวิธี อาจต้องเหลือแร่ค้างทิ้งไว้
รั ง วั ด จากนั้ น ก็ ส ร้ า งโมเดลการคํ า นวณว่ า จะใช้ วิ ธี อ ะไรจึ ง จะ ตลอดจนขอบเขตประทานบั ต ร และ

- 17 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
เหมาะสมกั บ แหล่ ง แร่ ช นิ ด นั้ น ซึ่ ง อาจใช้ ธ รณี ส ถิ ติ เ ข้ า ช่ ว ย สิ่ ง บริเวณที่ห้ามทําเหมือง
ทั้งหลายเหล่านี้ ปัจจุบันมีซอฟแวร์ ช่วยคํานวณ และทําภาพให้ด้วย 1.11.4 มีความเข้าใจในการคํานวณปริมาตรแร่
เมื่อคํานวณโดยไม่มีเงื่อนไข ก็จะได้ปริมาณสํารองทางธรณี แต่ลอง โดยวิ ธี ก ารต่ า งๆ ได้ แ ก่ แบบ Block
กําหนดเงื่อนไขการทําเหมืองลงไป เช่น ขอบเขตบ่อเหมือง พื้นที่กัน Model แบบ Cross section หรือใช้
ออก มุมความลาดเอียงหากเป็นบ่อเหมือง หรือแร่ที่ต้องเหลือค้างไว้ โปรแกรมคํานวณ
ให้ เ กิ ด การค้ํ า ยั น พั ง ทลายทรุ ด ตั ว ประสิ ท ธิ ภ าพการเก็ บ แร่ จ าก 1.11.5 เข้าใจค่า K ที่เป็นความแปรปรวน จากทาง
การทําเหมือง และเงื่อนไขการลงทุน เช่น Max.stripping ratio ธรณี ได้ แ ก่ โพรงถ้ํา รอยเลื่ อนแร่ตีบ แร่
ก็จะได้ปริมาณสํารองทางเหมืองแร่ หาย และความแปรปรวนจากการทํ า
เหมือง ได้แก่ ประสิทธิภาพการทําเหมือง
ประสิทธิภาพการปรับปรุงคุณภาพแร่ จึงไม่
สามารถเก็บแร่มาได้ทั้งหมด เป็นค่า K ที่
ต้องคูณกับประมาณสํารอง เพื่อตัดทอนลง
ไปให้เข้าใกล้ปริมาณการผลิตจริงมากที่สุด

- 18 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
2. วิธีการทําเหมือง การทําเหมืองแร่แบ่งได้ตามเทคนิคการทําเหมือง ระดับ 1. อธิ บ ายวิ ธี ก ารทํ า เหมื อ งแร่ แ บบต่ า งๆ โดย วิธีการทําเหมืองแร่ที่
ความลึ ก ของแหล่ ง แร่ และความสามารถเข้ า ถึ ง แหล่ ง แร่ เป็ น ครอบคลุมในด้าน ระบบงานและกระบวนงานที่ กําหนดในกฎหมายแร่
การทําเหมืองบนดิน (surface mining) และการทําเหมืองใต้ดิน เกี่ ย วข้ อ ง หน่ ว ยปฏิ บั ติ ง านเหมื อ งแร่ ที่ เ ป็ น ของไทย
(underground mining) ปัจจัยหลักในการผลิต และเครื่องจักรกลเหมือง
สําหรับ การทําเหมืองบนดินที่ทํากัน แบ่งตามวิธีในการขุดแร่ แร่ที่ใช้ในการทําเหมืองแต่ละแบบ
ได้เป็น 2 ประเภทหลัก ได้แก่ 2. อธิ บ ายผลกระทบของการทํ า เหมื อ งแร่ แ บบ
1. วิธีการทําเหมืองแบบใช้เครื่องจักรกล ต่างๆ ต่อสภาวะแวดล้อม และชุมชนโดยรอบ
เป็นวิธีการที่ใช้เครื่องจักรกลเหมืองแร่มาทําขุดและขนแร่จากหน้า พื้นที่ทําเหมือง
เหมื อ งในสภาพแวดล้ อ มที่ ไ ม่ ต้ อ งใช้ น้ํ า การทํ า เหมื อ งแบบนี้
ยกตัวอย่างเช่น
1) การทํ า เหมื อ งหาบ หรื อ การทํ า เหมื อ งเปิ ด (open pit
mining)
2) การทําเหมืองหินและการทําเหมืองหินประดับ
3) การทําเหมืองแบบ open cast mining หรือ การทําเหมือง
แบบ strip mining
4) การทําเหมืองแบบ auger mining

2. วิธีการทําเหมืองแบบใช้พลังน้ํา
เป็นวิธีการที่ใช้น้ําหรือสารละลายมาช่วยตัดเปลือกดินหรือละลายแร่
ออกจากแหล่ง วิธีการทําเหมืองแบบนี้แบ่งย่อยออกได้ ดังวิธีการ
ต่อไปนี้

- 19 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
1) การทําเหมืองในลานแร่และการทําเหมืองนอกชายฝั่งทะเล
ได้แก่ การทําเหมืองแล่น การทําเหมืองฉีด การทําเหมืองสูบ
การทําเหมืองเรือขุด การทําเหมืองเรือสูบ
2) การทําเหมืองละลายแร่ (solution mining)
ในด้านวิธีการทําเหมืองที่กําหนดไว้ตามกฎหมายแร่ของไทยนั้น
เน้นไปในทางการผลิตแร่ดีบุกในลานแร่ และการทําเหมืองตามชนิด
แร่ ได้แก่
1. วิธีการทําเหมืองเรือขุด
2. วิธีการทําเหมืองสูบ
3. วิธีการทําเหมืองฉีด
4. วิธีการทําเหมืองแล่น
5. วิธีการทําเหมืองหาบ
6. วิธีการทําเหมืองปล่อง
7. วิธีการทําเหมืองอุโมงค์
8. วิธีการทําเหมืองเจาะงัน
9. วิธีการทําเหมืองเรือสูบ
10. วิธีการทําเหมืองละลายแร่

เรายังสามารถแบ่งวิธีการทําเหมืองตามความแข็งแรงของเปลือก
ดินและชั้นหิน ได้แก่ การทําเหมืองแบบ hard rock mining และ
การทําเหมืองแบบ soft rock mining

- 20 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
นอกจากการแบ่งวิธีการทําเหมืองตามวิธีการขุดแร่ หรือ แบ่ง
ตามความแข็งแรงของชั้นหิน เรายังจะอาจเรียกการทําเหมืองตาม
ชนิดแร่ ที่ขุ ดซึ่ งสะท้อนวิธีการทําเหมืองตามสภาพธรณีวิทยาของ
แหล่งแร่แต่ละชนิดด้วยเช่นกัน การทําเหมืองที่มีในประเทศไทยอาจ
แบ่งได้ เช่น การทําเหมืองดีบุก การทําเหมืองถ่านหิน การทํา
เหมืองทอง การทําเหมืองหิน การทําเหมืองหินประดับ การทํา
เหมืองเกลือ การทําเหมืองดินขาว

การเลือกวิธีการทํา การเลือกวิธีการทําเหมือง 1. ศึกษาเปรียบเทียบวิธีการทําเหมืองที่เหมาะสม


เหมือง วิธีการทําเหมืองที่เหมาะสมที่สุดจะต้องตอบสนองกับสภาพทาง กั บ สภาพทางธรณี วิ ท ยาของแหล่ ง แร่ ภู มิ
ธรณีวิทยาของแหล่งแร่และสภาพภูมิประเทศของแต่ละแห่งภายใต้ ประเทศ และข้ อ กํ า หนดการลงทุ น ได้ อ ย่ า ง
ข้อกําหนดทางด้านความปลอดภัย ด้านเทคโนโลยี และด้านการ เหมาะสม
ลงทุน เพื่อให้ได้ผลตอบแทนการลงทุนมากที่สุด 2. เลือกวิธีการทําเหมืองอย่างถูกต้องตามเงื่อนไข
ข้อกําหนดที่มีผลต่อการพิจารณาเลือกวิธีการทําเหมือง และตามข้อมูลของการศึกษา
ได้แก่
1. สภาพทางธรณีวิทยาของแหล่งแร่
2. ความมั่น คงและลั ก ษณะของชั้ นหิ นที่ ปิ ดทั บด้ า นบน
ของแหล่งแร่ ชั้นหินที่อยู่ใต้ชั้นแร่ และสายแร่
3. ต้นทุนและค่าใช้จ่ายการทําเหมือง
4. อัตราการผลิตแร่
5. ค่าแรงคนงานและจํานวนคนงานที่หาได้
6. ข้อกําหนดด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อม

- 21 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
แผนผังการทําเหมือง แผนผังการทําเหมือง 1. กํ า หนดที่ ตั้ ง ของระบบงานและโครงสร้ า ง
แผนผั ง การทํ า เหมื อ งเป็ น เอกสารแสดงตํ า แหน่ ง ที่ ตั้ ง ของ พื้ น ฐานลงบนแผนที่ เ หมื อ งแร่ ไ ด้ อ ย่ า ง
ระบบงานและโครงสร้ า งพื้ น ฐานและอาคารต่ า งๆ สั ม พั น ธ์ กั บ เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม มีความปลอดภัย
การทํางานของเหมือง ที่สอดคล้องกับเป้าหมาย แผนงานการทํา และสอดคล้องกับข้อกําหนดทางกฎหมายแร่
เหมือง และทําเหมืองมีดําเนินการได้อย่างมีกําไร ระบบงานและ การทํ า เหมื อ งแร่ และรายงานวิ เ คราะห์
สถานที่ตั้งที่แสดงในแผนผังการทําเหมือง ได้แก่ ขอบเขตบ่อเหมือง ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของการทําเหมือง
การเดิ น หน้ า เหมื อ ง อาคารสํ า นั ก งาน โรงแต่ ง แร่ และระบบ 2. ทํ า แผนผั ง การทํ า เหมื อ งและการเดิ น หน้ า
สาธารณู ป โภคบนพื้ น ดิ น และที่ อ ยู่ ใ ต้ ดิ น รวมถึ ง บ่ อ เก็ บ กั ก น้ํ า เหมืองที่สอดคล้องกับเป้าหมายและแผนการ
หมุนเวียน บ่อบําบัดน้ําเสีย สถานที่เก็บกองแร่ ระบบกว้านในปล่อง ทําเหมืองแร่และแผนการพัฒนาแหล่งแร่
เหมือง และที่เก็บกองกากแร่และที่เก็บกองมูลดินทราย แนวถนน
แนวสายไฟฟ้า แนวท่อน้ํา โรงสูบน้ํา และระบบสนับสนุนอื่นๆ ส่วน
แผนผั ง เหมื อ งใต้ ดิ น จะรวมถึ ง แนวอุ โ มงค์ ข นส่ ง แผงอุ โ มงค์ ผ ลิ ต
ตําแหน่งทางเข้าออกเหมือง การเดินหน้างานใต้ดิน และตําแหน่ง
ที่ตั้งระบบสาธารณูปโภคใต้ดิน เช่น ที่ตั้งพัดลมระบายอากาศ ระบบ
ระบายอากาศ ทางเดินท่อน้ํา ไฟฟ้า จุดจ่ายไฟฟ้า เป็นต้น
ในการพิ จ ารณาเลื อ กตํ า แหน่ ง ที่ ตั้ ง ของระบบงาน
โครงสร้ า งพื้ น ฐานและอาคารต่ า งๆ ควรกํ า หนดให้ มี อ ายุ
การทํางานตลอดอายุเหมืองแร่ หรืออาจมีกําหนดการเคลื่อนย้าย
ตํ า แหน่ ง เพื่ อ ลดค่ า ใช้ จ่ า ยในการทํ า เหมื อ งให้ น้ อ ยลงได้ ต่ อ ไป
ตําแหน่งที่ตั้งของระบบงานต่างข้างต้นควรพิจารณาจากข้อกําหนด
สําคัญดังต่อไปนี้

- 22 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
1. ความหนาของเปลือกดิน
2. รูปร่าง การวางตัว และความสมบูรณ์แร่ของแหล่งแร่สํารอง
3. ลักษณะภูมิประเทศ
4. ระบบสาธารณูปโภค (น้ํา ไฟฟ้า การสื่อสาร) ที่อยู่ในบริเวณ
ใกล้เคียง
5. แนวถนนหลวง ทางรถไฟ และการขนส่งแร่ไปยังตลาด หรือ
ผู้ซื้อ
6. โครงสร้างทางธรณีวิทยาของแหล่งแร่
7. ตําแหน่งที่ตั้งของชุมชนใกล้เคียงและผลกระทบของกิจกรรม
เหมืองต่อชุมชน
8. ข้อกําหนดทางกฎหมายและมาตรฐานสิ่งแวดล้อม
9. การจัดหาแรงงาน ช่างฝีมือท้องถิ่น

2.1 การทําเหมือง การออกแบบบ่อเหมือง 1. อธิบายผลกระทบของตัวแปรด้านธรณีวิทยา


บนดิน การออกแบบบ่อเหมืองเป็นการวางแผนงานในเชิงปริมาณของ แหล่ ง แร่ ความลาดชั น ของบ่ อ เหมื อ ง ความ
- การออกแบบบ่อ แร่ แ ละเปลื อ กดิ น ที่ จ ะต้ อ งขุ ด ในแต่ ล ะช่ ว งเวลาโดยสั ม พั น ธ์ กั บ มั่ น คงของผนั ง บ่ อ เหมื อ ง และปั จ จั ย ทาง
เหมืองและขั้นบันได ค่าใช้จ่ายและผลกําไรจากการทําเหมือง ทั้งนี้การออกแบบบ่อเหมือง เศรษฐศาสตร์ที่มีผลต่อการออกแบบบ่อเหมือง
เหมือง (Bench) เป็นการหาขอบเขตสุดท้ายที่จะทําเหมืองไปถึง (final pit limit) ซึ่ง 2. ออกแบบบ่อเหมืองอย่างง่ายได้
เมื่อสามารถกําหนดขอบเขตสุดท้ายของบ่อเหมืองได้แล้ว จะทําให้ 3. อธิบายแนวทางการออกแบบบ่อเหมืองโดยใช้
เราคํานวณค่าตัวแปรในการทําเหมืองดังต่อไปนี้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์
1. ปริมาณเปลือกดินที่ต้องขุดออก 4. ประเมิ น ผลการดํ า เนิ น การและปรั บ ปรุ ง บ่ อ
2. ปริมาณแร่สํารอง เหมื อ งเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความปลอดภั ย ในการ

- 23 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
3. ความสมบูรณ์เฉลี่ยของแร่สํารอง ป ฏิ บั ติ ง า น ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง ก า ร ใ ช้
4. อายุของเหมือง เครื่องจักรกล และการลงทุนเหมืองแร่
ข้อมูลที่ต้องการในการกําหนดอาณาเขตสุดท้ายของบ่อเหมือง
(final pit limit) ได้แก่ ความสมบูรณ์แร่ต่ําสุดที่ขุดทําเหมืองได้ (cut
off grade) และความลาดชันของบ่อเหมือง ( pit slope) มีส่วน
สั ม พั น ธ์ กั บ ราคาแร่ และค่ า ใช้ จ่ า ยในการทํ า เหมื อ งและการเปิ ด
เปลือกดิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อราคาแร่ในตลาดมีการเปลี่ยนแปลง
เพิ่มขึ้นหรือลดลงในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ก็จะส่งผลกระทบให้ความ
สมบู ร ณ์ แ ร่ ต่ําสุดที่ ทําเหมื องได้มีค่าลดลงหรือเพิ่ม ขึ้นตามไปด้ วย
และเมื่อมีการกําหนดความลาดชันของบ่อเหมืองใหม่ที่ทําให้ความ
ปลอดภัยเพิ่มขึ้น หรือในกรณีตรงข้ามที่บ่อเหมืองมีความลาดชัน
ลดลง ปริมาณเปลือกดินที่ต้องขุดออก ก็มากขึ้น ส่งผลให้ปริมาณแร่
สํารอง และอายุของเหมืองเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย
ความลาดชันของบ่อเหมืองและการออกแบบขั้นบันไดเหมือง
ในทางปฏิ บั ติ ท างเหมื อ งที่ เ ริ่ ม เปิ ด ดํ า เนิ น การใหม่ ๆ จะยั ง ไม่
สามารถกําหนดค่าความชันบ่อเหมืองได้ การออกแบบเหมืองใน
ตอนแรกนี้จึงเพียงออกแบบไว้ให้ชันที่สุดที่จะชันได้โดยพิจารณาจาก
โครงสร้างทางธรณีวิทยา เช่น รอยแยก รอยเลื่อน แนว slip plane
และค่าความแข็งแรงของหิน ฯลฯ ข้อมูลทางธรณีวิทยา และข้อมูล
ด้านธรณีเทคนิคจะนํามาใช้ประกอบการออกแบบความลาดชันของ
บ่อเหมือง โดยทั่วไปโครงสร้างและการวางตัวของชั้นหินจะทําให้บ่อ
เหมืองแต่ละด้านมีความลาดชันไม่เท่ากัน น้ําใต้ดินก็มีผลต่อความ

- 24 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
มั่ น คงของบ่ อ เหมื อ งอยู่ ม าก ในการแก้ ไ ขปั ญ หา เราต้ อ งทํ า ทาง
ระบายน้ําเพื่อลดความดันของน้ําและระดับน้ําในชั้นหิน เบี่ยงเบน
ทางน้ําไม่ให้ไหลหรือซึมซับเข้ามาในบ่อเหมือง

การออกแบบความลาดชันของบ่อเหมืองเป็นการกําหนดขนาด
รูปร่างของผนังบ่อเหมืองที่มีเป็นผลมาจากองค์ประกอบ
1. รูปร่างของขั้นบันไดเหมือง ได้แก่ มุมเอียง, ความสูง,
ความกว้างของ bench
2. interramp angle เป็นมุมลาดชันของผนังบ่อเหมืองที่มี
ขั้นบันไดเหมืองย่อยๆ ขั้นอยู่ระหว่างหน้างานหรือถนน ที่มี
ใช้ในการขุดและขนลําเลียงแร่และหินในบ่อเหมือง
3. มุมลาดชันของบ่อเหมือง (overall pit slope angle) เป็น
มุมลาดชันรวมที่วัดตั้งแต่ขอบของพื้นบ่อถึงขอบบ่อด้านบน
การออกแบบความลาดชันของบ่อเหมืองและขั้นบันไดเหมือง
ดําเนินการตามลําดับโดยใช้กระบวนการลองผิดลองถูกเพื่อให้ได้
ความลาดชันของบ่อเหมืองที่เหมาะสมในแต่ละส่วนดังต่อไปนี้
1. แบ่งบ่อเหมืองเพื่อการออกแบบเป็นส่วนๆ ตามสภาพ
ธรณี วิ ท ยาและโครงสร้ า งของชั้ น หิ น การเปลี่ ย นแปลง
คุ ณ สมบั ติ ข องเนื้ อ หิ น ทิ ศ ทางของแนวผนั ง บ่ อ เหมื อ ง
การปฏิบัติงานในบ่อเหมือง เช่น บริเวณที่ติดตั้ง เครื่องโม่ใน
บ่อเหมือง แนวสายพานลําเลียง แนวถนนในบ่อซึ่งต้องการ
ความลาดชันของบ่อเหมืองที่ไม่เท่ากัน

- 25 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
2. วิเคราะห์การออกแบบขั้นบันไดเหมือง (bench) เพื่อให้ได้
มุม interramp angle ที่ชันที่สุด ตามปกติจะออกแบบ
รูปร่างของ bench เพื่อให้ได้มุมชันที่สุด ซึ่งคาดได้ว่าจะต้อง
มีหินแตกหล่นลงมาจากผนังบ่อ ในหลายแห่งจึงกําหนดให้มี
ชั้นรองรับหินตก catch bench เว้นไว้ที่ผนังบ่อเหมืองทุก
ระยะ 2-3 ขั้นบันได ส่วนความสูงของ bench จะถูกกําหนด
ตามขนาดเครื่องจักรกล และระดับการขุดแร่ ส่วนความกว้าง
ของ bench ที่น้อยที่สุด (minimum bench width) ที่จะ
ใช้ ร องรั บ หิ น ตกลงมาจากผนั ง บ่ อ สํ า หรั บ bench สู ง
30 - 100 ฟุต ใช้สมการของ Ritchie (Min Bench width
= 4.5 ft + 0.2 Bench height) ความกว้างของขั้นย่อย
(berm) ที่น้อยที่สุด เท่ากับ 4 ฟุต สําหรับ bench face
angle นั้นจะเปลี่ยนแปลงได้ตามสภาพเนื้อหินที่นิยมใช้กัน
จะอยู่ประมาณ 75°-80° ซึ่งใช้ค่ าสถิติที่วัดได้ จากหน้างาน
หรือได้จากการทดสอบความมั่นคง และรอยแตกที่หลังแนว
หน้าผา (over break) ของ bench face angle ที่มุม 90°
จากความสูง ความกว้างที่น้อยที่สุด และ bench face
angle สามารถนําไปวิเคราะห์หาค่า interramp angle
ต่อไปได้
3. วิเคราะห์การออกแบบ interramp โดยใช้เกณฑ์ค่าใช้จ่ายที่
ถูกที่สุดในการเลือกมุม Interramp angle โดยการพิจารณา
จากการตัดถนนที่ใช้ในการขนส่งในบ่อเหมืองให้มีทางลาด

- 26 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
เฉลี่ย 8% และค่าใช้จ่ายที่ต้องสูญเสียจากการพังของผนัง
บ่อเหมือง
4. ประเมิ น มุ ม ลาดชั น ของบ่ อ เหมื อ งที่ อ อกแบบไว้ สํ า หรั บ
บริเวณที่มีแนวโน้มที่จะพังทลาย และปรับแก้ไขมุมลาดชัน
ตามความจําเป็น

2.1 การทําเหมือง การเลือกพื้นที่และออกแบบที่กองเปลือกดินในเชิงวิศวกรรม 1. กําหนดพื้นที่กองเปลือกดินได้อย่างเหมาะสม


บนดิน ดินและหินที่นํามากองหรือทิ้งมักจะเป็นเศษดินหินจากการขุด 2. คํานวณปริมาณความจุ และปริมาณของกอง
- การกองดินหิน เปิดเปลือกดิน เศษแร่คุณภาพต่ําที่ถูกคัดออก หรือกากแร่จากโรง ดินได้ถูกต้อง
การกองดินหินที่มีพิษ แต่ ง แร่ ที่ อ าจจะมี ส ารปนเปื้ อ น ขนาดของดิ น และหิ น จะมี ตั้ ง แต่ 3. กํ า หนดวิ ธี ก ารกองดิ น และเปลื อ กดิ น ที่ มี
ละเอียดเป็นฝุ่นจนถึงเป็นก้อนใหญ่ การถมดินจะถูกกําหนดโดย เสถี ย รภาพ ปลอดภั ย และลดผลกระทบต่ อ
ลักษณะของดินและพื้นที่ทิ้งดินแต่ละแห่ง การเลือกพื้นที่และ สิ่งแวดล้อม
ออกแบบกองทิ้งดิน ในแง่ของวิศวกรรมและเสถียรภาพของ 4. ติ ด ตามตรวจสอบเสถี ย รภาพและความ
กองดิน มีแนวทางดังนี้ ปลอดภัย และการรั่วไหล ของกองดินในเหมือง
1. การกําหนดตําแหน่งที่ตั้ง โดยทั่วไปพื้นที่ทิ้งดินนอกบ่อเหมือง
ควรอยู่ห่างจากบริเวณที่ขอบบ่อเหมืองปัจจุบันจะขยายไปถึง
เพื่อลดโอกาสในการสูญเสียแร่ การขนย้ายดินครั้งที่สอง หรือ
การพังทลายของดินเข้ามาในบ่อเหมือง เช่น กําหนดให้ห่าง
จากขอบเขตสุดท้ายไม่น้อยกว่า 100-200 เมตร ขึ้นอยู่กับ
เสถียรภาพของกองดินและผนังบ่อ และไม่ควรถมดินลงบน
พื้ น ที่ ต ามธรรมชาติ ที่ มี ค วามลาดชั น มากกว่ า 30-36%
เนื่องจากพื้นที่จะไม่เสถียรตามธรรมชาติและให้ความจุน้อย

- 27 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
2. ประเด็นที่สําคัญในเรื่องที่ตั้ง คือ ต้องประหยัดค่าใช้จ่าย
มีระยะทางขนส่งลํ าเลี ยงดินไม่ไกล การคํ านวณระยะทาง
ขนส่งดิน ให้เริ่มจากจุดศูนย์ถ่วงของบล็อคดินที่จะขุดขน ไป
ตามเส้นทางขนส่งถึงตําแหน่งขอบบนของกองดินที่กําหนดไว้
ให้เป็นจุดถม นอกจากนี้ควรมีค่าบํารุงรักษาด้านเสถียรภาพ
กองดินและการระบายน้ําน้อย
3. กําหนดขนาดพื้นที่ของกองที่ทิ้งดิน มีความพอเพียงกับ
ปริมาณดินทิ้งพิจารณาจากความสูงและความลาดของกอง
ดิน การคํานวณพื้นที่หรือปริมาณความจุของกองดิน จะใช้
ความหนาแน่นของดินแน่น (bank density) อัตราส่วนการ
ฟูของดินเมื่อถูกขุด (swell factor) และอัตราส่วน
การอัดตัวหรือยุบตัวของดินหลังถูกถม (compaction) เช่น
ดินทั่วไปเมื่อถูกขุดจะมีปริมาตรขยายขึ้นมา 1.1-1.5 เท่าของ
ปริมาตรแน่น ถ้าเป็นหินแข็งที่ผ่านการระเบิดอาจจะมี
ปริมาตรฟูขึ้น 1.3-1.6 เท่า และภายหลังการถมและบดอัด
โดยใช้แทรคเตอร์ไถย่ําจะทําให้กองดินยุบตัวลง ซึ่งค่อนข้าง
แปรผันตามชนิดและขนาดของดินหินและวิธีการบดอัด ดินที่
มี น้ํ า ห นั ก จ ะ ยุ บ ตั ว ไ ด้ ดี ก ว่ า ดิ น เ บ า ดิ น ที่ ข น ม า ทิ้ ง
โดยรถบรรทุ ก จะถู ก รถย่ํ าให้อัดตั วแน่ น กว่า การขนมาทิ้ ง
โดยสายพานลําเลียง โดยทั่วไปจะใช้ปริมาตรหลังยุบตัวแล้ว
ประมาณ 1.25-1.3 เท่าของปริมาตรแน่น หลังจากคํานึงถึง
อัตราส่วนการฟูและการยุบตัวแล้ว

- 28 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
4. ออกแบบรูปร่างกองดินทั้งในด้านความสูง ความลาดชัน และ
การบดอัด ให้มีเสถียรภาพ โดยทั่วไปมักกําหนดให้กองมูลดิน
ทรายมีความลาดชันด้านข้างที่เหมาะสม กองดินทิ้งแบบชั้น
เดียวโดยทั่วไปจะมีค่าความลาดชันประมาณ 12-30 องศา
ขึ้นกับชนิดของดิน แต่ความลาดชันที่ถูกต้องควรได้จากการ
คํานวณและวิเคราะห์เสถียรภาพของกองดิน จากข้อมูลต่างๆ
เช่น ชนิดของมูลดินทราย คุณสมบัติทางวิศวกรรม ปริมาณ
ความชื้นในดิน (โดยขุดหลุม หรือเจาะ auger drill เก็บ
ตัวอย่างดินในระดับลึก) การวิเคราะห์ออกแบบกองที่ทิ้งดิน
จะใช้ค่าแฟกเตอร์ความปลอดภัยไม่น้อยกว่า 1.2-1.5
5. การถมดินควรถมเป็นขั้นบันไดหลายๆ ชั้น ควรออกแบบตาม
หลักกลศาสตร์ของชั้นดินให้มีความสูงและความกว้างของ
หน้ า บั น ไดที่ ป ลอดภั ย ความสู ง แต่ ล ะชั้ น ไม่ ค วรมากกว่ า
15-20 เมตร ความสูงรวมจะขึ้นอยู่กับลักษณะคุณสมบัติของ
ดินและปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม เพราะจะเกิดการชะล้างจาก
ลมและฝน รวมทั้งเสียทัศนียภาพของพื้นที่ ไหล่กองดินแต่ละ
ขั้นจะมีความลาดชันตามธรรมชาติ (angle of repose)
โดยทั่วไปจะใช้ค่าประมาณ 30-40 องศา ความกว้างของหน้า
บันไดจะทิ้งระยะไว้พอสมควรไว้สําหรับเป็นพื้นที่ปลูกพืชและ
ระบายน้ํา บนพื้นราบของขั้นบันไดควรมีความลาด 1-2%
เพื่อให้น้ําไหลเข้าหาฐานของ bench ที่มีร่องระบายน้ํา

- 29 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
6. พื้นที่ราบชั้นบนของกองดินควรมี ความกว้างพอสําหรับให้
รถบรรทุกเลี้ยวกลับรถเพื่อเทดินได้ และควรมีคันดิน (berm)
สูงไม่น้อยกว่าเพลาล้อรถ สําหรับใช้กั้นตรงไหล่กองดินเพื่อ
กันรถถอยหลังเทดินเกินระยะปลอดภัย
7. พื้นผิวด้านบนของกองดินควรมีความลาดชัน 3-5% เพื่อช่วย
การระบายน้ําบนกองดิน
8. ประเมิ น ปริ ม าณน้ํ า ฝนสู ง สุ ด ที่ จ ะตกบนกองดิ น หั ก น้ํ า
บางส่วนที่ซึมลงด้านล่าง เพื่อใช้ออกแบบขนาดของร่อง
ระบายน้ําบนกองดิน
9. สร้างถนนชั่วคราวโดยรอบฐานกองดิน เพื่อใช้เป็นตัวกําหนด
ขอบเขตแนวร่องระบายน้ําและคูดักตะกอน

การกองเปลือกดินที่มีพิษ
ในการกองเปลือกดินที่มีพิษนั้น ควรจะมีการกําหนดไว้ตั้งแต่
ขั้นตอนการวางแผนทําเหมือง เพื่อให้ทราบถึงรายละเอียดขั้นตอน
การทําเหมืองที่จะพบดินที่มีพิษหรือสภาวะที่ทําให้เกิดดินเป็นพิษ ซึ่ง
จะช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การจัดทําแผนการควบคุม
การถมเปลือกดินที่มีพิษนั้น ควรประกอบด้วย
1. ศึก ษากฎหมายหรื อ ระเบี ย บข้ อบัง คั บที่ จะต้ อ งปฏิบัติ ต าม
เกี่ยวกับการถมดินที่มีพิษ
2. การรวบรวมข้อมูลชนิดและปริมาณของดินที่มีพิษ ได้แก่
ชนิดของความเป็นพิษของดิน สารพิษที่ปนเปื้อนคุณลักษณะ

- 30 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
ของดินที่มีพิษ ข้อมูลตําแหน่ง ขอบเขต และปริมาณของดิน
ที่มีพิษ
3. แนวทางทั่ ว ไปในการเลื อ กพื้ น ที่ สํ า หรั บ ฝั ง กลบดิ น ที่ มี พิ ษ
ประกอบด้วย พื้นที่กลบฝัง ควรอยู่เหนือระดับน้ําใต้ดิน หรือ
พื้นที่ที่น้ําท่วมถึง ฝังให้ลึกกว่าระดับที่รากพืชสามารถหยั่งถึง
หรือลึกจากผิวดินอย่างน้อย 3-4 เมตร และมีที่ตั้งห่างจาก
แหล่งน้ําธรรมชาติที่อาจจะถูกปนเปื้อน
4. การสํารวจข้อมูลพื้นที่ที่จะใช้ฝังกลบหรือดินที่มีพิษ ได้แก่
ตรวจสอบและวิเคราะห์คุณสมบัติทางกายและเคมีของชั้นดิน
หิ น เช่ น คุ ณ สมบั ติ ด้ า นความซึ ม ได้ ความชื้ น ความแน่ น
และ ปฏิกิริยาต่อวัสดุที่มีพิษ เป็นต้น ลักษณะทางธรณีวิทยา
โครงสร้างทางธรณีวิทยา เพื่อให้ได้ทราบถึงการวางตัว
การเรี ย งลํ า ดั บ รอยแตก รอยเลื่ อ นหรื อ รอยคดโค้ ง และ
ตรวจสอบลั ก ษณะทางอุ ท กธรณี วิ ท ยาในบริ เ วณนั้ น เพื่ อ
ป้องกันการปนเปื้อนแหล่งน้ําผิวดินและชั้นน้ําบาดาล
5. สํารวจชนิดและปริมาณวัสดุที่มีศักยภาพในการนํามาใช้ผสม
เพื่อปรับสภาพ ปูรองพื้นหรือปิดทับดินที่มีพิษ โดยพิจารณา
จากวั ส ดุ ที่ มี อ ยู่ ใ นบริ เ วณใกล้ เ คี ย งก่ อ นนํ า มาวิ เ คราะห์
คุณสมบัติทางกายภาพและเคมีเพื่อประเมินความเหมาะสม
และความหนาของชั้นดินที่ต้องปูรองพื้นหรือปิดทับ
6. การทําให้ส ภาพความเป็นพิษเกิดความเสถียรก่อนการถม
หรือฝังกลบ

- 31 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
7. กําหนดวิธีการถมดินที่มีพิษ เช่น ฝังดินที่มีพิษในที่สูงและแห้ง
เช่น ฝังให้สูงกว่าระดับน้ําใต้ดิน หรือใช้วัสดุที่เหมาะสม เช่น
ดินเหนียว ปูรองพื้นเพื่อป้องกันการสัมผัสน้ําใต้ดิน ปิดทับ
ด้ ว ยชั้ น ดิ น เหนี ย ว ให้ มี ค วามหนาที่ เ หมาะสมไม่ น้ อ ยกว่ า
1 เมตร และมีการบดอัดให้แน่น ถ้าดินมีสภาพพีเอชต่ํา
อาจจะมีมาตรการเสริมโดยใช้วัสดุที่เป็นด่างหรือหินปูนนํามา
ผสมสลับชั้นไปกับดินที่ฝังกลบด้านบนของกองดินควรทําให้
เป็นแบบลาดเอียงเล็กน้อยเพื่อช่วยระบายน้ําผิวดิน
8. การกลบฝังดินมีพิษหรือมีสารพิษร้ายแรง ควรใช้วิธีการที่
เหมาะสมตามที่ ก ฎหมายกํ า หนดและปรึ ก ษาผู้ เ ชี่ ย วชาญ
เฉพาะ สําหรับมาตรการโดยทั่วไปจะต้องเลือกพื้นที่ฝังกลบที่
อยู่ห่างจากรอยเลื่อนใหม่ (ยุคโฮโลซีน) เป็นพื้นที่ที่น้ําท่วมไม่
ถึงโดยสร้างพื้นที่เฉพาะที่ปูรองพื้นชั้นล่างด้วยดินเหนียวอัด
แน่นที่มีความหนาเหมาะสม ชั้นถัดขึ้นมาปูด้วยวัสดุกันซึม
เช่น Geomembrane ที่สามารถสกัดกั้นการซึมผ่านของ
สารพิษ และคลุมปิดทับดินที่มีพิษด้านบนด้วยวัสดุกันซึม
ชนิดเดียวกัน และวางระบบจัดการระบายน้ําให้เหมาะสม
เพื่อเบี่ยงปริมาณน้ําผิวดินออกไปจากบริเวณที่ฝังกลบนี้
9. มี ม าตรการเสริ ม หลั ง การกองเปลื อ กดิ น ที่ มี พิ ษ เช่ น
การปลูกพืชคลุมดิน กําหนดมาตรการตรวจสอบการรั่วไหล
ตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมอย่างสม่ําเสมอ

- 32 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
2.1 การทําเหมือง การคํานวณ Overburden Ratio 1. ประยุกต์ใช้ค่าอัตราส่วนเปลือกดินในการกํากับ
บนดิน ในการทําเหมืองเปิด อัตราส่วนเปลือกดินเป็นพารามิเตอร์ ดูแลการใช้เครื่องจักรกลเหมืองแร่และควบคุม
การคํานวณ สําคัญที่แสดงปริมาณภาระงานและค่าใช้จ่ายที่ทางเหมืองจะต้องเปิด ปริมาณงานขุดขนและขนส่งแร่ในเหมือง
Overburden Ratio เปลือกดินเพื่อขุดแร่ให้ได้ต่อหน่วยการผลิตในแนวหนึ่งๆ หรือแถว
หนึ่งๆ โดยทั่วไปจะนิยามไว้ดังต่อไปนี้

ปริมาณเปลือกดินที่ต้อง
อัตราส่วนการเปิดเปลือกดิน = ขุดออก
ปริมาณแร่ที่ขดุ ได้

หน่วยของ overburden ration หรือเรียกได้ว่า stripping ratio


อาจเป็นลูกบาศก์เมตรต่อลูกบาศก์เมตร หรือลูกบาศก์เมตรต่อตัน
หรื อตั น ต่ อตั น ก็ ได้ทั้ งสิ้น ในกรณีที่คิดการขุ ดแร่โดยรวมในช่วง
ระยะเวลาหนึ่งๆ เหมืองจะเรียกว่า over-all stripping ratio

ทางเหมืองอาจจัดการพัฒนาหน้าเหมืองและกําหนดปริมาณ
งานเปิดเปลือกดินได้หลายแบบ คือ
1. ปริมาณการเปิดเปลือกดินมากในช่วงแรกและลดลงเรื่อยๆ
2. ปริมาณการเปิดเปลือกดินน้อยในช่วงแรกและเพิ่มมากขึ้น
เรื่อยๆ
3. ปริมาณการเปิดเปลือกดินคงที่ตลอดระยะเวลาทําเหมือง

- 33 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
2.1 การทําเหมือง คํานวณเวลาวงรอบการทํางาน 1. ประยุ ก ต์ ใ ช้ ค่ า วงรอบเวลาในการทํ า งานของ
บนดิน การคํ า นวณเวลาที่ ใ ช้ ใ นแต่ ล ะวงรอบการผลิ ต สํ า หรั บ เครื่ อ งจั ก รในการเลื อ กซื้ อ /ใช้ / วิ เ คราะห์
- การคํานวณ Cycle เครื่องจักรกลที่ใช้ในการขุดที่เป็นแบบทํางานซ้ําๆ กัน เช่น รถตัก เครื่องจักรกลเหมืองแร่ และปรับปรุงระบบการ
Time ของเครื่องจักร เทหน้า รถขุด หรือ รถ back hoe จะประกอบด้วยเวลาที่ต้องใช้ใน ผลิตและขนส่งวัสดุในเหมือง
การตัก กวาดหรือหมุนรอบ เท และหมุนกลับ เวลาที่ใช้ในแต่ละ
วงรอบการผลิ ต ที่ เ ป็ น ค่ า พื้ น ฐาน จะหาได้ จ ากหนั ง สื อ คู่ มื อ
การใช้ เ ครื่ อ งจั ก รกลของบริ ษั ท ผู้ ผ ลิ ต โดยจะต้ อ งมี ก ารปรั บ แก้
ค่ า เวลาที่ ไ ด้ ด้ ว ยตั ว คู ณ ตามสภาพการทํ า งาน และมุ ม กวาดหรื อ
มุมที่ใช้หมุนตัวแต่ละแห่ง ส่วนเครื่องจักรกลที่ใช้ในการขนส่ง ได้แก่
รถบรรทุก จะมีวงรอบเวลา ในการรับแร่ วิ่งบรรทุก เข้าสู่ตําแหน่ง
และเท และวิ่งรถเปล่ากลับไปจุดรับแร่ เวลาวงรอบการทํางานส่วน
ใหญ่ใช้ในการวิ่งบรรทุกหินแร่จากหน้างานไปยังจุดเท และวิ่งรถกลับ
จะต้องมีการคํานวณเวลาที่ใช้วิ่งรถในแต่ละช่วง ตามความเร็วที่วิ่งได้
สูงสุด หรือตามข้อกําหนดความเร็วที่มีความปลอดภัย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ
สภาพถนน ความลาดชันของถนน น้ําหนักบรรทุก กําลังของรถ

2.1 การทําเหมือง การคํานวณออกแบบระบบการขนถ่าย 1. คํ า น ว ณ ร ะ บ บ ข น ส่ ง ใ น เ ห มื อ ง แ ล ะ


บนดิน ชนิดและประเภทเครื่องจักรกลที่นิยมใช้ในระบบการผลิตของ การขนถ่ า ยวั ส ดุ / แร่ ใ นเหมื อ งได้ อ ย่ า ง
การคํานวณออกแบบ เหมืองในประเทศซึ่งเป็นเหมืองขนาดเล็กถึงปานกลาง ได้แก่ เหมาะสม
การขนถ่ายด้วยวิธี 1. ระบบ front end loader – truck system 2. ใช้ โ ปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ใ นการศึ ก ษา
ต่างๆ 2. ระบบ shovel/ hydraulic excavator-truck system วิ เ คราะห์ / ออกแบบระบบปฏิ บั ติ ก ารขนส่ ง
3. ระบบ shovel/hydraulic excavator – truck - in pit วั ส ดุ / แ ร่ ใ น บ่ อ เ ห มื อ ง โ ด ย คํ า นึ ง ถึ ง

- 34 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
crushing –belt conveyor system ประสิ ท ธิ ภ าพและเป้ า หมายการผลิ ต ของ
4. ระบบ BWE-belt conveyor system ระบบ
ระบบการขนส่งด้วยรางหรือรถไฟในบ่อเหมือง ไม่เป็นที่นิยมใช้ 3. กํากับและติดตามระบบขนส่งในเหมืองได้ตาม
กันในปัจจุบันเนื่องจากต้องใช้ต้นทุนสูง ขาดความคล่องตัวในการ เป้าหมายกําหนด
จั ด การ และขึ้ น ทางลาดชั น ได้ น้ อ ยกว่ า รถบรรทุ ก และสายพาน
ลํา เลี ย ง ในขณะที่ ส ายพานลํ า เลี ย งจะได้ รับ ความนิ ย มมากขึ้น ใน
เหมืองที่ต้องการเป้าหมายการผลิตที่สูงขึ้น
ในปั จ จุ บั น มี ก ารพั ฒ นาในด้ า นการออกแบบ และติ ด ตาม
การทํ า งานของหน่ ว ยปฏิ บั ติ ก ารต่ า งๆโดยใช้ ร ะบบคอมพิ ว เตอร์
เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในระบบการใช้เครื่องจักรกลแนวทางการ
จั ด การโดยใช้ ร ะบบคอมพิ ว เตอร์ จั ด การให้ ไ ด้ มี ก ารเลื อ กใช้
เครื่องจักรกล และควบคุมกํากับการทํางาน ได้แก่
1. การใช้คอมพิวเตอร์สร้างแบบจําลองระบบการผลิตในเหมือง
เพื่อใช้ในการวิเคราะห์สมรรถนะของระบบการผลิต และ
การใช้เครื่องจักรกลชุดใดชุดหนึ่งเป็นการเฉพาะ
2. การกํากับและติดตามระบบการขนส่งที่ใช้รถบรรทุก โดย
การติดตามและกํากับการทํางานของรถบรรทุกเพื่อลดเวลา
ที่สูญเสียในแต่ละเที่ยว ทําให้ใช้ประโยชน์เครื่องจักรกลได้ดี
ยิ่งขึ้น
3. การทําแบบจําลองกระบวนการผลิตเชิงสถิติ เพื่อใช้กํากับ
และตรวจสอบการทํ า งานของทั้ ง ระบบให้ ส อดคล้ อ งกั น
รวมทั้งการติดตามผลผลิตและคุณภาพแร่จากเหมือง

- 35 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
2.1 การทําเหมือง การออกแบบเส้นทางลําเลียงในเหมือง 1. สามารถออกแบบและเลือกใช้เส้นทางลําเลียง
บนดิน การออกแบบเส้นทางลําเลียงในการขนส่ง คน /วัสดุ /แร่ จะต้อง ในเหมืองที่ทําให้เกิดระบบการขนส่งที่มีความ
- การออกแบบเส้นทาง คํานึงถึงปัจจัยพื้นฐานและความปลอดภัยของระบบดังต่อไปนี้ ปลอดภั ย และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพตามหลั ก ทาง
ลําเลียงในเหมือง 1. วัตถุประสงค์ของการใช้เส้นทางลําเลียงและปริมาณความ วิศวกรรมและหลักเศรษฐศาสตร์
ต้ อ งการขนส่ ง และระยะเวลา ตลอดจนความถี่ ข อง 2. ควบคุมหน่วยปฏิบัติการขนส่งในเหมืองและ
การใช้เส้นทาง การใช้ทางลําเลียงร่วม และทางเลือกของ ปรับปรุงเส้นทางลําเลียงและขนส่งในเหมืองที่
ระบบลําเลียง ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ
2. เส้ น ทางลํ า เลี ย งในเหมื อ งจะต้ อ งมี ข นาดความกว้ า งที่
เพียงพอให้เครื่องจักรกลที่ใช้ในงานขนส่งสามารถทํางานได้
อย่ า งปลอดภั ย เช่ น ถนนมี ค วามกว้ า งไม่ น้ อ ยกว่ า ขนาด
มาตรฐานความปลอดภัยที่กําหนด
3. เส้นทางลําเลียงจะต้องมีระยะทางที่ทําให้เกิดการขนส่งที่มี
ประสิทธิภาพทางวิศวกรรม และหลักเศรษฐศาสตร์ เช่น มี
ความลาดชันเฉลี่ยตามมาตรฐานกําหนด สามารถใช้ขนส่งที่
รวดเร็วและปลอดภัย มีความมั่นคงของเส้นทางลําเลียง
4. เส้ น ทางลํ า เลี ย งต้ อ งอยู่ ใ นตํ า แหน่ ง ที่ มี ก ารขนส่ ง ที่ มี
ความปลอดภั ย จากอั น ตราย เช่ น หิ น ปลิ ว น้ํ า หลาก
ตัดผ่านแนวหินถล่ม ลมแรง หรืออันตรายอื่นๆ
5. เส้นทางลําเลียงจะต้องมีป้ายบอก/เตือน แสดงทิศทาง ป้าย
จราจร ป้ายกําหนดตามมาตรฐานความปลอดภัย
6. พิจารณาจัดเส้นทางขนส่งสํารอง เช่น ทางเบี่ยง ทางเลี่ยง
เส้นทางออกฉุกเฉินในกรณีอุบัติเหตุ

- 36 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
การออกแบบถนนในบ่อเหมือง
การออกแบบถนนในบ่อเหมืองมีวัตถุประสงค์เพื่อทําให้เกิด
การขนส่ ง ในเหมื อ งที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และมี ค วามปลอดภั ย ใน
การปฏิบัติงานขนส่ง
การออกแบบถนนจะต้องคํานึงถึงปัจจัยในการออกแบบได้แก่
1. มีค่าใช้จ่าย NPV (net present value) ในการขนส่งแร่
และเปลือกดินน้อยที่สุดตลอดระยะเวลาการทําเหมือง
2. มี ก ารคั บ คั่ ง ของการจารจรในเหมื อ งให้ น้ อ ยที่ สุ ด และ
มี ก ารบํ า รุ ง รั ก ษาสภาพให้ ถ นนมี ค วามปลอดภั ย และ
มีความพร้อมในการใช้งานขนส่ง
3. หลี ก เลี่ ย งเส้ น ทางผ่ า นบริ เ วณที่ มี ผ นั ง เหมื อ งถล่ ม
หินถล่มหรือแผ่นดินทรุดจากรอยแยกทางธรณีวิทยา
4. เลือกเส้นทางถนนที่มีระยะเวลาการใช้งานที่นานที่สุด
การออกแบบและการทําถนนในเหมืองสามารถแบ่งการพิจารณา
ได้ดังนี้
1. แนวถนน Haul road layout
2. รายละเอียดทางวิศวกรรมของถนน Haul road geometry
3. วัสดุที่ใช้ทําถนน Haul road construction material

- 37 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
แนวถนน ควรพิจาณา
1. เส้นทางการขนส่งที่สามารถเชื่อมต่อการปฏิบัติการต่างๆใน
เหมิ อ งได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เช่ น การวางตั ว ขอสายแร่
ทิศทางการเดินหน้าเหมืองและการเข้าหาสายแร่ โรงโม่ใน
บ่อเหมือง สถานที่ตั้งของกองเปลือกดิน โรงแต่งแร่
2. แนวถนนในบ่อเหมืองอาจวางแนวหมุนวนเป็นก้นหอย หรือ
แบบสลั บ กลั บ ไปกลั บ มาบนฝั่ ง footwall หรื อ แบบใช้
เส้นทางหลักและแยกแขนงลงไปตามระดับต่างๆ ก็ได้ ทาง
ฝั่ง footwall และให้หลีกเลี่ยงพื้นที่ที่มีผนังเหมืองถล่ม หิน
ถล่มหรือแผ่นดินทรุดจากรอยแยกทางธรณีวิทยา
3. ความลาดชันของถนนเฉลี่ย โดยปกติอยู่ที่ 8-10% สําหรับ
รถบรรทุ ก เทหลั ง และ 12% สํ า หรั บ รถบรรทุ ก แบบ
trolley truck
4. ถนนในบ่ อ เหมื อ งต้ อ งมี ร ะยะทางที่ ย าวเหมาะสมกั บ
ความลึกและขนาดของบ่อเหมือง เพียงพอที่ทําให้รถบรรทุก
วิ่งขึ้นตามความลาดชันในบ่อได้

- 38 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
รายละเอียดทางวิศวกรรมของถนน Haul road geometry
ควรพิจารณา
1. ถนนในบ่ อ เหมื อ งมั ก จะมี 1 ช่ อ งทางสํ า หรั บ รถวิ่ ง
ทางเดี ย ว และมี 2 ช่ อ งทางสํ า หรั บ รถวิ่ ง สวนทางกั น
ในกรณี ที่ มี ร ถขนส่ ง จํ า นวนมากอาจเพิ่ ม ช่ อ งทางวิ่ ง ตาม
ความหนาแน่นของการจารจร และความเร็วที่ใช้
2. ความกว้างของถนน อาจพิจารณาตามขนาดความกว้างของ
รถ คือ สําหรับ 1 ช่องทางวิ่งถนนควรมีความกว้างไม่น้อย
กว่ า 2 เท่ าของความกว้ างของรถ สํา หรั บ 2 ช่อ งทางวิ่ ง
ถนนควรมีความกว้างไม่น้อยกว่า 3.5 เท่าของความกว้าง
ของรถ และสําหรับ 3 ช่องทางวิ่งถนนควรมีความกว้างไม่
น้อยกว่า 5 เท่าของความกว้างของรถ
3. ทางโค้ ง ของถนนจะต้ อ งสอดคล้ อ งกั บ รั ศ มี ว งเลี้ ย วของ
รถบรรทุกและเผื่อระยะความปลอดภัยไว้ด้วย
4. การยกโค้งของถนน (super elevation) ถนนจะต้องมีการ
ยกระดับด้านนอกของโค้งของถนนเพื่อรับการลื่นไถลของรถ
เมื่ อ เข้ า โค้ ง ตามความเร็ ว ของรถและตามรั ศ มี ข องโค้ ง
ประมาณ 40 -60 มม./เมตรความกว้างของถนน
5. ให้ มี ก ารกํ า หนดระยะการมองเห็ น และระยะหยุ ด รถ
ที่ปลอดภัย และความเร็วสูงสุดให้กับพนักงานขับรถและทํา
ป้ายเตือนไว้ที่ถนนก่อนเข้าทางแยกและเข้าจอดรับหรือขน
ถ่ายแร่และเปลือกดิน

- 39 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
6. ให้มีป้ายเตือนและแสดงทิศทางตามถนนที่ชัดเจน
7. ให้มีแสงสว่างที่เพียงพอในการเข้าจอดรับแร่ หรือขนถ่ายแร่
และพื้นที่หน้ างานและปรับลดแสงสว่างลงตามระยะห่าง
จากพื้นที่หน้างาน
8. จั ด ให้ มี แ นวหยุ ด รถฉุ ก เฉิ น หรื อ ทางเบี่ ย งฉุ ก เฉิ น ในกรณี
รถบรรทุกวิ่งลงทางลาดและหยุดรถไม่ได้
9. จัดให้มีแนวคันดินข้างถนนที่ขอบนอกของเขาที่สูงเพียงพอ
เพื่อกันหินตกและรถตกเขา
10. จัดให้มีแนวระบายน้ําที่ริมด้านในของเขาและป้องกันไม่ให้
น้ํ า ไหลบ่ า ข้ า มแนวถนน และมี ค วามลาดชั น ไม่ เ กิ น 3%
สําหรับแนวระบายน้ําที่เป็นดินอ่อน และ 3-5% สําหรับดิน
เหนียวแน่น และมากกว่า 5% สําหรับแนวระบายน้ําที่เป็น
หิน
11. ให้มี culvert เป็นแนวระบายน้ําใต้ถนน ในที่ไหลรวมของ
ระบบระบายน้ําในบ่อเหมือง และให้มีการป้องกันการกัด
เซาะของน้ํา

วัสดุที่ ทําถนน ต้องมีความแข็งแรงตามมาตรฐาน California


Bearing Ratio (CBR) และมีความหนาของ subbase ตามน้ําหนัก
ของรถบรรทุกเต็มคันรถ

- 40 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
2.1 การทําเหมือง การคํานวณค่าใช้จ่ายของเครื่องจักร 1. สามารถเปรี ย บเที ย บค่ า ใช้ จ่ า ยของการใช้
บนดิน การคิดค่าใช้จ่ายทางวิศวกรรมของการใช้เครื่องจักรกลการผลิต เครื่องจักรแบบต่างๆ
- การหา Owning แบ่ง เป็ น 2 กลุ่ ม คื อ ค่า ใช้ จ่า ยจากการเป็ นเจ้ าของเครื่ อ งจั ก รกล 2. เลือกซื้อ/จัดการ/การใช้เครื่องจักรกลเพื่อให้ได้
Cost และ (ownership cost) และค่าใช้จ่ายจากการใช้เครื่องจักรกล ต้ น ทุ น การผลิ ต ที่ เ หมาะสมกั บ สภาพความ
Operating Cost (operating cost) ดังคําอธิบายต่อไปนี้ ต้องการใช้งานของเครื่องจักรกล
ของเครื่องจักร 1. ค่าใช้จ่ายจากการเป็นเจ้าของ ประกอบด้วย
1) ค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร
2) ผลรวมของดอกเบี้ย เบี้ยประกันภัยเครื่องจักร และ ค่าภาษี
ของเงินลงทุนเครื่องจักรรายปี
2. ค่าใช้จ่ายจากการใช้เครื่องจักรกล ประกอบด้วย
1) ค่าจ้างพนักงานที่เกี่ยวข้องในการใช้เครื่องจักรกล
2) ค่าพลังงาน เช่น ค่าไฟฟ้า ค่าน้ํามันเชื้อเพลิง
3) ค่าวัสดุพลังงาน เช่น ค่าน้ํามันหล่อลื่น น้ํามันไฮดรอลิกส์ ไส้
กรองอากาศ ไส้กรองน้ํามันเครื่อง
4) ค่าวัสดุหมดเปลือง สึกหรอ ของส่วนประกอบเครื่องจักรกล
เช่น ฟันบุ้งกี๋ สายสลิง หรือยาง สายพานตีนตะขาบ
5) ค่าซ่อมบํารุงเครื่องจักรกล

การคิดค่าใช้จ่ายทางวิศวกรรมของเครื่องจักรกล เป็นผลรวมของ
ownership cost และ operating cost สามารถคิดเป็นค่าใช้จ่าย
ต่ อ ชั่ ว โมง และ/หรื อ คิ ด เป็ น ค่ า ใช้ จ่ า ยต่ อ ผลผลิ ต (น้ํ า หนั ก หรื อ
ปริมาตรของผลผลิตจากการใช้เครื่องจักร)

- 41 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
2.1 การทําเหมือง การวิเคราะห์การทดแทนเครื่องจักรกล 1. สามารถประเมิ น ค่ า ใช้ จ่ า ย อายุ ก ารใช้ ง าน
บนดิน การทดแทนเครื่องจักรกลเป็นการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ และการทดแทนเครื่อ งจัก รกล ถู ก ต้ อ งตาม
- Machine ของการใช้งานเครื่องจักรกลที่มีการทรุดโทรมและเสื่อมสภาพไปตาม หลักเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม
Replacement การใช้ ง าน โดยที่ ค่ า ใช้ จ่ า ยในการดํ า เนิ น การและค่ า ซ่ อ มบํ า รุ ง มี 2. ตัดสินใจทดแทนเครื่องจักรกลถูกต้องตามหลัก
แนวโน้ ม ที่ สู ง ขึ้ น ทํ า ให้ วิ ศ วกรต้ อ งพิ จ ารณาเปรี ย บเที ย บทาง เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม
เศรษฐศาสตร์ในการใช้เครื่องจักรกลเดิมต่อไป กับทางเลือกในการ
ซื้อทดแทน หรือเช่าซื้อเพื่อทดแทน หรือทางเลือกอื่น เช่นปรับปรุง
เปลี่ยนรุ่นตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี

การเปรียบเทียบอาจพิจารณา ดังนี้
1. การพิ จ ารณากํ า หนดอายุ ก ารใช้ ง านของเครื่ อ งจั ก รที่
เหมาะสม และทดแทนเครื่องจักรกล
2. การพิ จ ารณาทดแทนเครื่ อ งจั ก รกลภายใต้ เ งื่ อ นไข
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในอนาคต

เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายของเครื่องจักรกลในการใช้
งานที่มีอายุการใช้งานของเครื่องจักรที่แตกต่างกัน จะต้องคํานึงถึง
หลักการทางเศรษฐศาสตร์วิศวกรรมและการเปลี่ยนค่าเงินไปตาม
เวลา ได้แก่ มูลค่าเงินปัจจุบัน เงินรายปี มูลค่าเงินอนาคต ภายใต้
ข้อกําหนดของอัตราดอกเบี้ย และจํานวนปีของการใช้เครื่องจักรกล

- 42 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
2.1 การทําเหมือง ต้นทุนการผลิตแร่ 1. วิเคราะห์ต้นทุนการผลิตแร่ได้อย่างถูกต้อง
บนดิน ต้นทุนการผลิตคือต้นทุนทั้งหมดที่เกิดจากการผลิตแร่ต่อหน่วย 2. เพิ่ มประสิท ธิภาพกระบวนการผลิ ตแร่ โดย
- การหาต้นทุนการ การผลิต ประกอบด้วย การวิ เ คราะห์ ต้ น ทุ น การผลิ ต แร่ อ ย่ า ง
ผลิต 1. ต้นทุนทางตรง (direct cost) ได้แก่ ค่าวัสดุทางตรง ค่าแรง เหมาะสม
และค่าเชื้อเพลิงในการผลิต
2. ค่าโสหุ้ยการผลิต (overhead cost) เป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น
จากการอํานวยการผลิต เช่นค่าบริหาร ค่าวัสดุสํานักงาน
ค่าเงินเดือน ค่าขนส่ง และอื่นๆ
เมื่อเหมืองแร่มีการผลิตแร่เพิ่มขึ้นจะทําให้ต้นทุนการผลิตแร่โดย
เฉลี่ยต่อหน่วยลดต่ําลง ทําให้เกิดขนาดการผลิตแร่ที่เหมาะสมตาม
หลัก economy of scale
การคิดวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตตามแนวทางของต้นทุนกิจกรรม
(activity based costing) จะทําให้เหมืองแร่สามารถวิเคราะห์
ประสิทธิภาพของระบบการผลิตและจัดกิจกรรมเพื่อลดต้นทุนการ
ผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในกรณีของการทําเหมืองแร่บนดิน ก็
สามารถพิจารณาคิดต้นทุนกิจกรรมแบ่งตามหน่วยปฏิบัติการผลิตแร่
ในเหมือง เช่น หน่วยการเจาะ หน่วยการระเบิดหน้าเหมือง หน่วย
การขุดแร่ หน่วยการขนส่งแร่ในบ่อเหมือง หน่วยการบดย่อยและคัด
ขนาด หน่วยปรับคุณภาพแร่เป็นต้น ทั้งนี้มีค่าโสหุ้ยการผลิต เช่นค่า
ไฟฟ้า ค่าเสื่อมราคา ค่าบริหารจัดการ ค่าจ้างเหมาแรงงานทั่วไป ค่า
การระบายน้ํา ค่าการจัดการสิ่งแวดล้อม เป็นต้น

- 43 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
2.1 การทําเหมือง การวางแผนการผลิต 1. สามารถระบุ ปั จ จั ย หลั ก ที่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ
บนดิน การกําหนดแผนการผลิตมีวัตถุประสงค์เพื่อทําให้เหมืองมีกําไร แผนการผลิ ต แร่ ก ารลงทุ น ทํ า เหมื อ ง และ
- การวางแผนการผลิต มากที่สุด ด้วยการวิเคราะห์กระแสเงินสดของโครงการทําเหมืองที่ใช้ สิ่งแวดล้อม
เกณฑ์มูลค่าปัจจุบันสูงที่สุด และเวลาคุ้มค่าการลงทุนเร็วที่สุด ซึ่งได้ 2. ควบคุมการปฏิบัติงานเหมืองแร่ให้เป็นไปตาม
จากการขุดแร่ แต่ง และขายแร่ที่ได้จากแหล่งแร่ แผนการผลิตจะ แผนการผลิต
ได้รับผลกระทบจากปัจจัยต่างๆ ได้แก่ 3. สามารถกําหนดแผนการผลิตแร่ที่สอดคล้องกับ
1. รู ป ร่ า ง ตํ า แหน่ ง ความลึ ก และความสมบู ร ณ์ ข องแร่ ใ น ข้อกําหนดด้านการลงทุน เครื่องจักรกลเหมือง
แหล่งแร่ แร่ และความต้องการของตลาดค้าแร่
2. ชนิ ด แร่ คุ ณ สมบั ติ ท างกายภาพ ความสมบู ร ณ์ แ ละ
การกระจายตัวของแร่
3. ค่า ใช้จ่ายทางตรงในการดําเนินงานในการทํ าขุดแร่ และ
แต่งแร่ให้ขายได้
4. เงินลงทุนเบื้องต้น
5. ค่ า ใช้ จ่ า ยทางอ้ อ ม เช่ น ค่ า ธรรมเนี ย มภาษี และ
ค่าภาคหลวงแร่
6. ราคาแร่ และสัดส่วนการเก็บแร่ได้ (recovery factor)
7. เงื่อนไขและข้อกําหนดการตลาดและการลงทุน
8. เงื่ อ นไขและข้ อ กํ า หนดด้ า นการเมื อ งและผลกระทบ
สิ่งแวดล้อม

- 44 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
ในการกําหนดแผนการผลิตมีเป้าหมายการดําเนินการที่สามารถ
ใช้เป็นแนวทางดังนี้
1. ลดค่าใช้จ่ายก่อนการผลิตให้น้อยที่สุด
2. จัดเตรียมพื้นที่การทํางานอย่างเพียงพอ
3. ควบคุมอัตราส่วนการเปิดเปลือกดินให้สม่ําเสมอ
4. ขุดแร่ป้อนสู่โรงแต่งแร่ได้ตามกําหนด
5. จัดเตรียมให้สามารถฟื้นฟูพื้นที่ทําเหมืองได้ต่อไป
6. ขุดแร่ให้ได้มากที่สุด

การกําหนดแผนการผลิตแบ่งออกได้เป็น 3 ขั้น คือ


1. กําหนดขอบเขตสุดท้ายของบ่อเหมือง ลําดับการขุดแร่และ
การเดินหน้าเหมือง (mining sequence)
2. หาความสมบู ร ณ์ แ ร่ ต่ํ า สุ ด ที่ ทํ า เหมื อ งได้ โดยสั ม พั น ธ์ กั บ
ราคาแร่ แ ละค่ า ใช้ จ่ า ยที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การขุ ด แร่ ใ นช่ ว ง
ระยะเวลาต่างๆ ณ อัตราการผลิตและข้อกําหนดทาง
เทคนิคแต่ละชุด ที่กําหนดเอาไว้
3. หาแผนการผลิ ต ที่ ดี ที่ สุ ด (แผนการผลิ ต ที่ ป ระกอบด้ ว ย
แผนการขุดแร่ การแต่งแร่ การปรับแต่งคุณภาพแร่ และ
การถลุงแร่) สําหรับภายใต้ข้อจํากัดทางด้านการขนส่ง การ
ลงทุน การตลาดและข้อจํากัดด้านอื่นๆ

- 45 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
ในกรณี ที่ แ หล่ ง แร่ มี ข นาดไม่ ใ หญ่ ม ากนั ก และไม่ ต้ อ งใช้
การพิจารณาจากข้อมูลการสํารวจจํานวนมาก วิศวกรผู้ออกแบบ
สามารถกําหนดลําดับการขุดแร่และการเดินหน้าเหมืองในแต่ละช่วง
ของการทํ า เหมื อ งโดยพิ จ ารณาจากแบบจํ า ลองแหล่ ง แร่
ชุดภาพตัดขวาง และการวางขั้นบันไดหน้าเหมือง (bench plan)
และใช้คอมพิวเตอร์ช่วยการวิเคราะห์การลงทุนเบื้องต้น แต่ในกรณี
แหล่ ง แร่ ข นาดใหญ่ แ ละมี ข้ อ มู ล ด้ า นธรณี วิ ท ยาปริ ม าณมาก
ทางเหมื อ งจะใช้ โ ปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยในการออกแบบ
โดยการป้ อ นข้ อ มู ล แหล่ งแร่ แ ละจั ด ทํา แหล่ ง แร่ เป็ น แบบ block
model และป้อนข้อกําหนด/ข้อจํากัดต่างๆ ทางด้านเศรษฐศาสตร์
โดยมีเป้าหมายการคํานวณเพื่อกําหนดแผนการผลิตที่ดีที่สุดในรูป
3 มิติ ในแต่ละช่วงเวลา พร้อมทั้งคํานวณปริมาณแร่ และเปลือกดิน
ที่จะต้องขุดออก การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อออกแบบและ
วางแผนการทําเหมืองนี้ นิยมใช้กันมากเนื่องจากทําให้ทางเหมือง
สามารถลดเวลาที่ใช้ในการพิจารณาเปลี่ยนแปลงแผนการทําเหมือง
ที่เหมาะสมที่เป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงข้อมูลด้านกลไกราคาและ
การตลาดแร่ในช่วงเวลาต่างๆ

- 46 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
2.1 การทําเหมือง แผนการตอบสนองต่อเหตุการณ์ฉุกเฉิน 1. มี ส่ ว นร่ ว มในการจั ด ทํ า แผนตอบสนองต่ อ - กฎหมายและระเบียบที่
บนดิน ผู้ประกอบกิจการเหมืองแร่จะต้องทําแผนการตอบสนองต่อ เหตุการณ์ฉุกเฉิน เกี่ยวข้องทางด้านความ
- แผนการตอบสนอง เหตุ ก ารณ์ ฉุ ก เฉิ น ตามข้ อ กํ า หนดของกฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และ 2. ระบุห น้าที่ และความรับผิดชอบของวิศวกร ปลอดภั ย ชี ว อนามั ย
ต่อเหตุการณ์ฉุกเฉิน ประกอบการจั ด ทํ า รายงานวิ เ คราะห์ ผ ลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ ม เหมืองแร่เมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน สิ่งแวดล้อม
รายละเอียดของแผนปฏิบัติงานเพื่อตอบสนองต่อเหตุการณ์ฉุกเฉิน - ร า ย ง า น วิ เ ค ร า ะ ห์
อาจมีความแตกต่างในแต่เหมืองและสภาพแวดล้อมการทํางานและ ผลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ ม
มักจะประกอบด้วยสาระสําคัญคือ และมาตรการป้ อ งกั น
1. แจ้ ง เหตุ ฉุ ก เฉิ น ตามลํ า ดั บ ขั้ น แก่ ผู้ มี ห น้ า ที่ ใ นเหมื อ ง และลดผลกระทบ
หน่ ว ยงานราชการและชุ ม ชนที่ เ กี่ ย วข้ อ ง โดยกํ า หนด สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ข อ ง
หมายเลขโทรศัพท์และชื่อผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน และแผนผัง โครงการทําเหมือง
งาน แสดงหน้าที่และกระบวนงานเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน
2. แผนผังหนีไฟ และตําแหน่งอุปกรณ์ดับไฟ
3. แผนที่ เ หมื อ ง และแผนผั ง การทํ า เหมื อ งและผั ง แสดง
ตําแหน่งอุปกรณ์เครื่องจักรสําคัญ สถานที่ตั้งคลังเก็บวัสดุ
อันตราย คลังวัสดุเชื้อเพลิง ระบบไฟฟ้า ระบบปั้ม ระบบ
ระบายอากาศในเหมือง แผนอพยพและทางออกฉุกเฉิน
4. ระบบการแจ้งเตือน และการตรวจสอบคุณภาพน้ํา อากาศ
ก๊าซพิษ ตะกอนโลหะหนัก และสารอันตราย
5. แผนการซ้อมอพยพและปฏิบัติการเมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน
6. การอบรมและติดประกาศแผนการตอบสนองต่อเหตุการณ์
ฉุกเฉินให้กับพนักงาน ชุมชนใกล้เคียงและหน่วยราชการที่
เกี่ยวข้อง

- 47 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
2.1 การทําเหมือง การจั ด การความปลอดภั ย สิ่ ง แวดล้ อ ม และชี ว อนามั ย ใน 1. กํ า กั บ และติ ด ตามการทํ า งานในเหมื อ งตาม - มาตรการป้ อ งกั น และ
บนดิน การทํางาน ข้อกําหนดด้านความปลอดภัย สิ่งแวดล้อมและ ล ด ผ ล ก ร ะ ท บ
- การจัดการความ การจั ด การความปลอดภั ย สิ่ ง แวดล้ อ ม และชี ว อนามั ย ใน ชีวอนามัย สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ต า ม ที่
ปลอดภัย การทํ า งาน มี ร ะบบการบริ ห ารที่ มี ลั ก ษณะคล้ า ยคลึ ง กั บ ระบบ 2. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางวิศวกรรมเพื่อ กํ า ห น ด ใ น ร า ย ง า น
สิ่งแวดล้อม และชี ประกั นคุ ณภาพ และระบบจั ด การเพิ่ม ผลผลิต เพีย งแต่จ ะเน้น ที่ แก้ ไ ขและลดกระทบ ด้ า น ความปลอดภั ย วิ เ คราะห์ ผ ลกระทบ
วอนามัยในการ เป้าหมายด้านความปลอดภัย สิ่งแวดล้อมและชีวอนามัยของชุมชน สิ่งแวดล้อม และชีวอนามัยได้อย่างเหมาะสม สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ข อ ง
ทํางาน และผู้ ป ฏิ บั ติ ง าน และเป็ น ไปตามมาตรการที่ ร ะบุ ไ ว้ ใ นรายงาน และสอดคล้องตามมาตรการป้ องกัน และลด โครงการทําเหมืองแร่
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการทําเหมือง ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามที่กําหนดในรายงาน - ISO 14000
แนวทางการจัดการอาจดําเนินการ ดังเช่น วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการ
1. การดําเนินการด้านนโยบายและชุมชนสัมพันธ์ ทําเหมืองแร่
2. การจัดรูปแบบองค์กรที่รองรับข้อกําหนดของการจัดการ
ความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม และชีวอนามัยในการทํางาน
และตอบสนองต่อกรณีอุบัติเหตุ และเหตุการณ์ฉุกเฉิน
3. การจัดทําคู่มือและแนวทางการปฏิบัติงานในเหมือง
4. การวิเคราะห์กิจกรรมและสภาพแวดล้อมการทํางานเพื่อให้
หลีกเลี่ยงการเกิดอุบัติเหตุและลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมจาก
การทําเหมือง
5. การจัดการซ่อมบํารุงอุปกรณ์และเครื่องจักรกลอย่างถูกต้อง
6. จั ด ระบบการประชุ ม และทบทวนกฎระเบี ย บด้ า น
ความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม และชีวอนามัย เป็นประจํา
7. จัดระบบเก็ บข้อมูล ตรวจสอบและติดตามผลการจัดการ
ความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม และชีวอนามัย ตามมาตรการที่

- 48 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
กําหนด
8. จัด การอบรม รณรงค์ ใ ห้ ค วามรู้ แก่ พ นั ก งาน และชุ ม ชน
ด้านการจัดการความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม และชีวอนามัย
9. จั ด การอบรมพนั ก งานและซ้ อ มปฏิ บั ติ ก ารตามแผนการ
ในกรณีอุบัติเหตุและเหตุการณ์ฉุกเฉินตามกําหนดเวลา

2.2 การทําเหมืองแร่ วิธีการทําเหมืองใต้ดิน 1. ศึกษาเปรียบเทียบวิธีการทําเหมืองที่เหมาะสม


ใต้ดิน การทําเหมืองใต้ดินมีการขุดแร่ออกแบ่งออกได้ตามลักษณะการ กั บ ส ภ า พ ท า ง ธ ร ณี วิ ท ย า ข อ ง แ ห ล่ ง แ ร่
- การเลือกวิธีการทํา ค้ํายันดังนี้ ภูมิประเทศ และข้อกําหนดการลงทุนได้อย่าง
เหมืองใต้ดนิ 1) การทําเหมืองที่ไม่มีการค้ํายัน โดยการขุดแร่เป็นช่องว่างและ เหมาะสม
ผนังหินทรงตัวอยู่ได้เองโดยไม่มีการค้ํายันช่วยการทําเหมือง 2. เลื อ กวิ ธี ก ารทํ า เหมื อ งอย่ า งเหมาะสมตาม
ใต้ดินในกลุ่มนี้ได้แก่ การทําเหมืองแบบช่องทางสลับค้ํายัน เงื่อนไข และตามข้อมูลของการศึกษา
(room and pillar) แบบ stope and pillar แบบ open
stope และแบบ sublevel stoping
2) การทําเหมืองที่มีการค้ํายัน โดยการขุดแร่ออกเป็นช่องว่าง
และผนังหินไม่สามารถทรงตัวอยู่ได้เอง ต้องมีค้ํายันเข้าช่วย
การทําเหมืองใต้ดินในกลุ่มนี้ได้แก่ การทําเหมืองแบบช่องทาง
สลับค้ํายัน (room and pillar) ที่มีค้ํายันช่วยบางส่วน แบบ
shrinkage stoping แบบ cut and fill stoping และแบบ
timbered stoping
3) เหมืองที่มีการปล่อยให้พัง โดยการขุดเอาแร่ออกแล้วปล่อยให้
หินที่อยู่ด้านบนพังลงมา การทําเหมืองใต้ดินในกลุ่มนี้ได้แก่

- 49 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
การทํ า เหมื อ งแบบ longwall mining แบบ sublevel
caving แบบ top slicing และแบบ block caving
วิ ธี ก ารขุ ด ทํ า เหมื อ งใต้ ดิ น แบบต่ า งๆ มี คํ า อธิ บ ายโดยย่ อ
ดังต่อไปนี้
1. การขุดแร่แบบ open stope เป็นการทําเหมืองใต้ดินขุดตาม
สายแร่โดยไม่มีระบบ การขุดอาจเป็นการเจาะอุโมงค์หรือขุด
เอาสายแร่ โดยมากใช้กับแหล่งแร่เล็กๆ หรือเป็นส่วนหนึ่งของ
สายแร่ใหญ่ที่กระจาย หรือแยกไปบางส่วน ลักษณะเช่นนี้ ทั้ง
สายแร่และหินข้างเคียงจะต้องแข็งแรงสามารถยืนอยู่ได้โดยไม่
ต้องมีการค้ํายัน
2. การขุดแร่แบบ sublevel stoping เป็นการทําเหมืองใต้ดินที่
ให้อัตราการผลิตสูงโดยแบ่งอุโมงค์แนวนอน หลายระดับใน
แนว strike ภายในสายแร่ เ ป็ น การขุ ด ระเบิ ด แร่ จ ากระดั บ
ข้างบน (overhand stoping) ให้ตกลงในช่องเก็บแร่(chute)
ข้างล่าง เหมาะสําหรับแหล่งแร่ที่ทั้งแร่และผนังหินมีความ
แข็งแรงสามารถยืนอยู่ได้ด้วยตัวเอง
3. การขุดแร่แบบช่องทางสลับค้ํายัน (room and pillar) เป็น
การทําเหมืองแบบ open stope ในแนวนอน หรือมีความ
ลาดชันน้อย หรือโดยขุดสายแร่บางส่วนออกและทิ้งสายแร่
เป็นเสาค้ํายันเพดานไว้ มีการทํางานเป็นระบบตลอดสายแร่
ขนาดของช่องที่จะขุดเอาแร่ออกและส่วนที่จะทิ้งเป็นค้ํายันจะ
ขึ้ น อยู่ กั บ ความแข็ ง แรงของชั้ น หิ น ที่ เ ป็ น เพดานและ

- 50 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
ความแข็งแรงของตัวสายแร่เอง นอกจากนี้ยังขึ้นอยู่กับความ
หนาของสายแร่และแรงกดของชั้นหิน
4. การขุดแร่แบบ longwall mining มักเป็นการทําเหมืองถ่าน
หิน ที่ ขุดแร่ออกเป็นชั้ นๆ และแต่ละชั้ นขุ ดหน้ างานให้เป็น
เส้นตรงยาว การเดินหน้างานอาจเดินกระจายออกจากตรง
กลาง (advancing system) หรือเดินจากขอบนอกสุด
ย้อนกลับเข้ามาตรงกลาง (retreating system) บริเวณหน้า
งานจะมีค้ํายันช่วยเพื่อให้ทํางานปลอดภัย เมื่อขุดแร่ออกแล้ว
ช่องว่างที่เกิดขึ้นอาจหาวัสดุอย่างอื่นมาถมกลับหรือปล่อยให้
พังลงมาเองก็ได้
5. การขุดแร่แบบ shrinkage stoping เป็นการขุดแร่ในสายแร่
เป็นแบบขุดระเบิดแร่จากข้างล่างขึ้นข้างบน การขุดเอาแร่แต่
ละครั้งจะสามารถดึงแร่ออกได้ประมาณ 35-40% เท่านั้น แร่
ส่วนเหลือ ประมาณ 60-65% ทิ้งเป็นค้ํายันผนังหินด้านบน
ของสายแร่ไม่ให้พังลงมาขณะทํางานขุดเอาแร่ และใช้เป็นที่
ยืนทํางาน แร่ส่วนที่ทิ้งเป็นค้ํายันผนังหินนี้จะดึงออกก็ต่อเมื่อ
ขุดระเบิดแร่ใน stope จนหมดและไม่กลับเข้าไปทํางานใน
stope อีก
6. การขุดแร่แบบ vertical crater retreat (VCR) เป็นการขุดแร่
ในสายแร่ เ ป็ น แบบขุ ด ระเบิ ด แร่ จ ากข้ า งล่ า งขึ้ น ข้ า งบน
มีหลักการแบบเดียวกับ การขุดแบบ shrinkage stoping แต่
ใช้การระเบิดแบบ crater blasting ที่พัฒนาขึ้นมาในช่วงหลัง

- 51 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
มานี้ ทําให้มีการเดินหน้าเหมืองที่รวดเร็วและปลอดภัยกว่า
การขุ ดแร่ แ บบ shrinkage stoping วิ ธี ก ารขุ ด แบบ VCR นี้
สามารถนําไปใช้แทนการขุดแร่แบบ sublevel stoping และ
การขุดแบบ cut and fill ได้
7. การขุดแร่แบบ cut and fill เป็นการขุดเอาแร่ออกเป็นชั้น
เริ่มต้นจากระดับล่างสุด เดินหน้าขึ้นข้างบน เมื่อขุดขนแร่ที่ได้
ออกไปแล้ว จะนําวัสดุมาถมแทนที่ช่องว่างนั้นเพื่อทําหน้าที่
พยุงไม่ให้ผนังหินพังลงมาและใช้เป็นพื้นที่ทํางานต่อไปด้วย
วัสดุที่นํามาถมแทนที่ อาจเป็นหางแร่จากโรงแต่งแร่ วัสดุจาก
การพัฒนาหน้างาน หางแร่ที่นํามาใช้ถมอาจอยู่ในรูปของน้ํา
หางแร่เข้มข้นและผสมปูนซีเมนต์เพื่อให้คงตัวและแข็งแรงด้วย
8. การขุดแร่แบบ Square set stoping เป็นการขุดแร่ที่ใช้ชุดค้ํา
ยัน (square set) ติดตามสายแร่ไปตลอดการขุดเอาแร่ อาจ
ใช้ร่วมกับการถมหางแร่ การขุดแร่แบบ square set
stoping นี้ เป็นวิธีการขุดแร่ที่ใช้ค่าใช้จ่ายมากเนื่องจากต้องใช้
ไม้และคนงานทําชุดค้ํายันจํานวนมาก
9. การขุดแร่แบบ top slicing เป็นการทําเหมืองที่มีการปล่อยให้
ผนังด้านบนพังลงมา หลังจากขุดลอกแร่ที่วางตัวในแนวนอน
ออกเป็นชั้นๆไปแล้ว การขุดแร่แบบนี้จะปล่อยให้ผนังหินชั้น
บนพังลงมาจากขอบนอกสุด ในระหว่างขุดเอาแร่ส่วนที่หน้า
งานจะมีค้ํายันพยุงไว้ชั่วคราวก่อน

- 52 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
10. การขุดแร่แบบ sublevel caving ประกอบด้วยการทําอุโมงค์
ย่ อ ยที่ ร ะดั บ ต่ า งๆ ห่ า งกั น ประมาณ 15-50 ฟุ ต ไปจนสุ ด
อาณาเขตของสายแร่ โดยเริ่มจากระดับสูงสุดของสายแร่ไป
ก่อน ในระดับย่อยต่างๆ จะทําอุโมงค์ย่อย (drift) แยกออกไป
กระจายเต็มพื้ นที่ จากนั้นขุดระเบิ ดเปิดเป็ นช่องแล้ วขนแร่
ออกในทิศทางย้อนกลับมา หินส่วนบนของช่องที่เปิดจะพัง
ยุบตัวตามลงมาตลอดแนวหน้าเหมือง การทําเหมืองแบบนี้จะ
มีการเจือปน ประมาณ 15-20% การขุดแร่แบบ sublevel
caving นี้ได้รับการพัฒนาให้มีค่าใช้จ่ายถูกใกล้เคียงกับการขุด
แร่แบบ block caving
11. การขุดแร่แบบ block caving เป็นการทําเหมืองขนาดใหญ่ที่
สายแร่จะถูกแบ่งเป็นบล็อกขนาดใหญ่ แต่ละบล็อกจะถูกตัด
ฐานที่ระดับล่างและขุดเอาแร่ออกแล้วปล่อยให้หิ นด้านบน
แตกร้าวและพังลงมาด้านล่าง การดึงแร่ออกจากช่องเก็บแร่
ด้านล่างต้องใช้ระบบอุโมงค์ย่อยดึงแร่ลงมา การขุดแร่แบบนี้
มีค่าใช้จ่ายต่ําและแร่มีการเจือปน และต้องมีการควบคุมและ
การกระจายการผลิตแร่ที่ดี

- 53 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
การเลือกวิธีการทําเหมืองใต้ดิน
เหมืองใต้ดินอาจมีวิธีการขุดแร่ (stoping) ได้หลายแบบทั้งนี้ต้อง
ขึ้นอยู่กับสภาพความแข็งแรงของชั้นแร่ และชั้นหินโดยรอบ การ
วางตัวของสายแร่ใต้ดินและความลึก
วิ ธี ก ารทํ า เหมื อ งใต้ ดิ น ที่ เ หมาะสมที่ สุ ด จะต้ อ งตอบสนองกั บ
สภาพทางธรณีวิทยาของแหล่งแร่และสภาพภูมิประเทศ ความลึก
และการวางตั ว ของสายแร่ และความสามารถเข้ า ถึ ง สายแร่
ของแต่ ล ะแห่ ง ภายใต้ ข้ อ กํ า หนดทางด้ า นความปลอดภั ย
ด้านเทคโนโลยี และด้านการลงทุน เพื่อให้ได้ผลตอบแทนการลงทุน
มากที่สุด
ข้ อ กํ า หนดที่ มี ผ ลต่ อ การพิ จ ารณาเลื อ กวิ ธี ก ารทํ า เหมื อ ง
ได้แก่
1. สภาพทางธรณีวิทยาของแหล่งแร่
2. ความมั่นคงและลักษณะของชั้นหินที่ปิดทับด้านบนของ
แหล่งแร่ ชั้นหินที่อยู่ใต้ชั้นแร่ และสายแร่
3. ต้นทุนและค่าใช้จ่ายการทําเหมือง
4. อัตราการผลิตแร่
5. ค่าแรงคนงานและจํานวนคนงานที่หาได้
6. ข้อกําหนดด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อม

- 54 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
2.2 การทําเหมืองแร่ใต้ การเปิดทางเข้าออกหลักของเหมือง (mine access) 1. สามารถกํ า หนดตํ า แหน่ ง ปากทางเข้ า ออก
ดิน ทางเข้าออกหลักของเหมืองใต้ดินมีความสําคัญมากต่อผลกําไร เหมื อ งใต้ ดิ น และวิ ธี ก ารเข้ า ออกหลั ก ของ
- การเปิดอุโมงค์หลัก ขาดทุนการทําเหมืองใต้ดิน เพราะเป็นเรื่องที่เกี่ยวพันกับระยะทาง เหมื อ งได้ อ ย่ า งเหมาะสม และมี ค วาม
(Tunneling, Shaft ขนส่ ง ความมั่ น คงของทางเข้ า ออกเหมื อ ง และค่ า ใช้ จ่ า ยในการ ปลอดภัยในการทําเหมืองใต้ดิน
Sinking, Adit, บํ า รุ ง รั ก ษาตลอดอายุ เ หมื อ งแร่ ทางเข้ า ออกหลั ก ของเหมื อ ง มี
Stoping, Mine ทางเลือกดังนี้
Access) 1. เปิดเป็นปล่องเหมืองเข้าหาแหล่งแร่ในแนวดิ่ง
2. เปิดเป็นอุโมงค์แนวนอนเข้าหาแหล่งแร่ในแนวระดับ
3. เปิดเป็นอุโมงค์แนวเอียง หรือเป็นปล่องเอียงเข้าหาแหล่งแร่
ทางเข้าออกหลักของเหมืองมีหลักการเลือกตําแหน่งทางเข้าออก
ดังต่อไปนี้
1. อยู่ในตําแหน่งที่ไม่ได้เป็นสายแร่ เพื่อที่จะได้ไม่ต้องทิ้งแร่ไว้
โดยรอบ
2. อยู่ในตําแหน่งที่หินหรือแร่มีความมั่นคงแข็งแรง ไม่ต้องเสียค่า
บํารุงสูง
3. อยู่ในตําแหน่งที่เป็นจุดศูนย์กลางของมวลแร่ในการขนส่ง
4. อยู่ในตําแหน่งที่สายแร่อยู่ลึกที่สุด
5. อยู่ ใ นตํ า แหน่ ง ที่ หิ น มี ค วามมั่ น คงไม่ ถู ก รบกวนจาก
การเคลื่อนของชั้นดินและหินที่เป็นผลจากการทําเหมือง
6. อยู่ในตําแหน่งที่สัมพันธ์กับภูมิประเทศ
7. อยู่ในตําแหน่งสัมพันธ์กับโรงแยกแร่ และอาคารต่างๆ
8. อยู่ในตําแหน่งที่ทําให้มีค่าใช้จ่ายในการขนส่งถูกที่สุด

- 55 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
ปล่องเหมืองที่ขุดเข้าหาแหล่งแร่ในแนวดิ่งนั้นจะเหมาะสมกับ
แหล่ ง แร่ ที่ ล าดเอี ย งและอยู่ ลึ ก ใต้ ผิ ว ดิ น มากๆ โดยที่ เ ราสามารถ
วางตําแหน่งปล่องเหมืองให้มีความมั่นคงในหินที่อยู่ข้างล่างของสาย
แร่ อยู่ใกล้กับแหล่งแร่และมีระยะทางขนส่งถึงพื้นดินน้อยที่สุด ค่า
เจาะปล่ อ งตามปกติ จ ะมีค่ าใช้จ่ า ยสู ง กว่ าการค่า เจาะอุโ มงค์ ม าก
เพราะต้องมีระบบกว้าน เพื่อขนส่งแร่ วั สดุ คนงานติ ดตั้งอยู่ด้วย
และมีระบบระบายน้ําจากเหมืองขึ้นถึงผิวดิน
อุโมงค์แนวนอนนั้นเหมาะกับการขนส่งแร่ ที่มีการวางตัวของ
แหล่งแร่อยู่สูงกว่าทางเข้า โดยเราสามารถขุดอุโมงค์แนวนอนเข้าไป
ถึงแหล่งแร่ได้ การขนส่งแร่ในอุโมงค์แนวนอนจะมีค่าใช้จ่ายน้อย
กว่าการขนส่งแร่ในแนวดิ่ง และมีค่าใช้จ่ายในการเจาะอุโมงค์น้อย
กว่า แต่ระยะทางขนส่ง และระยะทางที่ต้องเปิดอุโมงค์อาจจะยาว
กว่าปล่องเหมืองมาก และต้องเสียค่าบํารุงรักษาสูงกว่าปล่องเหมือง
อุโมงค์แนวนอนยังสามารถใช้เป็นทางระบายน้ําออกจากเหมืองได้
ส่วนปล่องเอียงที่เจาะในแนวลาดเอียงเข้าหาแหล่งแร่นั้นมักเป็น
อุโมงค์ หรือปล่องเอียงตามสายแร่ในระหว่างการสํารวจหาสายแร่
แล้วพัฒนามาเป็นเส้ นทางเข้าออกหลัก และใช้ขนส่งแร่ออกจาก
เหมืองใต้ดิน ปล่องเอียงที่อยู่ข้างบนของสายแร่ใน hanging wall
อาจจะได้รับผลกระทบจากการขุดเอาแร่ออก จึงควรกําหนดแนว
ปล่ อ งให้ อ ยู่ ใ นชั้ น หิ น ที่ อ ยู่ ด้ า นล่ า งของสายแร่ แ ละเปิ ด อุ โ มงค์
แนวนอนขนานกับแนว strike ของสายแร่ จากนั้นจึงทําเจาะ อุโมงค์
แขนง (drift) เข้าหาสายแร่เป็นช่วงๆ

- 56 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
ขนาดของทางเข้าออกหลัก
ขนาดของทางเข้ า ออกหลั ก ของเหมื อ งจะต้ อ งมี ข นาดใหญ่
เพียงพอกับความต้องการใช้งานขนส่งตลอดอายุเหมืองดังนี้
1. ใช้ขนส่งแร่และหินตามกําลังผลิตสูงสุดของเหมือง
2. ใช้ขนส่งคนงานเหมือง
3. ใช้ ขนส่ งวั ส ดุ ต่า งๆ ตั้ งแต่ไม้ค้ํ ายัน วั ส ดุถ มกลับ เครื่องจัก ร
อุปกรณ์ ตลอดไปจนถึงวัตถุระเบิด ฯลฯ
4. ใช้ เ ป็ น เส้ น ทางการติ ด ตั้ ง ท่ อ ระบายน้ํ า ท่ อ น้ํ า สายไฟฟ้ า
ท่อลม และทางระบายอากาศ ตามขนาดความต้องการสูงสุด
ที่ออกแบบไว้สําหรับการผลิตสูงสุด

2.2 การทําเหมืองแร่ การออกแบบอุโมงค์ 1. อธิบายปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการออกแบบ


ใต้ดิน การออกแบบอุโมงค์ใต้ดินมีองค์ประกอบของการพิจารณาดังนี้ อุโมงค์ใต้ดิน
- การออกแบบอุโมงค์ 1. ทิ ศ ทางและตํ า แหน่ ง อุ โ มงค์ สั ม พั น ธ์ กั บ สายแร่ แ ละสภาพ 2. ลําดับงานและหน่วยปฏิบัติการในการขุดเจาะ
ธรณี วิท ยาแหล่งแร่ ได้แ ก่ อุโมงค์แนวดิ่ งเช่น ปล่องเหมื อ ง อุโมงค์ได้
อุโมงค์แนวดิ่งเชื่อมต่อการทํางานระหว่างอุ โมงค์ต่างระดับ 3. ควบคุมการขุดเจาะอุโมงค์ให้มีความปลอดภัย
อุโมงค์แนวนอน อุโมงค์เอียงใช้ในการขนส่ง ได้
2. ภาพตั ด ขวางอุ โ มงค์ เป็ น แบบวงกลม วงรี แ นวนอน
รูปเกือกม้า สี่เหลี่ยมผืนผ้า หรือสี่เหลี่ยมจัตุรัส
3. การใช้งานของอุโมงค์และขนาดของอุโมงค์เพื่อสามารถรองรับ
ความต้องการใช้งานนั้นได้ ขนาดของเครื่องจักรที่ทํางานใน
อุโมงค์ เช่น อุโมงค์ทางเข้าออก อุโมงค์ขนส่ง

- 57 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
4. วิธีการขุดอุโมงค์ เช่น เจาะและระเบิดเป็นวงรอบการทํางาน
ปกติ หรือใช้เครื่องจักรกลขุดอุโมงค์ เช่น TMB, continuous
miner
5. ปริมาณอากาศและความต้องการการระบายอากาศในระหว่าง
การทํางานในอุโมงค์
6. การระบายน้ําในอุโมงค์และความลาดเอียงของทางระบายน้ํา
7. การค้ํายันอุโมงค์และการบุผนังอุโมงค์เพื่อเสริมความแข็งแรง
อุโมงค์ และการยิงหมุดผนังอุโมงค์ (rockbolt)
8. การให้แสงสว่างหน้างาน

การออกแบบอุโมงค์ จะต้องพิจารณาขนาดของห้องและค้ํายัน
ตามหลัก rock mechanics โดยจะขึ้นอยู่กับความแข็งแรงของชั้น
หิน และ stress concentration ที่เกิดขึ้นในชั้นหิน จําเป็นต้องมี
การตรวจสอบความแข็งแรงเป็นระยะ

2.2 การทําเหมืองแร่ใต้ การเจาะและการระเบิดในอุโมงค์ 1. สามารถออกแบบรูเจาะระเบิดอุโมงค์ใต้ดินได้


ดิน การเลือกใช้เครื่องเจาะอุโมงค์ใต้ดินมีปัจจัยในการพิจาณาคือ
- การเจาะและการ 1. พื้นที่หน้าตัดขวางของอุโมงค์
ระเบิดในอุโมงค์ 2. ความยาวอุโมงค์
3. ค่าใช้จ่าย
4. ระยะเวลาที่กําหนดในการเจาะและระเบิดอุโมงค์

- 58 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
โดยทั่วไปเครื่องเจาะในอุโมงค์ ได้แก่ jack hammer พร้อมขา
ดันลม drifter หรือ wagon drill ใช้เจาะรูเจาะขนาด ตั้งแต่
1- 2 นิ้ว
จํานวนรูเจาะสําหรับการระเบิดอุโมงค์ ขึ้นอยู่กับพื้นที่หน้าตัด
ขวางของอุ โ มงค์ โดยทั่ ว ไปประมาณ 2-4 ตารางฟุ ต ต่ อ รู เ จาะใน
อุโมงค์ขนาดเล็ก ไปจนถึง 4-7 ตารางฟุตต่อรูเจาะในอุโมงค์ขนาด
400-600 ตารางฟุต ขึ้นอยู่กับความแข็งแรงของหิน
การระเบิ ด อุ โ มงค์ เ ป็ น การกระจายพลั ง งานระเบิ ด ไปตลอด
พื้ น ที่ ห น้ า ตั ด ขวางของอุ โ มงค์ นิ ย มใช้ วั ต ถุ ร ะเบิ ด ชนิ ด เจลาติ น
ไดนาไมต์ที่มีกําลังสูงและทนน้ําได้ (มีการใช้ ANFO ด้วยเพราะมี
ค่าใช้จ่ายถูกกว่า) โดยมีค่า explosive factor มากกว่าการระเบิดใน
เหมืองบนดิน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความแข็งแรงของหินและพื้นที่หน้าตัด
ขวางอุโมงค์ ปริมาณ explosive factor มีช่วงตั้งแต่ 4-10 ปอนด์
ต่อลู กบาศก์หลา สําหรับอุโมงค์ขนาด 200 ตารางฟุต และมีช่วง
ตั้งแต่ 2-5 ปอนด์ต่อลูกบาศก์หลา สําหรับอุโมงค์ขนาด 400-600
ตารางฟุตขึ้นกับความแข็งแรงของหิน
รูปแบบของรูเจาะอุโมงค์มีได้หลายแบบ เช่น diamond cut,
wedge cut, burn cut, slab cut และbench cut ขึ้นอยู่กับขนาด
ของอุโมงค์
การวางรูปแบบของแก็ปหน่วงเวลามีความสําคัญเพื่อสร้างหน้า
อิสระของการระเบิดอย่างเป็นลําดับ

- 59 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
2.2 การทําเหมืองแร่ การค้ํายันอุโมงค์ 1. ควบคุมการค้ํายันในอุโมงค์ให้มีความปลอดภัย
ใต้ดิน ในการทําเหมืองใต้ดินซึ่งต้องขุดและระเบิดแร่และหินออกเป็นช่อง ในเหมืองใต้ดินได้
- การค้ํายันในอุโมงค์ เพื่อทําเป็นอุโมงค์และอุโมงค์ย่อย ปล่องเหมือง และปล่องเชื่อม 2. เลือกใช้วิธีการค้ํายันอุโมงค์ให้มีความปลอดภัย
อุโมงค์ข้างบน ทําเป็นช่องผลิตแร่หรือทําเป็นสถานีรอบปล่องเหมือง ในการทํางาน
การขุดแร่และหินให้เปิดเป็นช่องทางต่างๆ นี้ ทําให้ความสมดุลของ
แรงที่มีกระจายอยู่เดิมในเนื้อหินเปลี่ยนแปลงไป แรงที่เคยมีหินใน
ช่องว่างรับไว้จะถ่ายเทออกไปให้หินรอบช่องว่างรับแทน แรงรอบ
ช่องว่างจึงเพิ่มขึ้นจนอาจเกินสภาพสมดุลที่จะรับไว้ได้ จึงทําให้ต้องมี
การค้ํายันอุโมงค์และช่องทางต่างๆ เพื่อรักษาสภาพไว้ไม่ให้พัง การ
ค้ํายันในเหมืองใต้ดินมีวัตถุประสงค์เพื่อให้มีช่องทํางานและมีความ
ปลอดภัย การค้ํายันที่ทําขึ้นจะต้องแข็งแรงพอที่จะรับแรงเกิดขึ้น
จากสภาพที่ไม่สมดุลได้อย่างน้อยในช่วงเวลาใช้งานของช่องว่างหรือ
อุโมงค์ที่เปิดขึ้นนั้น ส่วนการค้ํายันให้เป็นช่องว่างถาวรนั้นหรือนาน
เท่าใดนั้น จะขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของช่องว่างหรืออุโมงค์นั้น เช่น
ใช้เป็นอุโมงค์ขนส่งหลัก หรือทางเข้าออกหลักของเหมือง เป็นต้น
รูปแบบการค้ํายันในเหมืองได้แก่
1. เสาตั้ง โดยทั่วไปใช้รับแรงกดจากข้างบนหรือเพดานอุโมงค์
อาจทําด้วย เหล็ก เสาคอนกรีต ไม้ เสา ตอกลิ่มอัดแน่นกับ
เพดานด้านบน หรือใช้กระบอกไฮดรอลิกยืดหดได้ หรือ
วางไม้ ว างสาน ขั ด กั น เป็ น คอก (crib) เพื่ อ รั บ แรงกดได้
มากขึ้น หรือเว้นการแร่หรือหินไว้เป็นเสาค้ํายันเพดานอุโมงค์
2. เสาเอียง โดยทั่วไปใช้รับแรงกดจากข้างบนที่ไม่อยู่ในแนวดิ่ง

- 60 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
อาจทําด้วย เหล็ก เสาคอนกรีต ไม้เสาตอกลิ่มอัดแน่นกับ
เพดานหรือผนังหินด้านบน หรือใช้กระบอกไฮดรอลิกที่ยืดหด
ได้ ยันกับเพดานหรือผนังหิน
3. โครงค้ํายัน โดยมากใช้ในอุโมงค์ โครงค้ํายันมีตั้งแต่เสาเพียง
สองต้นไปจนถึงใช้เสาหลายต้นเป็นโครงสร้างรับน้ําหนักของ
หินจากด้านบนและด้านข้างของอุโมงค์ โครงค้ํายันอาจทําด้วย
ไม้เสา หรือทําด้วยเสาคอนกรีต หรือทําด้วยโครงสร้างเหล็ก
4. การถมปิดช่องว่าง อาจใช้วัสดุจากหางแร่ หรือเศษหินที่ไม่ใช้
แล้วถมกลับไปในช่องว่างนั้น เพื่อเสริมช่องว่างไม่ให้เกิดการ
พังทลายหลังจากที่ขุดแร่ออกไปแล้ว
5. หมุดยึดผนังหินหรืออุโมงค์ (rock bolt) ใช้ในชั้นหินที่มี
ลักษณะเป็นชั้น โดยการเจาะรูเข้าไปในเนื้อหินแล้วใช้แท่ง
เหล็กสอดยึดเป็นหมุดไว้ ช่วยทําให้ชั้นหินทรงตัวอยู่ได้ หรือใช้
ร่ ว ม กั บ แ ผ ง ต า ข่ า ย เ พื่ อ กั น ไ ม่ ใ ห้ หิ น ร่ วง ห รื อ เ ส ริ ม
ความแข็งแรงด้วยการพ่นซีเมนต์ช๊อตกรีตที่ผนังอุโมงค์ เป็น
การตกแต่งผนังอุโมงค์และเสริมความแข็งแรงอีกครั้งหนึ่ง

ได้ มี ก ารศึ ก ษาการออกแบบระบบการค้ํ า ยั น ควบคู่ ไ ปกั บ


การออกแบบระบบเหมืองอุโมงค์ด้วยการขุดและเว้นระยะเพดาน
อุโมงค์ให้เหลือหินหรือแร่เป็นเสาค้ํายันอุโมงค์สลับกันไป และได้มี
การศึกษาเทคโนโลยีหมุดยึดผนังอย่างมากมาย สัมพันธ์กับ
ความแข็งแรงของหินแบบต่างๆ ที่ควรผู้อ่านสามารถศึกษาเพิ่มเติม

- 61 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
ในหนังสือ Mining Engineering Handbook ของ SME บทที่ 10.5
เรื่อง Ground Controlอย่างไรก็ตามความสัมพันธ์อย่างง่ายระหว่าง
ความยาวของหมุดและความกว้างของเพดานอุโมงค์ที่ใช้ในเหมืองใต้
ดินทั่วไป มีสมการอย่างง่ายคือ L = B 2/3 เมื่อ L = ความยาวของ
หมุด และ B = ความกว้างของเพดานอุโมงค์
ในด้านอัตราส่วนความยาวของหมุดต่อระยะห่างระหว่างหมุดที่ใช้ใน
การทําเหมืองจะอยู่ระหว่าง 1.2 -1.5

2.2 การทําเหมืองแร่ การระบายอากาศในเหมือง 1. กํ า หนดความต้ อ งการการระบายอากาศใน


ใต้ดิน การระบายอากาศเป็นระบบงานที่มีความจําเป็นสําหรับการ เหมืองใต้ดินได้อย่างเพียงพอ
- การคํานวณออกแบบ ทํ า เหมื อ งใต้ ดิ น เพื่ อ ให้ ค นงานที่ ทํ า งานใต้ ดิ น สามารถมี อ ากาศ 2. คํานวณความต้องการอากาศและความดันใน
การระบายอากาศ เพียงพอสําหรับการหายใจ และการควบคุม/ระบาย ปริมาณฝุ่นและ อุโมงค์อย่างง่ายได้
และการให้ ก๊าซพิษที่เกิดขึ้นในเหมืองโดยใช้หลักการต่อไปนี้ 3. กําหนดความต้องการการส่องสว่างในเหมืองใต้
แสงสว่าง 1. หลีกเลี่ยงและป้องกันไม่ให้เกิดฝุ่นและก๊าซพิษในอากาศ ดินได้
2. กําจัดฝุ่นและก๊าซพิษออกจากระบบอากาศในเหมือง
3. บําบัดฝุ่นและก๊าซพิษให้ลดน้อยลง
4. กั ก และกั นฝุ่นและก๊า ซพิษ ออกจากการระบายอากาศใน
เหมือง
5. ทําให้ฝุ่นและก๊าซพิษที่เกิดขึ้นเจือจางลดน้อยลง

- 62 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
การระบายอากาศในเหมื อ งใต้ ดิ น แบ่ ง เป็ น 2 กรณี คื อ
การระบายอากาศตามธรรมชาติ และการระบายอากาศโดยใช้พัดลม
ขนากใหญ่และระบบปรับอากาศ อัดป้อนอากาศเข้าเหมือง หรือสูบ
ออกจากเหมืองในปริมาณและความดันที่เพียงพอตามความต้องการ
ของเหมืองใต้ดิน ที่ใช้ในการหายใจ ของคนงาน ความต้องการของ
เครื่องยนต์ ความต้องการปริมาณลมในการระบายฝุ่นและก๊าซพิษ
ออกจากระบบเหมือง และความต้องการระบายความร้อนออกจาก
ระบบเหมืองให้คนสามารถทํางานในบรรยากาศที่เหมาะสมได้
ก๊าซพิษในเหมืองเกิดจากชั้นหินที่เก็บกับก๊าซใต้ดิน เช่น ก๊าซ
มี เ ทน หรื อ ก๊ า ซ คาร์ บ อนไดออกไซด์ คาร์ บ อนมอนออกไซด์
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และ ไนโตรเจนออกไซด์ เกิดจากการเผาไหม้
ของเครื่องยนต์ เกิดจากการระเบิดในเหมือง และเกิดจากควันไฟ
และการเกิดไฟไหม้ในเหมือง โดยทั่วไปจะใช้อากาศไปทําให้ฝุ่นและ
ก๊าซพิษเจือจางลงมีความเข้มข้นต่ํากว่าค่ากําหนดตามกฎหมาย
การกํ าจั ดฝุ่ นในเหมืองจะนิยมใช้น้ําฉีดพ่นในบริเวณหน้ างาน
เพื่อให้ละอองน้ําไปจับสารแขวนลอยในอากาศและตกตัวลงที่พื้นไหล
ความไปในระบบระบายน้ําในเหมือง
ในด้านการคํานวณปริมาณอากาศและความดันที่ต้องใช้เพื่ออัด
ป้อนอากาศในเหมืองจะพิจารณาจากความเร็วของอากาศที่ต้องใช้ใน
อุโมงค์และพื้นที่หน้าตัดของอุโมงค์ต่างๆ ในเหมือง ส่วนความดัน
อากาศจะต้องมีความแตกต่างความดันในอุโมงค์ที่เพียงพอให้เกิด
การไหลของอากาศในปริมาณที่เพียงพอกับความต้องการในแต่ละ

- 63 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
หน้างาน สมการพื้นฐานในการคํานวณความดันลดของอากาศแห้งที่
ระดับน้ําทะเล ในอุโมงค์แสดงได้ดังนี้

เมื่อ H = ความดันลดของอากาศ, นิ้วของน้ํา


K = ค่าคงที่ของความเสียดทานในอุโมงค์ เช่น 100 x 10-10
Q = ปริมาณอากาศที่ต้องการไหลในอุโมงค์, cfm
O = เส้นรอบรูปของอุโมงค์, ft
L = ความยาวของอุโมงค์, ft
สํ า หรั บ อากาศที่ มี ค วามชื้ น และความหนาแน่ น จะต้ อ งมี ก าร
ปรับแก้ค่าความหนาแน่นด้วย
ระบบอุโมงค์ในเหมืองมีทั้งขนาดที่แตกต่างกัน มีการต่อแบบ
อนุ ก รม และต่ อ ขนานกั น ทํ า ให้ ก ารคํ า นวณด้ ว ยเครื่ อ งคิ ด เลข
ตามปกติไม่ได้ วิศวกรเหมืองแร่ จําเป็นต้องใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
เพื่อออกแบบการระบายอากาศในเหมืองที่มีการปิดอุโมงค์ใต้ดินที่
ซั บ ซ้ อ น และจั ด ทํ า แบบจํ า ลองการไหลของการระบายอากาศที่
เหมาะสม พร้อมทั้งจัดระบบพัดลมอากาศ อุโมงค์ป้อนอากาศ และ
ระบบปรับอากาศตามความต้องการของงานเหมืองใต้ดินได้
การให้แสงสว่าง
จัดให้มีแสงสว่าง และกําลังไฟฟ้าที่เพียงพอกับความต้องการ
เครื่องจักรกล และการส่องสว่าง และมี แผงควบคุมวงจรไฟฟ้าใน
บริเวณหน้างานและกระจายโหลดทางไฟฟ้าไปตามความต้องการใน
เหมืองใต้ดิน
- 64 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
2.2 การทําเหมืองแร่ใต้ การออกแบบระบบขนถ่ายคนและแร่ 1. ค ว บ คุ ม ร ะ บ บ ข น ส่ ง แ ร่ แ ล ะ เ ลื อ ก ใ ช้
ดิน ชนิดและประเภทเครื่องจักรกลที่นิยมใช้ในระบบการผลิตของ เครื่องจักรกลได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย
- การคํานวณออกแบบ เหมืองในประเทศซึ่งเป็นเหมืองขนาดเล็กถึงปานกลาง ได้แก่
ระบบขนถ่ายคนและ 1. ระบบขนส่งโดยใช้รางรถไฟ
แร่ 2. ระบบขนส่งโดยใช้สายพานลําเลียง
3. ระบบระบบขนส่งโดยใช้ Load-Haul-Dump unit
4. ระบบขนส่งโดยใช้กว้าน (hoisting) และ ore pass
ระบบการขนส่งอาจมีได้หลายระบบในเหมืองใต้ดิน ขึ้นอยู่กับ
สภาพความเหมาะสมในการทํางาน ปัจจุบันนิยมใช้ ระบบสายพาน
ลําเลียง ร่วมกับรถขุดแบบต่อเนื่อง และใช้เครื่องจักร LHD unit
ในเหมืองที่ต้องการความคล่องตัวและมีผลผลิตสูง การขนส่งด้วยราง
หรื อ รถไฟในเหมื อ งใช้ ใ นเหมื อ งที่ มี ข นาดการผลิ ต สู ง ใช้ ต้ น ทุ น
การขนส่งสูง มีค่าใช้จ่ายดําเนินการน้อย ต้องมีระบบ สลับราง ระบบ
ขนถ่ายแร่ขึ้นและออกจากรถขนแร่ขาดความคล่องตัวในการจัดการ
และขึ้นทางลาดชันได้น้อยกว่ารถบรรทุก LHD และสายพานลําเลียง
แต่มีความต้องการระบายก๊าซพิษน้อยกว่า รถ LHD
เหมืองใต้ดินแหล่งแร่วางตัวในระดับลึกจะใช้การขนส่งด้วยระบบ
กว้านในแนวดิ่ง vertical hoisting
การพั ฒ นาในด้ า นการออกแบบและเลื อ กใช้ เ ครื่ อ งจั ก ร และ
จํานวนรถ ใช้การคํานวณวงรอบเวลาของเครื่องจักรขุดขนและรถ
ขนส่ง ทําการศึกษาและเปรียบเทียบค่าใช้จ่าย เช่นเดียวกับการทํา
เหมืองบนดิน และสามารถใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในการทําโมเดลการ

- 65 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
ขนส่งในเหมือง เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในระบบการใช้เครื่องจักรกล
แนวทางการจั ด การโดยใช้ ร ะบบคอมพิ ว เตอร์ จั ด การให้ ไ ด้
มีการเลือกใช้เครื่องจักรกล และควบคุมกํากับการทํางาน
การขนส่งคนงานเข้าออกเหมืองใต้ดินสามารถแยกหรืออาจใช้
ร่วมกับการขนส่งแร่ หรืออาจแบ่งเวลาจากระบบขนส่งแร่ในช่วงการ
เปลี่ ย นกะ ตามแต่ ก รณี ค วามจํ า เป็ น โดยพิ จ าณาร่ ว มกั บ ความ
ปลอดภัยและความเร็วในการขนส่งและความต้องการการระบาย
อากาศในปล่องเหมือง

2.2 การทําเหมืองแร่ ต้นทุนการผลิตแร่ 1. วิเคราะห์ต้นทุนการผลิตแร่ได้อย่างถูกต้อง


ใต้ดิน ต้นทุนการผลิตคือต้นทุนทั้งหมดที่เกิดจากการผลิตแร่ต่อหน่วย 2. เพิ่ มประสิท ธิภาพกระบวนการผลิ ตแร่ โดย
- การหาต้นทุนการ การผลิต ประกอบด้วย การวิ เ คราะห์ ต้ น ทุ น การผลิ ต แร่ อ ย่ า ง
ผลิต 1. ต้นทุนทางตรง (direct cost) ได้แก่ ค่าวัสดุทางตรง ค่าแรง เหมาะสม
และค่าเชื้อเพลิงในการผลิต
2. ค่าโสหุ้ยการผลิต (overhead cost) เป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น
จากการอํานวยการผลิต เช่นค่าบริหาร ค่าวัสดุสํานักงาน
ค่าเงินเดือน ค่าขนส่ง และอื่นๆ
เมื่อเหมืองแร่มีการผลิตแร่เพิ่มขึ้นจะทําให้ต้นทุนการผลิตแร่โดย
เฉลี่ยต่อหน่วยลดต่ําลง ทําให้เกิดขนาดการผลิตแร่ที่เหมาะสมตาม
หลัก economy of scale
การคิดวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตตามแนวทางของต้นทุนกิจกรรม
(activity based costing) จะทําให้เหมืองแร่สามารถวิเคราะห์

- 66 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
ประสิ ท ธิ ภ าพของระบบการผลิ ต และจั ด กิ จ กรรมเพื่ อ ลดต้ น ทุ น
การผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในกรณีของการทําเหมืองแร่บนดิน
ก็สามารถพิจารณาคิดต้นทุนกิจกรรมแบ่งตามหน่วยปฏิบัติการผลิต
แร่ในเหมือง เช่น หน่วยการเจาะ หน่วยการระเบิดอุโมงค์ หน่วยการ
ขุ ด แร่ (ore stoping) หน่ ว ยการขนส่ ง แร่ หน่ ว ยการบดย่ อ ยและ
คัดขนาด หน่วยปรับคุณภาพแร่เป็นต้น ทั้งนี้มีค่าโสหุ้ยการผลิต เช่น
ค่าไฟฟ้า ค่าเสื่อมราคา ค่าบริหารจัดการ ค่าจ้างเหมาแรงงานทั่วไป
ค่ า การระบายน้ํ า ค่ า การระบายอากาศและให้ แ สงสว่ า ง
ค่าการจัดการสิ่งแวดล้อม เป็นต้น

2.2 การทําเหมือง แผนการตอบสนองต่อเหตุการณ์ฉุกเฉิน 1. มี ส่ ว นร่ ว มในการจั ด ทํ า แผนตอบสนองต่ อ - กฎหมายและระเบียบที่


ใต้ดิน ผู้ประกอบกิจการเหมืองแร่จะต้องทําแผนการตอบสนองต่อ เหตุการณ์ฉุกเฉิน เกี่ยวข้องทางด้านความ
- แผนการตอบสนอง เหตุ ก ารณ์ ฉุ ก เฉิ น ตามข้ อ กํ า หนดของกฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และ 2. ระบุห น้าที่ และความรับผิดชอบของวิศวกร ปลอดภัย
ต่อเหตุการณ์ฉุกเฉิน ประกอบการจั ด ทํ า รายงานวิ เ คราะห์ ผ ลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ ม เหมืองแร่เมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน ชีวอนามัย สิ่งแวดล้อม
รายละเอียดของแผนปฏิบัติงานเพื่อตอบสนองต่อเหตุการณ์ฉุกเฉิน - ร า ย ง า น วิ เ ค ร า ะ ห์
อาจมีความแตกต่างในแต่เหมืองและสภาพแวดล้อมการทํางานและ ผลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ ม
มักจะประกอบด้วยสาระสําคัญคือ และมาตรการป้ อ งกั น
1. การแจ้ ง เหตุ ฉุ ก เฉิ น ตามลํ า ดั บ ขั้ น แก่ ผู้ มี ห น้ า ที่ ใ นเหมื อ ง และลดผลกระทบ
หน่ ว ยงานราชการและชุ ม ชนที่ เ กี่ ย วข้ อ ง โดยกํ า หนด สิ่งแวดล้อมของโครงการ
หมายเลขโทรศัพท์และชื่อผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน และแผนผัง ทําเหมือง
งาน แสดงหน้าที่และกระบวนงานเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน
2. แผนผังหนีไฟ และตําแหน่งอุปกรณ์ดับไฟ

- 67 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
3. แผนที่เหมือง และแผนผังการทําเหมืองและผังแสดงตําแหน่ง
อุปกรณ์และการทํางานของเครื่องจักรสําคัญ สถานที่ตั้งคลัง
เก็บวัสดุอันตราย คลังวัสดุเชื้อเพลิง ระบบไฟฟ้า ระบบปั้ม
ระบบและทิศทางการระบายอากาศในเหมือง แผนอพยพ
และทางออกฉุกเฉิน
4. ระบบการแจ้งเตือน และการตรวจสอบคุณภาพน้ํา อากาศ
ก๊าซพิษ ตะกอนโลหะหนัก และสารอันตราย
5. แผนการซ้อมอพยพและปฏิบัติการเมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน
6. กํ า หนดการอบรมและติ ด ประกาศแผนการตอบสนองต่ อ
เหตุการณ์ฉุกเฉินให้กับพนักงาน ชุมชนใกล้เคียงและหน่วย
ราชการที่เกี่ยวข้อง

2.2 การทําเหมือง การจั ด การความปลอดภั ย สิ่ ง แวดล้ อ ม และชี ว อนามั ย ใน 1. กํ า กั บ และติ ด ตามการทํ า งานในเหมื อ งตาม - มาตรการป้ อ งกั น และ
ใต้ดิน การทํางาน ข้อกําหนดด้านความปลอดภัย สิ่งแวดล้อมและ ลดผลกระทบ
- การจัดการความ การจั ด การความปลอดภั ย สิ่ ง แวดล้ อ ม และชี ว อนามั ย ใน ชีวอนามัย สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ต า ม ที่
ปลอดภัย การทํ า งาน มี ร ะบบการบริ ห ารที่ มี ลั ก ษณะคล้ า ยคลึ ง กั บ ระบบ 2. ประยุกต์ใช้ความรู้ทางวิศวกรรมเพื่อแก้ไขและ กํ า ห น ด ใ น ร า ย ง า น
สิ่งแวดล้อม และ ประกั นคุ ณภาพ และระบบจั ด การเพิ่ม ผลผลิต เพีย งแต่จ ะเน้น ที่ ลดกระทบด้ า นความปลอดภั ย สิ่ ง แวดล้ อ ม วิ เ คราะห์ ผ ลกระทบ
ชีวอนามัยในการ เป้าหมายด้านความปลอดภัย สิ่งแวดล้อมและชีวอนามัยของชุมชน และชี ว ะอนามั ย ได้ อ ย่ า งเหมาะสม และ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ข อ ง
ทํางาน และผู้ ป ฏิ บั ติ ง าน และเป็ น ไปตามมาตรการที่ ร ะบุ ไ ว้ ใ นรายงาน สอดคล้ อ งตามมาตรการป้ อ งกั น และลด โครงการทําเหมืองแร่
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการทําเหมือง ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามที่กําหนดในรายงาน - ISO 14000
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการ
ทําเหมืองแร่

- 68 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
แนวทางการจัดการอาจดําเนินการ ดังเช่น
1. การดําเนินการด้านนโยบายและชุมชนสัมพันธ์
2. การจัดรูปแบบองค์กรที่รองรับข้อกําหนดของการจัดการ
ความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม และชีวอนามัยในการทํางาน
และตอบสนองต่อกรณีอุบัติเหตุ และเหตุการณ์ฉุกเฉิน
3. การจัดทําคู่มือและแนวทางการปฏิบัติงานในเหมือง
4. การวิเคราะห์กิจกรรมและสภาพแวดล้อมการทํางานเพื่อให้
หลีกเลี่ยงการเกิดอุบัติเหตุและลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมจาก
การทําเหมือง
5. การจัดการซ่อมบํารุงอุปกรณ์และเครื่องจักรกลอย่างถูกต้อง
6. จั ด ระบบการประชุ ม และทบทวนกฎระเบี ย บด้ า น
ความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม และชีวอนามัย เป็นประจํา
7. จัดระบบเก็ บข้อมูล ตรวจสอบและติดตามผลการจัดการ
ความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม และชีวอนามัยตามมาตรการ
ที่กําหนด
8. จัด การอบรม รณรงค์ ใ ห้ ค วามรู้ แก่ พ นั ก งาน และชุ ม ชน
ด้านการจัดการความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม และชีวอนามัย
9. จัดการอบรมพนักงานและซ้อมปฏิบัติการตามแผนการใน
กรณีอุบัติเหตุและเหตุการณ์ฉุกเฉินตามกําหนดเวลา

- 69 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
3. การเจาะและระเบิด วัตถุระเบิดและอุปกรณ์ สามารถเลือกใช้วัตถุระเบิดให้เหมาะสมกับงานได้
มีความรู้ความเข้าใจเรื่องชนิดของวัตถุระเบิดที่ใช้ในงานเหมืองแร่
เช่ น คุ ณ สมบั ติ ที่ สํ า คั ญ ของวั ต ถุ ร ะเบิ ด ได้ แ ก่ ความเร็ ว ใน
การระเบิด (velocity of detonation) พลังหรือความแรงใน
การระเบิ ด (strength) ความไวในการระเบิ ด (sensitivity)
ความหนาแน่น (density) แรงอัดของการระเบิด (detonation
pressure) คุ ณ ส ม บั ติ ก า ร ค ง ท น ต่ อ น้ํ า ( water resistance)
คุ ณ สมบั ติ ก ารจั บ ตั ว ของวั ต ถุ ร ะเบิ ด (cohesiveness) อายุ
การใช้งาน (shelf life) วัตถุระเบิดชักนํา (initiating explosive or
primary high explosive) หรือวัตถุระเบิดที่ใช้สําหรับเป็นวัตถุ
ระเบิดชักนํา ได้แก่ Lead Azide, Lead Styphnate, Mercury
Fulminate, PENT, RDX วัตถุระเบิดแรงสูงที่เป็นวัตถุระเบิดหลัก
(secondary high explosive or main charge) เช่น ไดนาไมต์
Watergel, Emulsion Explosive, TNT และ ANFO และสาย
ชนวนระเบิ ด ระบบการจุ ด ระเบิ ด ด้ ว ยแก๊ ป ธรรมดา (plain
detonator) และสายชนวนธรรมดา (safety fuse) แก๊ปไฟฟ้า
(electric detonator) แก๊ปไฟฟ้าจังหวะถ่วง หรือแก๊ปถ่วงเวลา
(electric delay detonator) เชื้อปะทุที่จุดระเบิดโดยไม่ใช้ไฟฟ้า
(Non-Electric Detonator: NONEL) สายชนวนระเบิด
(detonating fuse) แก๊ ป อิ เ ล็ ค โทรนิ ค (electronic detonator)
วัตถุระเบิดแรงต่ํา สารประกอบระเบิด (blasting agent) อุปกรณ์
การจุดระเบิด และอุปกรณ์เสริมเพื่อความปลอดภัยชนิดต่างๆ

- 70 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
ประเภทเครื่องเจาะระเบิด สามารถเลือกใช้เครื่องเจาะรูระเบิดให้เหมาะสมกับ
มีความรู้ความเข้าใจเรื่องชนิดและประเภทของเครื่องเจาะรูระเบิด งานได้
ชนิดต่างๆ เช่น ระบบการทํางาน ขนาดรูระเบิดที่เจาะได้ ข้อดีและ
ข้อจํากัดของเครื่องเจาะรูระเบิดได้แก่เครื่องเจาะที่มีค้อนอยู่เหนือ
รู เ จาะ (top hammer) เครื่ อ งเจาะดาวน์ เ ดอะโฮล (Down-the
Hole Drill) เครื่องเจาะแบบหมุนและกด (rotary drill) เครื่องเจาะ
ระบบไฮโดรลิก (hydraulic drill) ตลอดจนชนิดของดอกเจาะและ
อุปกรณ์เสริมต่างๆ
การออกแบบรูระเบิด สามารถออกแบบการเจาะรู ร ะเบิ ด และการอั ด
มีความรู้ความเข้าใจ ในมิติต่างๆ ของการเจาะรูระเบิดทั้งในเหมือง ระเบิดได้ทั้งในงานเหมืองแร่บนดินและใต้ดิน
บนดินและเหมืองใต้ดิน ได้แก่ ระยะระหว่างแถวของรูระเบิด ระยะ
ระหว่างรูระเบิดในแถวเดียวกัน ระยะในการปิดปากรูระเบิด ระยะ
ที่ต้องเจาะต่ํากว่า ตีนของหน้างานเดิม ระยะอัดระเบิด ความสูงของ
หน้างาน ความลึกของรูระเบิด ปริมาณการใช้วัตถุระเบิดต่อหน่วย
ปริมาตร (หรือน้ําหนัก) ของหิน (explosive factor หรือ powder
factor) การเจาะระเบิดเพื่อขุดร่อง การเจาะระเบิดเพื่อการผลิตหิน
มิ ติ การออกแบบการเจาะระเบิ ด เพื่ อ การหวั ง ผลเป็ น กรณีพิ เ ศษ
การออกแบบการเจาะอุโมงค์ขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดใหญ่

- 71 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
สาเหตุและการแก้ปัญหาระเบิดด้าน สามารถประเมิ น สาเหตุ ข องระเบิ ด ด้ า นและ
ลักษณะของผลการระเบิดที่บ่งชี้ว่าจะมีระเบิดด้าน สาเหตุต่างๆ ที่ แก้ปัญหาระเบิดด้านได้
ทํ า ให้ ร ะเบิ ด ด้ า น ข้ อ ปฏิ บั ติ เ มื่ อ สงสั ย ว่ า จะมี ร ะเบิ ด ด้ า น
การทําลายวัตถุระเบิด และข้อปฏิบัติในการทําลายวัตถุระเบิด

การเก็บและการขนส่งวัตถุระเบิด สามารรถควบคุมการเก็บและการขนส่งวัตถุระเบิด MSHA -Safety


คุณสมบัติของคลังเก็บวัตถุระเบิด คุณสมบัติของรถขนส่งวัตถุระเบิด ให้มีความปลอดภัยได้ Standards for
ข้อปฏิบัติและข้อห้ามของการเก็บและการขนส่งวัตถุระเบิด Explosives at Metal
and Nonmetal Mines
การประเมินต้นทุนการเจาะระเบิด สามารถประเมินต้นทุนการเจาะระเบิดได้
ตั น ทุ น การเจาะระเบิ ด ได้ แ ก่ ค่ า เจาะรู ร ะเบิ ด ค่ า วั ต ถุ ร ะเบิ ด
ค่าเสื่อมราคาเครื่องเจาะระเบิด หรือค่าเช่าเครื่องเจาะ ค่าน้ํามัน
เชื้ อ เพลิ ง ค่ า จ้ า งแรงงาน ค่ า ซ่ อ มและค่ า อะไหล่ เ ครื่ อ งเจาะ
ค่ า ดอกเจาะ นํ า ค่า ใช้ จ่า ยในการเจาะระเบิ ดมาคิ ด เป็น ค่ า ใช้ จ่า ย
ต่อตันหินที่ระเบิดได้

การควบคุมและการป้องกันผลกระทบสิ่งแวดล้อม สามารถประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและควบคุม กรมควบคุมมลพิษ


ผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านความสั่นสะเทือน เสียง คลื่นอัดอากาศ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมให้เกิดขึ้นอยู่ในเกณฑ์ AS 2187-1983
หินปลิวกระเด็น ฝุ่นและก๊าซจากการระเบิด ปริมาณวัตถุระเบิดที่จุด มาตรฐานได้ DIN 4150-3
ระเบิดพร้อมกันมากที่สุดต่อจังหวะถ่ วงเวลา ความเร็ วคลื่นหรือ USOSM
ความเร็วอนุภาคสูงสุดและอัตราส่วนระยะทาง (วิธีการอื่นๆ ในการ
ควบคุมผลกระทบจากการระเบิด

- 72 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
ความปลอดภัยในการระเบิด สามารถประเมินความเสี่ยงของการจุดตัวเองของ MSHA -Safety
อั น ตรายจากการระเบิ ด ตั ว เองของแก๊ ป ไฟฟ้ า ที่ อ าจเกิ ด จาก แก๊ ป ชนิ ด ต่า งๆ ได้ ควบคุ ม การเจาะและการอั ด Standards for
กระแสไฟฟ้ า รั่ ว หรื อ กระแสไฟฟ้ า ตกค้ า ง ไฟฟ้ า สถิ ต ย์ สายส่ ง และการจุดระเบิดให้มีความปลอดภัยได้ Explosives at Metal
ไฟฟ้าแรงสูง ฟ้าผ่า คลื่นวิทยุ โทรศัพท์มือถือ แรงอัด การกระแทก and Nonmetal Mines
การขัดสี ความร้อน ขั้นตอนการปฏิบัติ ข้อห้ามและข้อพึ งปฏิบัติ
เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความปลอดภั ย ในการเก็ บ และการขนส่ ง วั ต ถุ ร ะเบิ ด
การเจาะการอัดและการจุดระเบิด

- 73 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
4. เครื่องจักรกลเหมือง 4.1 ประเภทเครื่องจักรเหมือง การทําเหมืองมีหลายประเภท 4.1.1 มีความเข้าใจเรื่องเครื่องจักรกลหน้าเหมือง ASTM , Caterpillar ,
เครื่องจักรกลมีหลากหลายที่ถูกออกแบบมาใช้กับการทําเหมือง และ ทั้ ง การทํ า เหมื อ งผิ ว ดิ น และเหมื อ งใต้ ดิ น หรือข้อกําหนดของผู้ผลิต
การผลิตแร่ การแยกแร่ เครื่องจักรแต่ละชนิดก็จะเหมาะสมกับงาน ตั้งแต่การเจาะระเบิด การตัก การขนส่ง การ จําหน่าย ในตลาด
แต่ละอย่างแต่ละในวิศวกรรม เช่น วิศวกรโยธา เครื่องกล ไฟฟ้า ทุบหิน เครื่องผสมปุ๋ย ตลอดจนเครื่องจักรที่ เครื่องจักรกล
นอกจากประเภทของเครื่องจักร ที่เหมาะสมกับขนาดของเหมือง สนับสนุน ในการทําทางถนนรถบรรทุกน้ํา
และสภาพสิ่ ง แวดล้ อ ม เงิ น ลงทุ น ความรู้ ค วามชํ า นาญในการใช้ รถซ่ อ มบํ า รุ ง เครื่ อ งจั ก ร อุ ป กรณ์ ข นส่ ง
เครื่องจักรของหน้างาน เพราะการเลือกใช้เครื่องจักรผิดนอกจากจะ คนงานและพัสดุ การระบายอากาศ อุปกรณ์
สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายแล้วยังจะไม่ปลอดภัยกับการทําเหมืองอีกด้วย พ่นคอนกรีต
เครื่ อ งจั ก รได้ ถู ก แบ่ ง ออกเป็ น แบบต่ า งๆ ขึ้ น อยู่ กั บ งานที่ ใ ช้ เช่ น 4.1.2 มี ค วามเข้ า ใจเครื่ อ งจั ก รในการปรั บ ปรุ ง
เครื่องมือเปิดหน้าดิน เครื่องดูดแร่ เครื่องแยกแร่ ตะแกรงคัดขนาด คุณ ภาพแร่ ได้แ ก่ อ่า งรับ แร่ อุป กรณ์ป้อ น
Jig โต๊ะสั่น เครื่องลอยแร่ เครื่องย่อย เครื่องบดแร่ เครื่องจักร….. เครื่องย่อยหยาบ เครื่องบดละเอียด สายพาน
ปั จ จุ บัน นอกเหนื อ จากรถบรรทุ ก เรื อ รถไฟ กระเช้ าแขวน ยั ง มี ลําเลี ยง ท่อลําเลียง ชุด ปั้ม เครื่องจักรคัด
สายพานลําเลียง จะต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับสภาพเป็น Fleet ขนาดแบบต่างๆ อุปกรณ์แยกแร่ออกจากดิน
ทั้งขุด ตัก บรรทุกและขนส่ง การโปรยกอง และการกิ น กอง ตลอดจน
อุ ป กรณ์ ก ารเก็ บ ตั ว อย่ า ง เครื่ อ งวิ เ คราะห์
คุ ณ ภาพเชิ ง เคมี แ ละกายภาพ เพื่ อ การ
ควบคุมคุณภาพ

- 74 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
4.2 การเลือกใช้เครื่องจักรกล (Mine Equipment Selection) 4.2.1 วิศวกรต้องมีความสามารถในการคํานวณหา ผู้ผลิตจําหน่าย
เครื่องจักรแต่ละตัวย่อมมีขีดจํากัด ต้องศึกษา facility ของ ความเหมาะสมของเครื่องจักรให้สอดคล้อง
เครื่องจักร application ของแต่ละเครื่องจักร ให้สัมพันธ์กับการ กับการออกแบบเหมืองและวิธีการทําเหมือง
ออกแบบเหมือง ราคาที่เหมาะสมความปลอดภัยในการใช้งาน
สามารถเลื อ กใช้ และคํ า นวณ หาปริ ม าณ
เครื่ อ งจั ก รที่ จ ะใช้ ง านอย่ า งพอดี เรี ย นรู้
พร้อมที่จะถ่ายทอดให้พนักงาน นําไปปฏิบัติ
ได้ดี ศึ ก ษาเรื่ อ งการลงทุ น ในเครื่ อ งจัก รให้
เหมาะสมกั บ สภาพและระยะเวลาใช้ ง าน
แ ล ะ ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ใ น ก า ร ใ ช้ ( O&O Cost)
ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ
สิ่งแวดล้อม
การเลื อ กหาเครื่ อ งจั ก รกล คํ า นวณเป็ น Cycle
time ของการขนส่งแร่ สัมพันธ์กับขนาดของเครื่อง
ย่ อ ยหิ น ระยะทางขนส่ ง ขนาดของรถขุ ด ตั ก
รถบรรทุก ตลอดจนปริมาณการเจาะระเบิด และ
ปริมาณ Stock แร่ที่เหมาะสม

- 75 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
4.3 การซื้อหาเครื่องจักรทดแทน 4.3.1 การวิเคราะห์ เปรียบเทียบเพื่อการตัดสินใจ
การใช้ เ ครื่ อ งจั ก รเก่ า และล้ า สมั ย มั ก จะมี ปั ญ หาเรื่ อ งค่ า ซ่ อ ม วิศวกร จะต้องรู้จักเก็บข้อมูลเครื่องจักรใน
หาอะไหล่ยาก เครื่องจักรมี Running Factor (R.F.) ต่ํา ค่าซ้อมสูง การใช้งาน รู้จกั วิเคราะห์เปรียบเทียบจะ
ความปลอดภัยในการใช้งานต่ํา ผลผลิตไม่ได้เป้าหมาย จึงต้องจัดหา Over haul หรือ…..ซาก ซื้อใหม่แทนการ
เครื่องจักรทดแทน วิเคราะห์เครื่องจักรเท่ากับขอซื้อใหม่
- R.F ของเครื่องจักร
- MAF (machine availability factor)
80-90%
- maintenance cost/ working hr.
- อายุการใช้งานเครื่องจักร ประมาณ
8-10 ปี
- รู้จักวิเคราะห์การลงทุน
4.3.2 รู้ จั ก เตรี ย มการเรื่ อ งงบ ประมาณ เตรี ย ม
ทดแทนเครื่องจักรเก่าตาม 4.3.1 เป็นปีๆ ไป
4.3.3 มุ้งเน้ นสภาพเครื่องจักรที่ปลอดภัยและไม่
กระทบกับผู้เกี่ยวข้อง (safety machine)

- 76 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
4.4 การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของเครื่องจักร (Utilization 4.4.1 วิ ศวกรจะต้ องเข้าใจวิธีนํ าเอาข้ อมู ล
Effective Analysis) เป็นการเตรียมจัดเก็บข้อมูลในการทํางานของ เครื่องจักรมาวิเคราะห์ตามปกติตลอดเวลา
เครื่องจั กรแต่ล ะตัวหรือ Fleet นํามาวิเคราะห์หาความเบี่ยงเบน ในการใช้งาน
และจุด Critical ที่ผันแปรไปทางดี /หรือร้าย เพื่อปรับปรุงให้ได้ 4.4.2 ศึกษาและเข้าใจการวัดผลโดยใช้ index
ประสิทธิภาพสูงสุดตามเป้าหมาย OEE เหมือนกับการผลิตทั่วไป
4.4.3 สามารถหา strength และ weakness ของ
การใช้เครื่องจักร และหาทางแก้ไขทันที

4.5 การบํารุงรักษาเครื่องจักร (Mine Equipment Maintenance) 4.5.1 วิศวกรต้องทราบถึงการทําการซ่อมบํารุง


เครื่องจักรกลทุกชนิด ต้องมีการซ่อมบํารุงอย่างถูกวิธี ควบคู่ไปกับ แบบ System of Preventive
การใช้งานที่ถูกวิธี maintenance (SPM) คือการดูแลประจําวัน
ผู้ผลิตเครื่องจักรทุกชนิดต้องการให้เครื่องจักรมีอายุใช้งานสูงสุด จึง และทําการซ่อมทุกชิ้นส่วนของเครื่องจักรตาม
ต้องกําหนดการใช้ให้ถูกวิธี และซ่อมบํารุงทีต่ ้องทําตามขั้นตอน และ Working hour การซ่อมแซมตามวาระ ที่
สภาพการใช้งาน ความปลอดภัยของผู้เกี่ยวข้อง ผู้ผลิตเครื่องจักรกําหนด เพื่อไม่ให้เครื่องจักร
เกิด break down
4.5.2 มีการวางแผนซ่อมเครื่องจักรหลักของเหมือง
โ ด ย มี R.F ข อ ง แ ต่ ล ะ เ ค รื่ อ ง จั ก ร เ ป็ น
ตัวกําหนด
4.5.3 มีการจัดระบบการซ่อมใหญ่ไว้ล่วงหน้า over
haul เครื่องจักรให้สัมพันธ์กับแผนการผลิต
ของเหมือง

- 77 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
4.5.4 รู้จักศึกษาหาวิธีการซ่อมบํารุงเครื่องจักรกล
ให้มีประสิทธิภาพ และค่าใช้จ่ายในกําหนดที่
ควรจะเป็น

4.6 การวิเคราะห์ระบบเครื่องจักรการทําเหมือง (Mine System 4.6.1 มีความเข้าใจเรื่องระบบที่ แสดงถึงสิ่งป้อน


Analysis) ในการทําเหมืองเครื่องจักรมีผลทางตรงกับผลผลิตความ กระบวนการที่มีเงื่อนไข และผลลัพธ์เชิงผลิต
ปลอดภัย และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ประสิทธิภาพ ผลข้างเคียง และวิสัยทัศน์
4.6.2 มี ค วามสามารถในการเลื อ กใช้ เ ครื่ อ งมื อ
วิเคราะห์เชิงระบบ อย่างใดอย่างหนึ่ง มาใช้
งานได้อย่างสอดคล้องกับกระบวนงาน
4.6.3 หลังการวิเคราะห์ระบบ ควรมีความสามารถ
ในการเสนอแนะแก้ ไ ข ปรั บ ปรุ ง เพื่ อ ลด
ปัญหาคอขวด ที่จุดป้อน หรือกระบวนการ
หรือเงื่อนไขที่ทําให้เกิดผลดีได้

- 78 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
4.7 ก า ร ห า ต้ น ทุ น ก า ร ใ ช้ เ ค รื่ อ ง จั ก ร ( Owning Cost and 4.7.1 มีความสามารถในการแจกแจงต้นทุนการใช้
Operating Cost) เครื่องจักร ว่าส่วนไหนเป็นเจ้าของและส่วนที่
ราคาเครื่ อ งจัก รจะมี ก ารเปรี ย บเทีย บกั นแต่ ล ะยี่ ห้อ โดยคํา นวณ เกิ ด จากการใช้ ง าน พร้ อ มเหตุ ผ ลชี้ แ จง
operating และ owning cost เครื่องจักรบางอย่าง ราคาถูกแต่ใช้ อธิบายได้
เชื้อเพลิงแพง ค่าซ่อม อายุการใช้งานของชิ้นส่วนและบริการ 4.7.2 สามารถคํานวณ O&O Cost ได้ เพื่อการ
คํานวณราคากลาง ในการใช้เครื่องจักรชุด
หนึ่งในการทํางานหนึ่ง ภายใต้เงื่อนไขการ
ทํางานที่กําหนดไว้ในทางปฏิบัติ

4.8 ความปลอดภัยในการใช้เครื่องจักร (Mine Equipment 4.8.1 สามารถชี้บ่งจุดอ่อนที่เป็นโอกาสเสี่ยงต่อการ


Safety) เครื่องจักรกล เกิดอุบัติเหตุในการใช้เครื่องจักรแต่ละชนิด
เหมื อ งต้ อ งใช้ ง านหนั ก ในบริ เ วณที่ มี ส ภาพการทํ า งานที่ อ าจไม่ ในสถานที่ ทํ า งานที่ ห น้ า เหมื อ งหรื อ โรง
ปลอดภัย ต้องมีการศึกษาเรื่อง ความปลอดภัยให้พนักงานเข้าใจและ ปรับปรุงคุณภาพแร่ที่แตกต่างกันได้
มีจิตสํานึกในการป้องกันอันตรายอย่างถูกต้องทุกขั้นตอน งานเหมือง 4.8.2 สามารถตรวจสอบเครื่อ งจัก รแต่ละชนิด ที่
เป็นงานที่มี hazardness สูง การทําเหมืองทุกชนิด ทุกวิธีเริ่มต้นที่ ภาคสนาม และหัวหน้างานที่เครื่องจักรไป
การทํ า ลายสมดุ ล ของธรรมชาติ จึ ง ต้ อ งระวั ง และสร้ า งสมดุ ล มา ทํางาน ว่ามีความปลอดภัยเพียงพอในการใช้
ทดแทนตลอดเวลา ต้องเรียนรู้ในข้อแนะนําของผู้ผลิตเครื่องจักร งาน และตัดสินใจยินยอมให้ใช้งานได้
อย่างถูกต้องและถ่ายทอดให้ผู้เกี่ยวข้องเข้าใจและปฏิบัติ
4.8.3 มีความรู้เรื่องป้ายจราจรในเหมืองอย่างน้อย
เบื้องต้น
4.8.4 มีความรู้เบื้องต้นเรื่องความปลอดภัยในการ
ใช้เครื่องจักรและถ่ายทอดให้พนักงาน

- 79 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
4.8.5 มีความรู้เพียงพอในการจัดการในภาวะ
ฉุกเฉิน เมื่อ เครื่อ งจัก รเกิดไฟไหม้ หรือดิ น
ถล่มใส่ ตลอดจนสามารถวิเคราะห์อุบัติเหตุ
หาสาเหตุเชิงวิศวกรรมได้
4.8.6 มีความรู้ในเรื่องการวิเคราะห์อุบัติเหตุโดย
คํานึงสามเหตุแห่งอุบัติเหตุแต่ละครั้งว่าเป็น
unsafe condition ห า ท า ง ป้ อ ง กั น ไ ว้
ล่วงหน้า พร้อมที่จะสอนผู้ร่วมงานในเรื่ อง
มูลเหตุของอุบัติเหตุ จะเป็น unsafe act
หรือ unsafe condition สามารถที่จะเขียน
คําแนะนําพนักงานในเรื่อง standard work
safety procedure ให้พนักงานที่เกี่ยวข้อง
ใช้ในการปฏิบัติงานเป็น daily work หาทาง
จูงใจให้ทุกคนสนใจในเรื่อง safety

- 80 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
5. การปรับปรุงคุณภาพ การศึกษาความสามารถในการคัดแยกของแร่ต่างชนิดที่มี 1. มีความเข้าใจคุณลักษณะที่ตอบสนองต่อการ
แร่ คุณสมบัติต่างกันและการตรวจสอบข้อจํากัดและปัจจัยที่มีผลต่อการ คัดแยกของแร่
การจําแนกคุณลักษณะ คัดแยกก่อนที่จะวางแผนออกแบบกําหนดขนาดหน่วยกระบวนการ 2. สามารถวิเคราะห์ความสามารถในการคัดแยก
ของแร่ ต่ า งๆ ที่ จํ า เป็ น ในการคั ด แยกและปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพเพื่ อ ให้ ไ ด้ ของกลุ่มแร่และกําหนดวิธีการในการคัดแยกที่
ความสามารถในการคัด กระบวนการที่มีประสิทธิภาพ มีประสิทธิภาพ
แยก การคัดแยกแบ่งได้เป็นการคัดแยกทางกายภาพและการคัด
แยกทางเคมี ซึ่ ง วิ ธี ก ารและขั้ น ตอนจะขึ้ น อยู่ กั บ คุ ณ สมบั ติ แ ละ
คุณลักษณะของวัสดุหรือแร่ที่จะทําการคัดแยก ประสิทธิภาพของ
กระบวนการคัดแยกทางกายภาพหรือการคัดแยกเชิงกลยังขึ้นอยู่กับ
ขนาดของแร่ที่เป็นตัวแปรสําคัญโดยบางกระบวนการจะทํางานได้
ในช่วงขนาดที่กว้างแต่บางกระบวนการจะมีประสิทธิภาพดีในช่วง
ขนาดที่ แ คบและจํ า กั ด เท่ า นั้ น การคั ด แยกทางกายภาพมี ห ลาย
วิธีการซึ่งใช้ความแตกต่างของคุณสมบัติทางกายภาพของแร่เป็น
หลัก คุณสมบัติที่สําคัญ ได้แก่ ความหนาแน่นหรือความถ่วงจําเพาะ
ขนาด รู ป ทรง ความเหนี่ ย วนํ า แม่ เ หล็ ก ความเป็ น ตั ว นํ า ไฟฟ้ า
คุ ณ สมบั ติ ท างแสงและรั ง สี การดู ด ซึ ม บนผิ ว หน้ า และสถานะ
(ของแข็งและของเหลว)
การคั ด แยกทางกายภาพเป็ น กระบวนการที่ ไ ม่ ทํ า ลาย
โครงสร้างทางเคมีของวัสดุ ดังนั้น องค์ประกอบที่ได้หลังจากการคัด
แยกจะเป็ น องค์ ป ระกอบเดิ ม และมี คุ ณ สมบั ติ เ ช่ น เดิ ม แต่ อ าจมี
การเปลี่ ย นแปลงขนาดและรู ป ทรงได้ ของเสี ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น จาก
กระบวนการมีคุณสมบัติไม่ซับซ้อนสามารถจัดการได้ง่ายถึงแม้จะมี

- 81 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
ปริมาณมาก ผลกระทบสิ่งแวดล้อมอันเนื่องมาจากมลพิษจึงน้อย
กว่ากระบวนการทางเคมีโดยทั่วไป อย่างไรก็ตามการคัดแยกแร่ที่มี
องค์ประกอบหลากหลายที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกันมากและมีการ
กระจายตัวของธาตุโลหะหรือวัสดุที่ต้องการในขนาดละเอียดมาก
หรือผสมผสานเป็นเนื้อเดียวกันอาจจําเป็นต้องใช้กระบวนการทาง
เคมีร่วมด้วยหลังจากผ่านการคัดแยกขั้นต้นด้วยกระบวนการทาง
กายภาพแล้ว
ในการพิ จ ารณาคุ ณ สมบั ติ ข องวั ส ดุ ที่ อ ยู่ ร วมกั น เป็ น กลุ่ ม
หรือกอง วัสดุนั้นๆ สามารถแทนได้ด้วยเส้นโค้งปริมาณหรือปริมาณ
สะสมของมวลวัสดุตามช่วงค่าคุณสมบัติได้ดังแสดงใน รูป
ความสามารถในการถูกแยกของแร่ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของ
แร่ที่ตอบสนองต่อแรงที่กระทําที่แตกต่างกันในแต่ละระดับ (เช่น
แต่ละค่า ถ.พ. หรือแต่ละขนาด) คุณสมบัติของแร่ที่ปะปนกันหลาย
ชนิดหรือแร่ชนิดเดียวกันที่มีหลายขนาดหรือแร่ที่ไม่บริสุทธิ์ที่มีมลทิน
ไม่ ห ลุ ด แยกคละอยู่ จ ะแตกต่ า งกั น ไปตามปริ ม าณการปะปนของ
มลทินหรือตามช่วงขนาดต่างๆ ดังนั้น การตอบสนองของแร่แต่ละ
พวกต่อแรงที่มากระทําเพื่อให้เกิดการแยกจะไม่เท่ากัน

- 82 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
100
90
80

ปริมาณมวลวัสดุ
70
60
50
ความถี่
40 ความถีส่ ะสม
30
20
10
0
1 2 3 4 5
คุณสมบัต(ิ ถ.พ. ขนาด ฯลฯ)

การวิเคราะห์ความสามารถในการคัดแยก
การวิเคราะห์หาความสามารถในการตอบสนองต่อการคัด
แยกของกลุ่มวัสดุเป็นการทดลองที่ต้องใช้ตัวอย่างที่เป็นตัวแทนจริง
และต้องมีการวิเคราะห์ความเข้มข้นหรือความบริสุทธิ์ของวัสดุหรือ
แร่ ที่ แ ยกได้ การทดลองจะใช้ อุ ป กรณ์ คั ด แยกในห้ อ งทดลองที่
สามารถปรั บ ตั ว แปรได้ ห ลายระดั บ และผลลั พ ธ์ ที่ ไ ด้ เ ป็ น
การตอบสนองต่ อ การคั ด แยกที่ ดี ที่ สุ ด ในการทํ า งานจริ ง ใน
กระบวนการที่ต่อเนื่องและมีขนาดการทํางานมากขึ้น การตอบสนอง
ต่อการคัดแยกมักจะต่ํากว่าผลที่ได้จากห้องทดลองเนื่องจากผลของ
ตัวแปรอื่นๆ ที่เกิดขึ้นร่วมด้วย
(1) การคัดแยกด้วยขนาด
(2) การคัดแยกด้วยความถ่วงจําเพาะ
(3) การคัดแยกด้วยอํานาจแม่เหล็ก
(4) การคัดแยกด้วยการลอย

- 83 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
มวลสมดุล มวลสมดุล: 1. มีความเข้าใจหลักการของมวลสมดุล
มวลสมดุลพื้นฐาน การคํานวณมวลหรือการกระจายของวัสดุและความบริสุทธิ์ของวัสดุ 2. สามารถคํ า นวณหามวลสมดุ ล ปรั บ แก้ ม วล
มวลสมดุลในวงจร ที่คัดแยกทําให้รู้ถึงประสิทธิภาพการคัดแยกและสามารถควบคุม ส ม ดุ ล ใ น ว ง จ ร ป ริ ม า ณ ไ ห ล ว น ก ลั บ ใ น
การปรับแก้มวลสมดุล กระบวนการให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพที่ ดี ห รื อ สามารถ ออกแบบ กระบวนการ ทํารายงานมวลสมดุล (balance
ปริมาณไหลวนกลับ กระบวนการและกําหนดขนาดอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม sheet)
การหามวลสมดุลในกระบวนการ ต้องมีการชักตัวอย่างเพื่อวิเคราะห์ 3. สามารถนํ า มวลสมดุ ล ไปใช้ ใ นการออกแบบ
อัตราการไหลและความบริสุทธิ์หรือเกรดของวัสดุหรือแร่ ถ้าการชัก กระบวนการ กําหนดขนาดเครื่องจักรอุปกรณ์
ตัวอย่างไม่มีความแม่นยําเพียงพอ การคํานวณมวลสมดุลจะมีความ ได้ และวิเคราะห์ประสิทธิภาพการทํางานของ
คลาดเคลื่อนเกิดขึ้น ในกระบวนการคัดแยกโดยทั่วไป วัสดุป้อนถูก กระบวนการ
แยกออกเป็น 2 ส่วนหรือมากกว่าและ วัสดุ 2 ส่วนหรือ มากกว่าอาจ
รวมเข้ ามาเป็ นส่ ว นเดีย วแล้ วแต่ ลัก ษณะการไหลของมวลสารใน
กระบวนการปริมาณเก็บได้ (recovery) ปริมาณหัวแร่ที่ได้(yield)
และอัตราส่วนการเพิ่มความเข้มข้น (ratio of concentration)
สามารถหาได้จากการคํานวณและทํารายการมวลสมดุล (balance
sheet)

การปรับแก้มวลสมดุลโดย Least Square Adjustment:


การชั ก ตั ว อย่ า ง เพื่ อ วิ เ คราะห์ ม วลสมดุ ล จะมี ค วามคลาดเคลื่ อ น
เกิดขึ้นเสมอ ความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้นจากสาเหตุ 2 ประการ คือ
ก. ความคลาดเคลื่อนจากการชักตัวอย่างเนื่องจากวิธีการชักตัวอย่าง
เองและจากการไหลที่ไม่ สม่ําเสมอ

- 84 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
ข. ความคลาดเคลื่อนจากการวิเคราะห์ความคลาดเคลื่อนทําให้มวล
ในวงจรที่ คํ า นวณได้ ไ ม่ ส มดุ ล จํ า เป็ น ต้ อ งมี ก ารปรั บ แก้ ใ ห้
เกิ ด ความสมดุ ล การปรั บ แก้ เ พื่ อ ให้ ม วลสมดุ ล มี ป ระโยชน์
ในการ วิเคราะห์ประสิท ธิภาพของวงจรหรืออุปกรณ์คัดแยกและ
การออกแบบกํ าหนดขนาดของอุป กรณ์ต่า งๆ การปรั บแก้ทํา ได้
หลายวิธีแต่แต่ละวิธีจะต้องให้คําตอบที่ใกล้เคียงกันและจะต้องมีค่า
ไม่แตกต่างจาก ค่าที่วัดได้จริงจากวงจรมากนัก ได้แก่ การปรับแก้
ด้วยวิธีทําให้ค่ายกกําลังสองของความคลาดเคลื่อนรวมน้อยที่สุดแล้ว
กระจายความคลาดเคลื่อนตามการ ไหลของมวลทุกสายในวงจร
(least square adjustment)

ก า ร คํ า น ว ณ ป ริ ม า ณ ที่ ไ ห ล ว น ก ลั บ ( circulating load):


เนื่องจากในกระบวนการในทางปฏิบัติไม่สามารถมีประสิทธิ ภาพ
อย่างสมบูรณ์ ดังนั้น ในการทํางานจริงในวงจรปิดที่ทํางานต่อเนื่อง
จะมี วั ส ดุ ป ริ ม าณหนึ่ ง ไหลวนซ้ํ า อยู่ ต ลอดเวลา เมื่ อ วงจรทํ า งาน
สม่ําเสมอคงที่ ปริมาณนี้จะคงที่ด้วยปริมาณวัสดุไหลวน สามารถ
คํานวณหาได้จากสมการ หรือการหามวลสมดุลของวงจรตามอัตรา
การไหลของวั ส ดุ ป้ อ นจนกระทั่ ง วงจรเข้ า สู่ ส มดุ ล การออกแบบ
กําหนดขนาดเครื่องจักรอุปกรณ์ในวงจรในกรณีนี้ ต้องออกแบบให้
สามารถทํางานได้ที่ อัตราการทํางานที่รวมเอาปริมาณวัสดุไหลวน
กลับที่คงที่ด้วย

- 85 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
การลดขนาด การคํานวณออกแบบการลดขนาด: 1. มีความเข้าใจหลักการการลดขนาด -
หลักการพืน้ ฐานการลด การออกแบบกระบวนการสํ า หรั บ การลดขนาดเป็ น การเลื อ กใช้ 2. สามารถออกแบบกระบวนการลดขนาดและ
ขนาด อุปกรณ์ในการลดขนาดและออกแบบวงจรที่มีขั้นตอนการลดขนาดที่ กําหนดขนาดเครื่องจักร อุปกรณ์ในวงจร
การเลือกใช้อปุ กรณ์ลด เหมาะสม การเลือกใช้อุปกรณ์ลด ขนาดขึ้นอยู่กับปัจจัยที่สําคัญคือ 3. สามารถเลื อ กใช้ เ ครื่ อ งจั ก รอุ ป กรณ์ ไ ด้ อ ย่ า ง
ขนาด (1) คุณสมบัติของวัสดุหรือแร่ ได้แก่ ความยากง่ายในการ เหมาะสม
การออกแบบวงจรการ แตกหักหรือฉีกตัดของวัสดุซึ่งขึ้นอยู่กับความแข็งแรงและโครงสร้าง
ลดขนาด ของวัสดุที่ได้ข้อมูลจากการทดสอบหาความสามารถในการถูกย่อย
(crushability) และถูกบด (grindability) นอกจากนี้ คุณลักษณะ
ของวัสดุหรือแร่และการปนเปื้อนของวัสดุอื่น เช่น ดินเหนียว เป็น
ปัจจัยที่ต้องพิจารณา
(2) อัตราการทํางานที่ต้องการ การทํางานของเครื่องย่อยและ
เครื่ องบดละเอียดขึ้นอยู่กับขนาดของวัสดุหรือแร่ป้อน อัตราการ
ทํางานของเครื่องย่อยและ บดละเอียดโดยทั่วไปจะออกแบบเผื่อไว้
สําหรับการเปลี่ยนแปลงของอัตราการป้อน การลดขนาดขั้นแรกมาก
มั ก จะออกแบบให้ ส ามารถรั บ อั ต ราการป้ อ นมากกว่ า ที่ ต้ อ งการ
ประมาณร้อยละ 25 ปริมาณที่ ไหลวนกลับในการลดขนาดวงจรปิด
(circulating load) เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ต้องพิจารณา
(3) ขนาดของวัสดุหลังจากการลดขนาด อัตราส่วนการลด
ขนาดที่ เ หมาะสมในแต่ ล ะขั้ น ตอน และแต่ ล ะประเภทอุ ป กรณ์
ไม่ เ ท่ า กั น ดั ง นั้ น ขั้ น ตอนการลดขนาดในวงจรจึ ง ถู ก กํ า หนด
โดยอัตราส่วนการ ลดขนาดของอุปกรณ์ที่เหมาะสมกับวัส ดุป้อน
ประเภทนั้นๆ ในการลดขนาดขั้นแรก (primary crushing) มักจะใช้

- 86 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
อัตราส่วนลดขนาดประมาณ 3 หรือ 4 ต่อ 1 แต่การใช้เครื่อง
ย่อยแบบค้อนกระแทก (Impact crusher) อัตราส่วนการลดขนาด
อาจสูงได้ถึง 10 ต่อ 1 ขนาดของวัสดุหรือแร่ที่ต้องการจากการลด
ขนาดจะเป็นตัวแปรหลักที่นํามาใช้ในการคํานวณหากําลังม้าของ
อุปกรณ์ลดขนาด
(4) ประเภทอุปกรณ์ลดขนาดที่เหมาะสม โดยต้องพิจารณาถึง
ระบบการป้อน ขนาดก้อนหรือ ชิ้นที่ใหญ่ที่สุดที่ป้อนเข้า และอัตรา
การทํางานที่ต้องการการออกแบบกําหนดขนาดอุปกรณ์ลดขนาด
จึงต้องพิจารณาหลักเกณฑ์ต่อไปนี้
ก. ต้องมีกําลังม้าเพียงพอในการขับเคลื่อนและลดขนาดให้ได้
วัสดุผ่านตะแกรงที่ต้องการ
ข. ตะแกรงคัดขนาดในวงจรต้องมีพื้นที่ตะแกรงเพียงพอและมี
ประสิทธิภาพโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการลดขนาดในวงจรปิด
ค. ถ้าปริมาณวัสดุที่ไหลวนกลับเพื่อลดขนาดซ้ํามีปริมาณมาก
เกินไปที่อุปกรณ์สามารถรับได้อย่างมีประสิทธิภาพ การออกแบบ
อาจเพิ่มขั้นตอนอีกขั้นตอนที่ทําให้ปริมาณวนกลับในขั้นตอนสุดท้าย
ลดลง กระบวนการออกแบบอุปกรณ์ลดขนาดเป็นไปตามขั้นตอน
1. ศึกษาคุณสมบัติของวัสดุหรือแร่
2. เลือกประเภทของอุปกรณ์ตามคุณสมบัตขิ องวัสดุ
3. กําหนดขนาดวัสดุหรือแร่ป้อนและที่ต้องการ
4. ทดสอบความสามารถในการถูกลดขนาด (crushability/
grindability)

- 87 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
5. หาดัชนีกําลังงาน (Wi)
6. กําหนดอัตราการทํางานของอุปกรณ์ลดขนาด
7. หากําลังงานที่ต้องการในการลดขนาด
8. ออกแบบแผนผังวงจร
9. กําหนดประสิทธิภาพตะแกรง และ ประมาณการปริมาณ
วนกลับ และมวลสมดุลทั้งวงจร
10. เลือกขนาดและจํานวนอุปกรณ์ที่มีในท้องตลาดที่กําลังม้า
เทียบเท่ากับกําลังงานที่คํานวณได้

วิธีการคัดแยก การคัดแยกด้วยวิธีทางกายภาพหรือเชิงกล 1. เข้ า ใจหลั ก การทํ า งานของวิ ธี ก ารคั ด แยกวิ ธี


การคัดแยกทางกายภาพจะเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพเมื่อวัสดุได้ถูก ต่างๆ
ลดขนาดและส่วนที่มีค่าและไม่มีค่าสามารถหลุดแยกออกจากกันได้ 2. ส า ม า ร ถ ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ วิ ธี ก า ร คั ด แ ย ก ที่ มี
แล้วเป็นส่วนใหญ่ การคัดแยกทางกายภาพจะอาศัยตัวกลางหรือ ประสิทธิภาพ
วิธีการที่ใช้คุณสมบัติทางกายภาพเท่านั้นไม่ใช้คุณสมบัติหรือวิธีการ 3. สามารถออกแบบกระบวนการคั ด แยกและ
ทางเคมี แต่จะพบว่าวิธีการทางกายภาพและทางเคมีมักจะต้องถูก กําหนดขนาดอุปกรณ์
ใช้ร่วมกันในกระบวนการเพื่อให้การคัดแยกมีประสิทธิภาพมากขึ้น
หลั ก การในการคั ด แยกทางกายภาพอยู่ ที่ ค วามแตกต่ า งของ
คุณสมบัติทางกายภาพของแร่หรือวัสดุต่างชนิด เช่น ความแตกต่าง
ด้ า นคุ ณ สมบั ติ ก ารติ ด แม่ เ หล็ ก ขนาดหยาบและละเอี ย ด
ความถ่วงจําเพาะหรือความหนาแน่นสูงและต่ํา เป็นต้น

- 88 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
ในการคั ด แยกวั ส ดุ ป ระเภทต่ า งๆ ออกจากวั ส ดุ ที่
ผสมผสานกัน การแยกอาจเป็นการแยกที่มีผลผลิต 2 ส่วน หรือ
มากกว่า 2 ส่วน เช่น การแยกด้วยแม่เหล็กที่แยกเอาเฉพาะโลหะที่
ติดแม่เหล็กและไม่ติดแม่เหล็กเป็นการแยกแบบผลผลิต 2 ส่วน แต่
การคัดแยกโดยตะแกรงที่มีการคัดขนาดออกเป็นวัสดุหลายขนาดจะ
เป็นการแยกแบบหลายส่วน
1. การคัดแยกด้วยแม่เหล็กและไฟฟ้า
การคั ด แยกด้ ว ยวิ ธี เ หล่ า นี้ เ ป็ น กระบวนการที่ ใ ช้ แ รง
แม่เหล็กและแรงไฟฟ้าแยกแร่และวัสดุที่มีคุณสมบัติแตกต่างกันออก
จากกัน อุปกรณ์ที่ใช้งานโดยทั่วไปได้แก่ เครื่องแยกแม่เหล็กถาวร
และแม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า แบบต่ า งๆ เครื่ อ งแยกแม่ เ หล็ ก ความเข้ ม สู ง
(High gradient magnetic separator) เครื่องแยกไฟฟ้าสถิต
(Electrostatic separator) เครื่องแยกไฟฟ้าแรงสูง (High tension
separator) และเครื่องแยกกระแสไฟฟ้าวน (Eddy current
separator)
เครื่ อ งแยกแม่ เ หล็ ก และไฟฟ้ า เป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ กั น
โดยทั่วไปในอุตสาหกรรมหลายประเภทโดยคัดแยกวัสดุติดแม่เหล็ก
และไม่ ติ ด แม่ เ หล็ ก ตั ว นํ า ไฟฟ้ า ที่ ดี แ ละไม่ ดี ออกจากกั น
นอกจากนั้น เครื่องแยกที่ใช้กระแสไฟฟ้าวน เป็นเครื่องมือที่ใช้แยก
วัสดุตัวนําไฟฟ้า เช่น โลหะนอกกลุ่มเหล็กแต่ละประเภทออกจากกัน
หรือออกจากวัสดุที่ไม่เป็นตัวนําหรืออโลหะและเป็นประโยชน์มากใน
การคัดแยกวัสดุและโลหะเพื่อนํากลับมาใช้ใหม่

- 89 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
2. การคัดแยกโดยอํานาจไฟฟ้าสถิตและไฟฟ้าแรงสูง
การคั ดแยกวัส ดุโดยอาศัยคุณสมบัติทางไฟฟ้ าของวัส ดุมี
กระบวนการที่สําคัญ 3 กระบวนการ ได้แก่ การคัดแยกโดยไฟฟ้า
สถิต การแยกโดยไฟฟ้าแรงสูง (electrostatic and high tension
separation) และการคัดแยกโดยประจุไฟฟ้าจากการขัดสีหรือ
ไตรโบอิเล็กตริก
หลักการในการแยกด้วยไฟฟ้าสถิตและไฟฟ้าแรงสูงได้อาศัยการถ่าย
และรับประจุไฟฟ้าบนอนุภาค
วัสดุที่มีคุณสมบัติการนําไฟฟ้า (electrical conductivity)
แตกต่ า งกั น ถ้ า ประจุ ถู ก จ่ า ยให้ แ ละถู ก รั บ โดยวั ส ดุ ก่ อ นเข้ า สู่
กระบวนการคัดแยกอนุภาควัสดุนั้นๆ ที่มีประจุจะถูกดูดหรือผลัก
ออกจากอิเล็กโทรดที่มีประจุเหมือนกันหรือต่างกัน ดังนั้นวัสดุที่เป็น
ตัวนําและไม่เป็นตัวนําหรือเป็นตัวนําที่เลวจะถูกแยกออกจากกันได้
โดยง่ า ยเนื่ อ งจากวั ส ดุ ตั ว นํ า จะรั บ และถ่ า ยประจุ ไ ด้ ร วดเร็ ว
นอกจากนี้หลักการการคัดแยกโดยไฟฟ้าสถิตยังสามารถใช้แยกวัสดุ
ที่ไม่เป็ นตัวนํ าออกจากกั นได้ถ้ามีค่าคงที่ไดอิเล็กตริก (Dielectric
constant) ไม่เท่ากัน ข้อจํากัดสําคัญ ได้แก่ วัสดุป้อนจะต้องแห้ง
สนิ ท ไม่ มี ค วามชื้ น และมั ก จะให้ มี อุ ณ หภู มิ สู ง ในการทํ า งาน
(ประมาณ 60-70 องศาเซลเซียส) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการแยก
การคัดแยกโดยไฟฟ้าสถิตและไฟฟ้าแรงสูงประยุกต์ใช้มากในการ
แยกแร่ เช่น แร่ชายหาดที่แยกแร่รูไทล์ (Rutile) และอิลเมไนต์
(Ilmenite) ออกจากเซอร์คอน (Zircon) และโมนาไซท์ (Monazite)

- 90 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
นอกจากนี้ยังใช้ในการคัดแยกแร่ชนิดอื่นในการปรับปรุงคุณภาพแร่ที่
ได้จากแหล่งลานแร่ เช่น แร่ดีบุก โคลัมไบท์ (Columbite) และ
แทนทาไลท์ (Tantalite) เป็นต้น ในการเก็บกลับคืนวัสดุก็มีการ
ประยุกต์ใช้ในการคัดแยกวัสดุจําพวกแก้ว พลาสติก และกระดาษ
ออกจากเศษโลหะได้เช่นกัน นอกจากนี้ยังเป็นวิธีการที่ใช้ในการคัด
แยกเก็บกลับคืนทองแดงหรืออลูมิเนียมจากสายไฟฟ้าที่ย่อยแล้วและ
ทองแดงและโลหะมีค่าจากซากแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์
3. การคัดแยกด้วยความหนาแน่น
การคัดแยกด้วยวิธีนี้ เป็นการคัดแยกระหว่างวัสดุที่มีความ
หนาแน่นแตกต่างกัน คุณสมบัติสําคัญที่นําใช้เป็นหลักในการคัดแยก
คือคุณสมบัติทางกายภาพของวัสดุ ได้แก่ ความหนาแน่นหรือความ
ถ่วงจําเพาะ และสถานะของวัสดุในสภาพแวดล้อมนั้นๆ การคัดแยก
ในลักษณะนี้เป็นวิธีการพื้นฐานที่ได้ใช้ในชีวิตประจําวันทั่วๆ ไปและ
ได้พัฒนาเป็นอุปกรณ์ที่ใช้หลักการดังกล่าว การคัดแยกด้วยวิธีนี้เป็น
การทํางานที่มีกระบวนการไม่ซับซ้อนไม่มีปฏิกิริยาทางเคมีเข้ามา
เกี่ยวข้อง สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายต่ําและมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมไม่
มากนัก ดังนั้น ความเป็นไปได้ในการคัดแยกด้วยความหนาแน่นหรือ
ความถ่วงจําเพาะเป็นวิธีแรกที่จะพิจารณาในการวางแผนออกแบบ
กระบวนการคัดแยกวัสดุใดๆ เมื่อการคัดแยกด้วยวิธีนี้มีข้อจํากัดที่ไม่
สามารถแยกได้อย่างมีประสิทธิภาพแล้วจึงจะพิจารณาวิธีการคัด
แยกที่ ใ ช้ คุ ณ สมบั ติ อื่ น ๆ ได้ แ ก่ คุ ณ สมบั ติ ท างเคมี พื้ น ผิ ว เช่ น
การลอย และคุ ณ สมบั ติ ท างเคมี เช่ น การแยกสกั ด ทางเคมี

- 91 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
คุณสมบัติทางกายภาพอื่น เช่น คุณสมบัติทางแม่เหล็กและไฟฟ้า
ดังที่ได้กล่าวมาแล้วอาจจะนํามาใช้ก่อนหรือหลังการคัดแยกด้วย
ความหนาแน่นได้ตามความเหมาะสมตามคุณลักษณะของวัสดุป้อน
ในการคั ด แยกแร่ การคั ด แยกด้ ว ยความหนาแน่ น หรื อ ความ
ถ่วงจําเพาะเป็นกระบวนการที่สําคัญในการแยกแร่ดีบุกจากแหล่ง
ลานแร่ (placer deposit) แร่ชายหาด (beach sands) และแร่หนัก
ชนิ ด อื่ น ออกจากแร่ ที่ เ บากว่ า หรื อ มี ค วามถ่ ว งจํ า เพาะต่ํ า กว่ า
หน่วยการทํางานที่สําคัญ ได้แก่ การคัดแยกบนโต๊ะสั่น (shaking
table) การคั ด แยกในจิ๊ ก (jigging) การคั ด แยกในมั ช ฌิ ม หนั ก
(heavy media separation) การคัดแยกด้วยกระแสอากาศ (air
separation) และการคัดแยกด้วยวิธีอื่น เช่น การคัดแยกด้วยรางวน
(spiral concentration) ก า ร คั ด แ ย ก ด้ ว ย ก ร ะ แ ส ส ว น ท า ง
(elutriation) เป็นต้น
กระบวนการหลักๆ ที่ใช้ความแตกต่างของความหนาแน่น
หรือความถ่วงจําเพาะสามารถแบ่งออกเป็นประเภทหลักๆ ได้ดังนี้
• การคัดแยกโดยการเคลื่อนที่ของน้ํา เช่น
- โต๊ะสั่น (shaking tables)
- จิ๊ก (jigging)
- รางวน (spiral concentrator)
- อุปกรณ์กระแสสวนทาง (elutriator)
• การคัดแยกโดยการลอยและจม เช่น
- ของเหลวหนัก (heavy liquid)

- 92 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
- มั ช ฌิ ม หนั ก ประเภทตั ว กลางนิ่ ง และตั ว กลาง
เคลื่อนไหว
• การคั ด แยกโดยการเคลื่ อ นที่ ข องอากาศ (air
separation) เช่น
- อุปกรณ์คัดพวกด้วยอากาศ (air classifier)
ในช่วงแรกของการตกตัวที่เกิดความเร่งขึ้น วัสดุ 2 ชนิด
ที่มีความหนาแน่นหรือความถ่วงจําเพาะไม่เท่ากันจะแยกออกจาก
กันได้ไม่ว่าขนาดและรูปทรงจะแตกต่างกันอย่างไร ในการทํางานจริง
ยังมีปัจจัยอื่นอีกหลายปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตกตัว เช่น ความหนืด
(viscosity) ปริมาณอนุภาคที่มีอยู่ที่ทําให้เกิดการตกตัวในสภาพที่ไม่
อิสระ (hindered settling) และแรงต้านจนกว่าเม็ดอนุภาควัสดุจะ
มีความเร็วสุดท้าย (terminal velocity) การคัดแยกโดยอาศัย
คุณสมบัติด้านความหนาแน่นหรือความถ่วงจําเพาะ แบ่งออกเป็น
2 วิธีการใหญ่ๆ ตามชนิดของแรงที่มากระทําต่อวัสดุ ได้แก่
(1) วิธีที่ขึ้นกับความแตกต่างของการลอยตัวระหว่างเม็ด
อนุภาควัสดุ 2 ชนิด ที่มีความหนาแน่นแตกต่างกัน
เมื่อถูกวางในตัวกลางที่มีความหนาแน่นอยู่ระหว่าง
ความหนาแน่นของวัสดุทั้งสองชนิด
(2) วิธีที่ขึ้นกับแรงเฉื่อยหรือความเร่งของเม็ดอนุภาควัสดุ
2 ชนิดที่มีความหนาแน่นและขนาดแตกต่างกัน
ความเป็ น ไปได้ ใ นการคั ด แยกด้ ว ยวิ ธี นี้ จ ะขึ้ น กั บ ความ
แตกต่างของค่าความหนาแน่นหรือความถ่วงจําเพาะและขนาดของ

- 93 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
เม็ดของวัสดุ การเทียบอัตราส่วนอย่างง่ายอาจบอกความเป็นไปได้
ในการคัดแยกด้วยวิธีนี้เบื้องต้น ได้ดังนี้
อัตราส่วนความถ่วงจําเพาะ (Ratiogravity)= S .Gheaviest  1
S .Glightest  1

4. การแยกระหว่างสถานะของแข็งและของเหลว
(1) การรวมกลุ่มและการเกาะกลุ่ม (coagulation and
flocculation)
การรวมกลุ่มและการเกาะกลุ่มเป็นปรากฏการณ์ที่อนุภาค
แร่หรือวัสดุซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวกลาง เช่น น้ํา ได้รวมตัวเข้า
ด้วยกันเกาะเป็นกลุ่มมีขนาดอนุภาครวมใหญ่ขึ้นและสามารถตกจม
ตัวลงได้ในอัตราเร็วขึ้นโดยแรงโน้มถ่วง การรวมกลุ่มและเกาะกลุ่ม
เกิดขึ้นได้โดยปรากฏการณ์ 2 ลักษณะ คือ
 การรวมกลุ่ ม (coagulation) เป็ น การรวม
อนุภาคเป็นกลุ่มโดยการลดระดับแรงผลักของประจุไฟฟ้าบนระนาบ
ไฟฟ้าสองชั้น ทําให้อนุภาคเข้ามารวมตัวกันได้
 การเกาะกลุ่ม (flocculation) เป็นการยึดเกาะ
อนุ ภ าคเข้ า มาอยู่ ร่ ว มกั น โดยการยึ ด โยงระหว่ า งอนุ ภ าคโดย
สารประกอบอินทรีย์ที่มีน้ําหนักโมเลกุลมากซึ่งทําหน้าที่เชื่อมโยง
ระหว่ างอนุ ภ าคทํ าให้มี ลัก ษณะโครงสร้า งของกลุ่ ม อนุภ าคที่ ไ ม่ มี
ทิศทางแน่นอนและพรุน

- 94 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
(2) การตกตะกอน (thickening)
การตกตะกอน คือ การคัดแยกระหว่างของแข็งของเหลว
โดยลดปริมาณน้ําหรือของเหลวออกไปจากของผสมทําให้ปริมาณ
ของของแข็งเพิ่มมากขึ้นหรือข้นขึ้น โดยทั่วไปการตกตะกอนจะให้
ความข้นของส่วนที่ไหลลงด้านล่าง (underflow) มีปริมาณของแข็ง
ประมาณร้อยละ 40-60 กระบวนการตกตะกอนเป็นกระบวนการ
สําคัญในการแยกของแข็งของเหลวเพื่อคัดน้ําทิ้งหรือแยกสารละลาย
ออกจากกากแร่หรือวัสดุที่เหลือจากการทําละลายสําหรับการเก็บ
กลับคืนโลหะหรือสารประกอบมีค่าที่ต้องการ อุปกรณ์ที่ใช้สําหรับ
การตกตะกอนส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ถั ง หรื อ บ่ อ ที่ มี ป ริ ม าตรเพี ย งพอให้
อนุ ภาคของแข็งตกตะกอนที่มีขนาดที่ต้องการหรือได้น้ําที่ใ สโดย
สมบู ร ณ์ แ ละมี ก ลไกสํ า หรั บ การเก็ บ กวาดและแยกสารละลาย
นอกจากนี้ ถังตกตะกอนแบบกรวยลึกและถังตกตะกอนแบบแผ่น
เอียง สามารถให้อัตราการตกตะกอนที่รวดเร็วและลดพื้นที่ในการ
ติดตั้งได้มาก
(3) การกรองแยก (filtration)
การกรองแยกเป็นกระบวนการแยกของเหลวหรือน้ําออก
จากตะกอนวัสดุหรือแร่จากกระบวนการที่ใช้ของเหลวเป็นตัวกลาง
ของผสมจะผ่านตัวกรองที่มีความพรุนให้ของเหลวและน้ําไหลผ่านไป
ได้และกักเอาอนุภาคของแข็งเอาไว้ โดยทั่วไปจะใช้การกรองแยก
ภายหลั ง การตกตะกอนเพราะค่ า ใช้ จ่ า ยในการกรองจะขึ้ น กั บ
ปริมาตรของเหลวหรือน้ําที่มีอยู่ การกรองแยกอาจใช้ในการแยก

- 95 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
สารละลายที่ได้จากการทําละลายแร่หรือวัสดุเพื่อนําสารละลายที่
ได้มาเก็บกลับคืนโลหะหรือองค์ประกอบที่ต้องการด้วยวิธีการอื่นๆ
อีกครั้งหนึ่ง หรือเป็นการกรองแยกเอาของแข็งที่เป็นหัวแร่หรือวัสดุ
ที่มีความบริสุทธิ์สูงเพื่อนําไปใช้ประโยชน์เป็นวัตถุดิบในกระบวนการ
อื่นต่อไป
(4) การคัดแยกด้วยการลอย
กระบวนการลอยแร่และวัสดุเป็นกระบวนการที่ทําให้เม็ด
แร่และวัสดุเลือกเกาะตัวกับน้ําหรืออากาศซึ่งสามารถทําให้เกิดการ
แยกระหว่างเม็ดแร่และวัสดุสองชนิดที่มีคุณสมบัติในการเกาะตัวกับ
น้ําหรืออากาศต่างกันได้ กระบวนการลอยอาศัยคุณสมบัติทางเคมี
พื้นผิวของแร่และวัสดุ และการเคลื่อนที่ของอนุภาคในของเหลวเป็น
หลักในการทํางานและเป็นกระบวนการดั้งเดิมที่มีการพัฒนาและใช้
งานแพร่ ห ลายในการคัด แยกและปรั บ ปรุงคุ ณ ภาพแร่ โ ดยเฉพาะ
อย่างยิ่งกลุ่มแร่ซัลไฟด์และได้ประยุกต์ใช้ในการคัดแยกวัสดุประเภท
อื่น เช่น การลอยแยกพลาสติกต่างชนิด การลอยแยกหมึกพิมพ์ออก
จากเศษกระดาษเก่า รวมทั้งการแยกสิ่งเจือปนในน้ํา เช่น การใช้
กระบวนการลอยแบบอากาศอัดละลาย (Dissolved Air Flotation,
DAF) ในการลอยแยกตะกอนแขวนลอยและสารอินทรีย์ออกจากน้ํา
เพื่อปรับปรุงคุณภาพน้ําเพื่อการบริโภค น้ําใช้อุตสาหกรรม และน้ํา
เสียสุดท้ายบางประเภท ก่อนปล่อยทิ้งออกมาสู่สิ่งแวดล้อม

- 96 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
การวางแผน ออกแบบ การวางแผนและออกแบบโครงการ 1. มีความเข้าใจในวิธีการขั้นตอนในการวางแผน
และพัฒนาโครงการ การคั ด แยกเก็ บ กลั บ คื น ทรั พ ยากรและคั ด แยกปรั บ ปรุ ง ออกแบบพั ฒ นาโครงการคั ด แยกปรั บ ปรุ ง
คุณภาพแร่เป็นการทํางานที่ต้องมีการวางแผนออกแบบให้เหมาะสม คุณภาพแร่
สอดคล้องกับประเภทของแร่ที่ได้จากการทําเหมืองหรือเศษหางแร่ที่ 2. สามารถบริหารจัดการวางแผนออกแบบพัฒนา
นํามาคัดแยกใหม่หรือเศษซากวัสดุที่ป้อนเข้า กระบวนการที่ใช้ใน โครงการได้
การคัดแยกและปรับปรุงคุณภาพจะมีวิธีการและหน่วยการทํางานที่ 3. สามารถออกแบบกระบวนการคั ด แยกและ
ไม่เหมือนกัน การวางแผนออกแบบการทํางานต้องพิจารณาข้อมูล ปรับปรุงคุณภาพแร่
และศึกษาวิเคราะห์อย่างครบถ้วนในแต่ละด้านที่สําคัญที่ส่งผลต่อ 4. สามารถวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางการเงิน
ประสิทธิภาพการทํางานและทําให้มีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ 5. สามารถกํ า กั บ ดู แ ลและให้ ค วามเห็ น ใน
ได้แก่ การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม
1. ความเป็นไปได้ในการเก็บกลับคืน คัดแยกและ
ปรับปรุงคุณภาพทางวิศวกรรม
2. ความเป็นไปได้หรือข้อจํากัดด้านสิ่งแวดล้อม
3. ความเป็นไปได้ทางการเงิน
การวางแผนและออกแบบการทํ า งานโดยทั่ ว ไปของ
โครงการใดๆ ไม่ว่าจะเป็นการคัดแยกปรับปรุงคุณภาพแร่ การเก็บ
กลั บ คื น ทรั พ ยากรและนํ า กลั บ มาใช้ ใ หม่ ห รื อ โครงการผลิ ต
ประกอบด้วยขั้นตอนสําคัญดังนี้
1. การสํารวจศึกษาข้อมูลพื้นฐาน
 การสํ า รวจข้ อ มู ล ปริ ม าณและข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ
แหล่ ง ทรั พ ยากร เช่ น ปริ ม าณสํ า รองและความลึ ก ของแหล่ ง แร่
ลักษณะของแหล่งแร่ ปริมาณกากของเสียหรือซากอุปกรณ์และ

- 97 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
อัตราการเกิด การกระจายของซากอุปกรณ์ เป็นต้น
 การสํ า รวจข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ระบบสาธารณู ป โภค
แหล่งน้ําใช้ การระบายน้ําทิ้ง สภาพพื้นที่ตั้งโครงการ
 การสํารวจข้อมูลด้านราคาและการเปลี่ยนแปลง
ราคา ปริมาณความต้องการบริโภคและปริมาณการผลิตของแร่หรือ
วัสดุที่คัดแยกได้ในตลาด
2. การศึกษาทดลองในห้องปฏิบัติการ
 การเก็ บ ตั ว อย่ า งและวิ เ คราะห์ คุ ณ สมบั ติ ท าง
ฟิสิกส์และเคมีของแร่ หรือองค์ประกอบของกากของเสียหรือซาก
อุปกรณ์และคุณสมบัติขององค์ประกอบด้วยวิธีการที่เหมาะสม เช่น
ชนิดแร่หรือสารประกอบ ขนาดอนุภาคและการกระจายขนาด ค่า
ความร้ อ นขององค์ ป ระกอบที่ เ ผาไหม้ ไ ด้ ปริ ม าณโลหะเจื อ ปน
ปริมาณทองคําและรูปแบบของโลหะอื่นที่อยู่ร่วมในตะกรันทุติยภูมิ
จากกระบวนการทําทองคําให้บริสุทธิ์ เป็นต้น
 การทดลองวิธีการคัดแยกและปรับปรุ งคุ ณภาพ
ในห้องปฏิ บัติการเพื่อศึ กษาวิธีการที่ เ หมาะสมซึ่งเป็นขั้นตอนที่มี
ความจําเป็นอย่างมาก ตัวอย่างกากของเสีย เศษวัสดุหรือแร่จํานวน
มากพอซึ่งได้จากการชักตัวอย่างที่ถูกวิธีจากแหล่งกําเนิดจะนํามา
ทดลองในห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ หาวิ ธี ก ารที่ เ หมาะสมที่ จ ะให้
ประสิทธิภาพการเก็บได้ที่สูงและมีความบริสุทธิ์เพียงพอ การทดลอง
อาจจําเป็นต้องดําเนินการในรายละเอียดมากขึ้นเพื่อหาค่าตัวแปรใน
การทํางานที่เหมาะสมซึ่งรวมถึงการทดลองในระดับโรงประลอง

- 98 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
 ออกแบบแนวคิ ด แผนผั ง กระบวนการและ
ประมาณการมวลสมดุลเบื้องต้นสําหรับหน่วยการทํางานหลัก
3. การออกแบบแนวคิด
หลักการออกแบบแนวคิดที่ดีนั้นควรพิจารณา
ประเด็นสําคัญต่อไปนี้
(1) วิธีการคัดแยกและปรับปรุงคุณภาพควรประยุกต์
วิธีการที่ใช้เทคโนโลยีที่มีใช้งานจริงในทางปฏิบัติเป็นทางเลือกแรก
และไม่ซับซ้อนเกินความจําเป็น
(2) ความบริสุทธิ์หรือความสะอาดของผลผลิตทีไ่ ด้
จากกระบวนการสูงพอที่จะขายได้หรือใช้ในกระบวนการต่อเนื่องได้
(3) ความง่ า ยในการควบคุ ม การทํ า งานของ
กระบวนการ
(4) ประสิทธิภาพในการคัดแยกพิจารณาจากปริมาณ
การเก็ บ ได้ ห รื อ ความสมบู ร ณ์ข องการคัด แยกและ
เกรดของแร่หรือความสะอาดหรือความบริสุทธิ์ของวัสดุที่ต้องการ
(5) ความปลอดภั ย ในการทํ า งานของผู้ ป ฏิ บั ติ ง าน
และไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
(6) ผลตอบแทนการลงทุนที่เหมาะสมเป็นไปได้ใ น
เชิงพาณิชย์
การออกแบบแนวคิดของกระบวนการเป็นกิจกรรมแรกที่
ต้องดําเนินการซึ่งสามารถพัฒนาจากแผนผังกระบวนการขั้นต้นที่ได้
จากข้ อ มู ล การศึ ก ษาทดลองในห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารและควรพิ จ ารณา

- 99 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
ทางเลือกกระบวนการทางอื่นด้วยเพื่อเปรียบเทียบข้อดีข้อเสีย เช่น
ใช้กระบวนการ 1 ระบบสําหรับอัตราการป้อนที่เต็มกําลังการผลิตที่
ต้องการ หรือแบ่งเป็น 2 ระบบสําหรับอัตราการป้อน 50% ของ
กําลังการผลิตต่อระบบ หรือกระบวนการที่ใช้วิธีการคัดแยกและ
ปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพแตกต่ า งกั น เป็ น ต้ น การออกแบบแผนผั ง
กระบวนการในขั้ น ตอนนี้ ต้ อ งกํ า หนดเกณฑ์ ที่ จ ะใช้ เ ป็ น พื้ น ฐาน
สําหรับการคํานวณมวลสมดุลและค่าใช้จ่ายทํางานด้วย
4. การศึกษาผลกระทบและข้อจํากัดด้านสิ่งแวดล้อม
และแนวทางลดผลกระทบ
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอันเนื่องมาจากการทํางานของ
กระบวนการและการปลดปล่อยของเสียที่มีต่อทรัพยากรสิ่งแวดล้อม
อื่นที่เกี่ยวข้องต้องมีการประเมินและกําหนดมาตรการลดผลกระทบ
และป้ อ งกั น การปลดปล่ อ ยของเสี ย จากกระบวนการดั ง กล่ า ว
มาตรการเหล่านี้อาจเป็นมาตรการทางการจัดการซึ่งไม่สิ้นเปลือง
ค่าใช้จ่าย และมาตรการทางเทคนิ คที่อาจต้องมีระบบบําบัดหรือ
สิ่ ง ก่ อ สร้ า งเก็ บ กั ก ป้ อ งกั น การแพร่ ก ระจายมลพิ ษ การศึ ก ษา
ผลกระทบจะทํ า ให้ ท ราบถึ ง ข้ อ จํ า กั ด ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มที่ ต้ อ งใช้
ค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมในการป้องกันตามมาตรการมีผลกระทบต่อความ
เป็ น ไปได้ ท างการเงิ น ของโครงการมาก นอกจากผลกระทบ
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพและระบบนิเวศน์แล้วผลกระทบทางด้าน
สังคมและความปลอดภัยในการทํางานยั งเป็นหั วข้อสําคัญ ที่ต้อง
นํามาศึกษาเพื่อกําหนดวิธีการและมาตรการป้องกันให้ครอบคลุม

- 100 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
5. การศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงิน
การศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ ท างการเงิ น จะครอบคลุ ม
ประเด็นด้านต่างๆที่เกี่ยวข้องที่ต้องพิจารณาตั้งแต่แผนการลงทุน
แหล่งของเงินลงทุน สัดส่วนหนี้สินต่อทุน อัตราดอกเบี้ยและตลาด
ในขั้นตอนนี้กระบวนการคัดแยกและปรับปรุงคุณภาพและมาตรการ
ลดและป้องกัน ผลกระทบต้ องมีรายละเอียดและมีความชัดเจนที่
เพียงพอที่จะประมาณการค่าใช้จ่ายลงทุนและทํางานเบื้องต้นได้
อัตราการทํางานสามารถกําหนดได้จากข้อมูลจากการศึกษาความ
ต้องการและส่วนแบ่งด้านตลาด ปริมาณสํารองของแหล่งทรัพยากร
หรือปริมาณการเกิดซากและกากของเสียที่สนใจ จะทําให้สามารถ
ประมาณการอัตราการผลิตและอายุโครงการได้ การประมาณราคา
เบื้องต้นจะได้จากขนาดของเครื่องจักรอุปกรณ์ที่กําหนดจากมวล
สมดุลขั้นต้นและประมาณการค่าก่อสร้างติดตั้งและค่าใช้จ่ายด้าน
วิศวกรรมตามสัดส่วนที่เหมาะสม
6. การออกแบบเบื้องต้น
การออกแบบเบื้องต้นจะเริ่มดําเนินการเมื่อผลการศึกษา
ความเป็ น ไปได้ ท างการเงิ น ชี้ใ ห้ เห็ นว่ า โครงการมีค วามคุ้ ม ค่ า เชิ ง
พาณิชย์และมีการตัดสินใจดําเนินโครงการ ในการออกแบบเบื้องต้น
จะเพิ่ ม เติ ม รายละเอี ย ดจากแบบแนวคิ ด โดยพั ฒ นาแผนผั ง
กระบวนการและมวลสมดุลที่มีรายละเอียดมากขึ้นและมีเครื่องจักร
อุปกรณ์ที่จําเป็นโดยครบถ้วน ในขั้นตอนนี้ ขนาดของเครื่องสูบและ
ท่อรวมทั้งระบบขนถ่ายวัสดุและเครื่องจักรอุปกรณ์ทุกประเภทใน

- 101 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
กระบวนการจะคํ า นวณกํ า หนดขนาดจากมวลสมดุ ล ดั ง กล่ า ว
ทางเลือกของกระบวนการและการเลือกใช้ระบบและอุปกรณ์ต่างๆ
ต้องมีข้อสรุปและได้ทางเลือกที่เป็นไปได้มากที่สุด การวางผังโรงงาน
ข้อกําหนดของเครื่องจักรอุปกรณ์หลัก รูปแบบของโครงสร้างรองรับ
และระบบสาธารณูปโภคจึงต้องออกแบบให้สอดคล้องกับทางเลือก
ดังกล่าว การออกแบบในขั้นตอนนี้ต้องมีรายละเอียดเพียงพอและมี
ข้ อ กํ า หนดเครื่ อ งจั ก รอุ ป กรณ์ ที่ ส ามารถจั ด หาและสอบราคาใน
ท้ องตลาดได้ ประมาณการค่าใช้จ่ายลงทุน จะทําการปรับ ปรุงให้
แม่นยํามากขึ้นโดยใช้ราคาของเครื่องจักรอุปกรณ์ส่วนใหญ่จากการ
เสนอราคาของผู้ผลิตและการถอดแบบโครงสร้าง ค่าติดตั้งอาจได้
จากการเสนอราคาเบื้องต้นของผู้รับเหมาหรือการลงรายละเอียด
ของการติ ดตั้ งในแต่ ล ะจุ ด ความแม่น ยํา ในการประมาณราคาใน
ขั้นตอนนี้ไม่ควรคลาดเคลื่อนมากนัก
7. การออกแบบรายละเอียดสุดท้าย
การออกแบบรายละเอียดสุดท้ายเป็นขั้นตอนที่ต้องจัดทํา
รายละเอี ย ดต่ า งๆ โดยครบถ้ ว นและจะดํ า เนิ น การหลั ง จากแบบ
เบื้ อ งต้ น ได้ รั บ การเห็ น ชอบหรื อ มี ข้ อ ยุ ติ แ ล้ ว การออกแบบ
รายละเอียดรวมถึงการออกแบบแผนผังในโรงงานและนอกโรงงาน
แบบรายละเอียดขั้นสุดท้ายและข้อกําหนดทางเทคนิคของเครื่องจักร
อุปกรณ์ทุกชนิดและข้อกําหนดมาตรฐานในการก่อสร้างและติดตั้ง
แบบในขั้นตอนนี้จะมีรายละเอียดเพียงพอในการก่อสร้างและติดตั้ง
โดยผู้รับเหมา การประมาณราคาโดยละเอียดจะทําซ้ําอีกครั้งตาม

- 102 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
บัญชีรายการเครื่องจักรอุปกรณ์ วัสดุสิ้นเปลืองและค่าจ้างแรงงานที่
ถอดจากแบบ

การหาต้นทุนการผลิต การประมาณราคาค่าใช้จ่ายลงทุนและค่าใช้จา่ ยในการทํางาน 1. เข้าใจโครงสร้างของค่าใช้จ่ายในการผลิตหรือ


ค่าใช้จ่ายลงทุนและค่าใช้จ่ายในการทํางานเป็นข้อมูลสําคัญเบื้องต้น การคัดแยกปรับปรุงคุณภาพแร่
สําหรับการประเมินวิเคราะห์ทางการเงิน 2. สามารถประมาณการค่ า ใช้ จ่ า ยลงทุ น และ
ค่าใช้จ่ายทํางานได้
ค่าใช้จ่ายลงทุน (capital costs) 3. สามารถประมาณการต้ น ทุ น ในการผลิ ต หรื อ
การประมาณการค่าใช้จ่ายลงทุนในเบื้องตันอาจมีความไม่ ปรับปรุงคุณภาพแร่ได้
แน่ น อนสู ง เนื่ อ งจากความแตกต่ า งของพื้ น ที่ ตั้ ง การออกแบบ
มาตรฐานการทํางานและก่อสร้างและวิธีการประมาณการ วิธีการที่
ปฏิ บั ติ โ ดยทั่ ว ไปควรประมาณจากราคาเครื่ อ งจั ก รอุ ป กรณ์ ห ลั ก
โครงสร้ า ง และค่ า ใช้ จ่ า ยของระบบสาธารณู ป โภคและไฟฟ้ า
เครื่องกลที่คิดจากสัดส่วนของค่าลงทุนเครื่องจักรอุปกรณ์ เป็นต้น
ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนครั้งแรก เช่น ค่าที่ปรึกษา
ออกแบบกระบวนการและโรงงาน ค่าควบคุมงานก่อสร้าง ค่าศึกษา
ความเหมาะสมและผลกระทบสิ่งแวดล้อม รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการ
เริ่มเดินระบบและเงินทุนหมุนเวียน ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของค่าใช้จ่าย
ลงทุน

- 103 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
ข้อพิจารณาในการประมาณการค่าใช้จ่ายลงทุนเบื้องต้นให้
มีความแม่นยํามากขึ้น ได้แก่
(1) แผนผั ง กระบวนการที่ ใ ช้ เ ป็ น พื้ น ฐานในการ
ประมาณการควรมีรายละเอียดมากเพียงพอเพื่อ
กําหนดคุณสมบัติเบื้องต้นและประมาณการราคา
เครื่ อ งจั ก รอุ ป กรณ์ ห ลั ก แต่ ล ะชนิ ด หรื อ ขั้ น ตอน
กระบวนการหลักๆ แต่ละกระบวนการได้ถูกต้อง
(2) แนวคิดและเกณฑ์ในการออกแบบและมาตรฐาน
การทํ า งานควรกํ า หนดไว้ ใ ห้ ชั ด เจนและจํ า แนก
รายละเอี ย ดของรายการที่ เ ป็ น ค่ า ใช้ จ่ า ยให้ ม าก
ที่สุด
(3) การประมาณการควรนําเสนอเป็นทางเลือกต่างๆ
ที่เหมาะสมตามแผนการทํางานของโรงงานนั้นๆ
เช่ น ตามกํ า ลั ง การผลิ ต หรื อ ตามทางเลื อ ก
กระบวนการหรือเครื่องจักรหลัก เป็นต้น
(4) ค่าใช้จ่ายที่แปรผันตามพื้นที่ตั้งของโรงงานต้องระบุ
เอาไว้ ด้ ว ยเพื่ อ สามารถปรั บ ราคาได้ ถ้ า มี ก าร
เปลี่ยนแปลงพื้นที่ในภายหลังเนื่องจากราคาวัสดุ
และแรงงานไม่เท่ากันในแต่ละพื้นที่
(5) ราคาต่ อ หน่ ว ยของวั ส ดุ ก่ อ สร้ า งโดยทั่ ว ไปควร
อ้างอิงจากราคาที่มีการรวบรวมและพิมพ์เผยแพร่
โดยหน่ ว ยงาน เช่ น กระทรวงพาณิ ช ย์ และ

- 104 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
สมาคมวิชาชีพต่างๆ เป็นต้น
(6) ราคาเครื่ อ งจั ก รอุ ป กรณ์ อ าจได้ จ ากข้ อ มู ล ของ
ผู้ผลิตหรืออ้างอิงจากข้อมูลของโครงการอื่นที่เคยมี
การประมาณการไว้แล้ว
การประมาณการค่าใช้จ่ายลงทุนเบื้องต้นอาจใช้สัดส่วน
จากราคาเครื่องจักรอุปกรณ์เพื่อประมาณการค่าใช้จ่ายส่วนอื่นๆ
ค่าใช้จ่ายทํางาน (operating costs)
ค่าใช้จ่ายทํางานของโรงงานโดยทั่วไปมักจะประมาณการ
เป็ น ค่ า ใช้ จ่ า ยต่ อ ปี แ ละค่ า ใช้ จ่ า ยต่ อ หน่ ว ยผลผลิ ต หรื อ วั ส ดุ ป้ อ น
ค่ า ใช้ จ่ า ยทํ า งานที่ ป ระมาณการจะต้ อ งปรั บ จากราคาปั จ จุ บั น ที่
ประเมินให้เป็นราคาที่เวลาเริ่มเดินระบบของโรงงานและคงทีตลอด
ช่วงเวลาที่เหลือของอายุโครงการเนื่องจากอัตราเพิ่มของมูลค่าเงินใน
ด้านรายจ่ายในการทํางานและรายได้ถือว่าเท่าๆกันและหักล้างกัน
การประมาณค่าใช้จ่ายในการทํางานเบื้องต้นสามารถพิจารณาจาก
รายการค่าใช้จ่ายแปรผันที่รู้ราคาได้และประมาณค่าใช้จ่ายรายการ
อื่นที่ไม่รู้ราคาเป็นสัดส่วนตามความเหมาะสม ค่าใช้จ่ายทํางานแบ่ง
ออกได้เป็น
(1) ค่าใช้จ่ายตรง (direct costs) ได้แก่
 ค่าวัตถุดิบ และค่าน้ําใช้
 ค่าพลังงาน (ไฟฟ้า เชื้อเพลิง)
 ค่าจ้างแรงงาน
 ค่าบํารุงรักษา

- 105 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
 ค่าวัสดุสิ้นเปลือง สารเคมี
 ค่าเผื่อขาด
เป็นต้น
(2) ค่าใช้จ่ายอืน่ ๆ โดยอ้อม (indirect costs) ได้แก่
 ค่าเงินเดือนและค่าจ้างในส่วนอื่น เช่น ฝ่าย
บริหาร ฝ่ายสนับสนุนด้านเทคนิค ห้อง
วิเคราะห์และฝ่ายบุคลากร เป็นต้น
 ค่าใช้จ่ายสํานักงาน
 ค่าติดต่อสื่อสารและยานพาหนะ
 ค่าภาษีและค่าประกันภัย
 ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการ
 ค่าวิจัยและพัฒนา
 ค่าใช้จ่ายโฆษณาประชาสัมพันธ์
 ค่าการตลาดและค่าจัดการของเสียเหลือทิ้ง
เป็นต้น
ค่าใช้จ่ายทํางานจะประมาณการจากจํานวนวันทํางานใน
1 ปีตามที่ได้กําหนดในเกณฑ์การออกแบบค่าใช้จ่ายทํางานจะแสดง
เป็ น ค่ า ใช้ จ่ า ยต่ อ ปี แ ละค่ า ใช้ จ่ า ยต่ อ หน่ ว ยผลผลิ ต ซึ่ ง เมื่ อ รวม
ค่า ใช้ จ่ า ยลงทุ น ต่ อปี จ ะได้ เป็ น ค่า ใช้จ่ า ยต้ น ทุน การผลิต ต่ อ หน่ ว ย
ผลผลิตที่ได้

- 106 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
6. การจัดการ 6.1 กฎหมาย กฎระเบียบ และมาตรฐานทีเ่ กี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม 6.1.1 มีความรู้ในเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการ
สิ่งแวดล้อม สังคม และ (Law and Rule) ทําเหมือง ได้แก่ พรบ.แร่ กฎหมายควบคุม
คุณภาพชีวิตของเหมือง ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบของทางราชการที่เกี่ยวข้องกับ มลพิษ กฎหมายสิ่งแวดล้อม กฎหมายป่าไม้
และโรงปรับปรุง การสํ า รวจแร่ ทํ า เหมือ งแร่ การแต่ ง แร่ สิ่งแวดล้ อ ม ป่ าไม้ ที่ดิ น ตลอดจนเงื่อนไขแนบท้ายใบอนุญาต
คุณภาพแร่ (Mine การใช้น้ํา ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมเหมืองแร่ 6.1.2 รู้ขั้นตอนการขออาชญาบัตร และประทาน
Environment and บัตร
Quality of Life)
6.2 การจัดการชุมชนสัมพันธ์ วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม 6.2.1 ควรมีความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม ความเชื่อ
(Community Management) ของชุ ม ชนรอบเหมื อ ง ตลอดจนเงื่ อ นไข
ความรู้ที่เกี่ยวกับสังคม วัฒนธรรมท้องถิ่น จิตวิทยาสังคม วิถีชีวิต ชุ ม ชนในการผ่ า นประชาคมก่ อ นได้ รั บ
การพั ฒ นาชุ ม ชน การเกษตรพื้ น ฐาน ความพึ ง พอใจของชุ ม ชน ใบอนุญาต
ชุ ม ชนสั ม พั น ธ์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การทํ า เหมื อ งและขั้ น ตอนการทํ า 6.2.2 มีความรู้เชิงเศรษฐกิจและสุขภาพชุมชน
ประชาคม ประชาพิจารณ์ ตลอดจนอาชีพ และวิธีชีวิต
6.2.3 มีความรู้ในการทําเหมืองที่จะไม่กระทบวิถี
ชีวิตชุมชน และยังเพิ่มโอกาสพัฒนาชุมชนใน
เรื่องรายได้ จ้างงาน หรือทําให้การทําเหมือง
ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ชุ ม ช น ไ ด้ แ ก่ นํ า น้ํ า บ่ อ
ตกตะกอนเหมืองมาใช้ในการเกษตร
6.2.4 สามารถสร้างเวทีความร่วมมือ ระหว่าง
เหมือง ชุมชน และราชการ ให้อยู่ในทิศทาง
เดียวกัน

- 107 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
6.3 มลพิษและผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากการทําเหมือง (Mine 6.3.1 ต้องรู้กระบวนการทําเหมืองอย่างดีพอ ที่จะ
Environment Impacts) นิยามผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ เกิ ดขึ้น ด้าน
ความรู้ ที่ เ กี่ ย วกั บ กระบวนการทํ า เหมื อ ง เชื่ อ มโยงมาที่ ก าร เสียงดัง ฝุ่น น้ําขุ่นข้น การซะล้างพังทลาย
ประเมิ น ผลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ มในด้ า นกายภาพ ชี ว ภาพ การใช้ ของดิน การตัดต้นไม้ก่อนการทําเหมือง
ประโยชน์ของมนุษย์ และคุณค่าคุณภาพชีวิต มาจนถึงความรู้ในการ 6.3.2 ต้องประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางอ้อม
ลดผลกระทบ ที่เข้ามาตรฐานสิ่งแวดล้อม ที่ไม่ เกิดจากการทําเหมืองโดยตรง ในด้าน
วิถีชีวิตชุมชน ป่าไม้ลดลง ทางน้ําเปลี่ยนทิศ
สัตว์ป่าอพยพหนี น้ําบาดาลลดลง น้ํามีโลหะ
หนักตามธรรมชาติละลายเพิ่ม
6.3.3 มีความรู้ในการพัฒนาปรับปรุงลดผลกระทบ
สิ่ ง แวดล้ อ ม โดยใช้ เ ทคโนโลยี ให้ ไ ด้
มาตรฐานสิ่งแวดล้อมที่กําหนด และยกระดับ
คุณภาพชีวิตชุมชน

6.4 มลพิษและผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากการปรับปรุงคุณภาพแร่ 6.4.1 ต้องรู้กระบวนการปรับปรุงคุณภาพแร่อย่าง


(Mineral Upgrading Environment Impacts) ดี พ อ ที่ จ ะนิ ย ามผลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ มที่
ความรู้ที่เกี่ยวกับกระบวนการปรับปรุงคุณภาพแร่ เชื่อมโยงมาที่การ เกิดขึ้น ด้านเสียงดัง ฝุ่น น้ําขุ่นข้น สารเคมี
ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในด้านกายภาพ ชีวภาพ การใช้ แต่งแร่แยกแร่
ประโยชน์ของมนุษย์ และคุณค่าคุณภาพชีวิต มาจนถึงความรู้ในการ 6.4.2 รู้วิธีการบําบัดจัดการมลพิษและผลกระทบ
ลดผลกระทบ ที่เข้ามาตรฐานสิ่งแวดล้อม ให้ได้มาตรฐานสิ่งแวดล้อมที่กําหนด

- 108 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
6.5 มาตรการและเทคโนโลยีการป้องกันและลดผลกระทบ 6.5.1 รู้ แ นวคิ ด เทคโนโลยี ก ารลดผลกระทบ
สิ่งแวดล้อม (Environment Improving Technology) สิ่งแวดล้อมว่าทําที่ แหล่งกําเนิด ที่ตัวกลาง
ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมที่ใช้ในการทํา และที่ตัวคน
เหมืองและการปรับปรุงคุณภาพแร่ ทั้งเครื่องมือเครื่องจักร และวิธี 6.5.2 รู้ จั ก เทคโนโลยี ส ะอาด ที่ แ ก้ ปั ญ หาเรื่ อ ง
บริหารจัดการ มลภาวะ อย่ า งประหยั ด ทรั พ ยากรและ
พลังงาน
6.5.3 รู้ จั ก เ ท ค นิ ค ก า ร ป้ อ ง กั น ผ ล ก ร ะ ท บ
สิ่งแวดล้อมเบื้องต้น ได้แก่ การใช้สเปรย์ฝอย
น้ํา ถุงกรองฝุ่น อาคารปิด อุปกรณ์เก็บเสียง
กํ า แพงกั้ น เสี ย งบ่ อ ดั ก ตะกอน การบํ า บั ด
โลหะหนักด้วยสารด่าง เทคนิคการระเบิดที่
ลดเสียงดัง หินปลิวและสั่นสะเทือน

6.6 ความรับผิดชอบต่อสังคมและคุณภาพชีวิต (Social 6.6.1 มี ค วามเข้ า ใจระบบ CSR ที่ ท างราชการ


Responsibility) ส่งเสริม
ความรู้ที่เกี่ยวกับระบบ CSR ที่เป็นระบบ ISO หรือ ที่ทางราชการ 6.6.2 ต้องทราบว่า ทางเหมืองมีนโยบายหรือ
กําหนด ปรัชญาดําเนินธุรกิจด้าน CSR อย่างไร
6.6.3 ต้องเข้าใจว่า ความรับผิดชอบนั้น จะต้องทํา
ตั้งแต่ต้นน้ําจนถึงปลายน้ํา และบางครั้งแม้น
ทางเหมืองไม่เกี่ยวข้องในการสร้างปัญหานั้น
ก็ควรเข้าไปร่วมรับผิดชอบด้วยในบางกรณี

- 109 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
6.7 การจั ด ทํ า รายงานวิ เ คราะห์ ผ ลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ มและ 6.7.1 ต้องเข้าใจขอบเขตของรายงานวิเคราะห์ มี
การติดตามผล (Environment Monitoring) ด้านไหนบ้าง
ความรู้ที่เกี่ยวกับการจําแนกแจกแจงเงื่อนไขสิ่งแวดล้อมที่ EIA หรือ 6.7.2 ควรรู้วิธีการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น กํ า หนด การวางแผนการตรวจวั ด ค่ า ที่ กํ า หนด ว่ามีนัยสําคัญที่ต้องการการแก้ไขปรับปรุงนั้น
ตลอดจนประเมินผลว่า สิ่งใดผ่านหรือไม่ผ่าน ตามเกณฑ์ใด และจะ พิจารณาจากอะไร
พั ฒ นาปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขสิ่ ง ใดต่ อ ไป จึ ง จะสามารถผ่ า นเกณฑ์ ไ ด้ ทุ ก 6.7.3 มีความเข้าใจวิธีการลดความรุนแรงของ
รายการ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมให้ลดมาอยู่ในระดับที่
ยอมรับได้ ที่สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่มีอยู่
และปฏิ บั ติ ไ ด้ อ ย่ า งประหยั ด และไม่ ฝื น ทํ า
บางครั้งอาจต้องทําการวิจัยช่วยหาคําตอบใน
การแก้ปัญหา
6.7.4 รู้วิธีการยกระดับ ลดผลกระทบจนต่ําสุด
และก้ า วไปสู่ ก ลั บ ภาพเชิ ง ลบเป็ น เชิ ง บวก
เช่น บ่อเหมืองไม่สวยก็แต่งให้สวยและเป็น
แหล่ ง น้ํ า แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วพั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจ
เพาะพันธุ์ปลาเสริมรายได้ชุมชน

- 110 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
7. การวางแผนและ 7.1 การศึกษาความเหมาะสม และความเป็นไปได้ของโครงการ 7.1.1. เข้า ใจสถานะของโครงการซึ่ งสั ม พัน ธ์กั บ
บริหารโครงการ การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการเหมืองแร่คือการศึกษา ระดั บ ความถู ก ต้ อ งของข้ อ มู ล ที่ ใ ช้ ใ น
เพื่อประเมินว่าการทําเหมืองในแหล่งแร่ที่อยู่ในความสนใจนั้นจะ การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ
สามารถดําเนินการทําเหมืองได้หรือไม่อย่างไรและมีความน่าสนใจ 7.1.2 สามารถทํ า การวิ เ คราะห์ ค่ า ใช้ จ่ า ย (cost
ในการลงทุนหรือไม่ การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการเหมืองแร่ analysis) ก า ร ทํ า น า ย ร า ค า (price
ส า ม า ร ถ แ บ่ ง ไ ด้ เ ป็ น 3 แ บ บ คื อ 1 . Conceptual Study forecasting) และประเมินความต้องการ
2. Preliminary Feasibility และ 3. Detailed Feasibility ของตลาด (market demand)
1 . Conceptual Study เ ป็ น ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ร ะ ดั บ แ ร ก 7.1.3 สามารถประเมิน Cash Flow NPV IRR PP
โดยศึ ก ษาภาพรวมแนวคิ ด ในการลงทุ น ในแหล่ ง แร่ หรื อ B/C Ratio และเข้าใจหลักการในการใช้
ในโครงการที่ อ ยู่ ใ นความสนใจ เป็ น การศึ ก ษาเพื่ อ ดู ว่ า มี โ อกาส เกณฑ์ เ หล่ า นี้ ใ นการตั ด สิ น ใจการบริ ห าร
ในการลงทุ น หรื อ ดํ า เนิ น โครงการหรื อ ไม่ ข้ อ มู ลที่ ใ ช้ ใ น โครงการได้
การประเมิน เช่น เงินลงทุน ค่าใช้จ่ายในการทําเหมือง ค่าใช้จ่ายใน
การดํ า เนิ น โครงการ ลั ก ษณะแหล่ ง แร่ เป็ น ต้ น จะเป็ น ข้ อ มู ล
ที่ ไ ด้ จ ากการเปรี ย บเที ย บกั บ แหล่ ง แร่ ห รื อ โครงการอื่ น ที่ มี
ความคล้ายคลึงกัน เช่น มีความคล้ายคลึงกันของแหล่งแร่ วิธีการทํา
เหมือง การขนส่งแร่ เป็นต้น ความคลาดเคลื่อนของข้อมูลประมาณ
ไม่เกิน ±40-50% ผลของ Conceptual Study จะบอกว่าควรมี
การดําเนินการในขั้นตอนต่อไปหรือไม่ เช่น ควรดําเนินการเจาะ
สํารวจแหล่งแร่ให้ได้ข้อมูลของแหล่งแร่หรือไม่ เป็นต้น
2. Preliminary Study หรือ Pre-feasibility Study เป็น
การศึกษาเพื่อตัดสินใจว่าจะทําการศึกษา Detailed Feasibility ต่อ
หรือไม่ การศึกษาในขั้นนี้เพื่อดูว่าแนวคิดการลงทุนในแหล่งแร่หรือ

- 111 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
การดําเนินโครงการเป็นไปได้หรือไม่ มีตัวแปรอะไรหรือปัจจัยด้าน
ไหนที่ควรได้รับการศึกษาเพิ่มเติมในรายละเอียด ข้อมูลที่ใช้ในระดับ
นี้ควรมีความคลาดเคลื่อนประมาณไม่เกิน ±25-30%
3. Detailed Feasibility Study เ ป็ น ก า ร ศึ ก ษ า ใ น
รายละเอียดที่ครอบคลุมรอบด้านทั้งด้านเทคนิควิศวกรรม การค้า
การเงิน สิ่งแวดล้อม กฎหมาย ผลของการศึกษาจะใช้การตัดสินใจ
ในการลงทุ น ในแหล่ ง แร่ ห รื อ การตั ด สิ น ใจว่ า จะดํ า เนิ น โครงการ
หรือไม่ เช่น การศึกษา detailed feasibility ของโครงการลงทุน
เหมืองแร่ควรพิจารณา แหล่งแร่ วิธีการทําเหมือง วิธีการแต่งแร่
กําลังการผลิต เทคโนโลยีการผลิต การลงทุน ค่าใช้จ่ายในการทํา
เหมื อ งและแต่ ง แร่ รายรั บ ผลตอบแทนการลงทุ น กฎหมาย
ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม เป็นต้น ข้อมูลที่ใช้
ในระดับนี้ควรมีความคลาดเคลื่อนประมาณไม่เกิน ±10%
การประเมินทางการเงิน financial evaluation เป็นส่วน
หนึ่งของการศึกษา feasibility และเป็นส่วนที่มีความสําคัญอย่าง
มากในการจะบอกว่ า แหล่ ง แร่ มี ค วามน่ า สนใจทางการเงิ น ใน
การลงทุนหรือไม่ หรือโครงการควรได้รับการดําเนินการต่อหรือไม่
อย่างไร การวิเคราะห์ทางการเงินของเป็นการวิเคราะห์ เงินลงทุน
ค่าใช้จ่าย ผลตอบแทน และกําไร เพื่อประเมินกระแสเงินสดของ
โครงการ (cash flow) และเกณฑ์ทางการเงินของโครงการเช่น
มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (net present value (NPV)) อัตราผลตอบแทน
ภายใน (Internal Rate of Return (IRR)) ระยะเวลาคื น ทุ น

- 112 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
(payback period) อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน (benefit-
cost ratio) เป็นต้น นอกจากนี้การวิเคราะห์ทางการเงินยังรวมไป
ถึงการวิเคราะห์ความไหวตัวของโครงการ (sensitivity analysis)
การคํานวณเกณฑ์ทางการเงินเพื่อศึกษาว่ามีปัจจัยอะไรที่จะมีผลต่อ
ความน่าสนใจในการลงทุนของโครงการ
1. การประเมินกระแสเงินสดของโครงการ (cash flow)
เป็นการประเมินรายรับ รายจ่าย ผลตอบแทน เพื่อหา
กระแสเงินสดสุทธิ (net cash flow) ของโครงการ ซึ่ง
จะช่วยให้ทราบถึงแนวทางการบริหารกระแสเงินของ
โครงการในแต่ละช่วงเวลา และใช้สําหรับการวิเคราะห์
อื่นๆ ต่อไป
2. มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (net present value (NPV)) คือ
ผลรวมของมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดสุทธิที่ลดค่า
จากอัตราส่วนคิดลด (discount rate) หรืออัตรา
ดอกเบี้ยในแต่ละช่วงเวลาหรือปีตลอดอายุเหมืองหรือ
อายุโครงการที่อยู่ในความสนใจ
3. อัตราผลตอบแทนภายใน (internal rate of return
(IRR)) คือ อั ต ราผลตอบแทนที่ทําให้มูล ค่ าปั จจุ บัน ของ
ผลตอบแทนเท่ากับมูลค่าปัจจุบันของต้นทุน
4. ระยะเวลาคืนทุน (payback period) คือช่วงระยะเวลา
หรือจํานวนปีที่ผลรวมของมูลค่าปัจจุบันสุทธิมีค่าเท่ากับ
เงินลงทุน

- 113 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
5. อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน (benefit-cost ratio)
คื อ อั ต ราส่ว นเปรีย บเที ย บระหว่ า งมู ล ค่ าปั จจุ บัน ของ
ผลตอบแทนเทียบกับค่าใช้จ่ายในการลงทุนของโครงการ
6. การวิ เ คราะห์ ค วามไหวตั ว ของโครงการ (sensitivity
analysis) เพื่อศึกษาว่ามีปัจจัยอะไรที่จะมีผลต่อความ
น่าสนใจในการลงทุนของโครงการ

7.2 เทคนิคการวิเคราะห์และบริหารโครงการ 7.2.1 สามารถวิ เ คราะห์ แ ละบริ ห ารโครงการ


เทคนิ ค การวิ เ คราะห์ แ ละบริ ห ารโครงการเกี่ ย วข้ อ งกั บ เกี่ยวข้องกับออกแบบและวางแผนระบบงาน
ออกแบบและวางแผนระบบงานโดยใช้หลักการทางวิศวกรรมและ โดยใช้หลักการทางวิศวกรรมและเทคโนโลยี
เทคโนโลยี สําหรับงานวิศวกรรมเหมืองแร่การวิเคราะห์ระบบงาน 7.2.2 เข้าใจและสามารถใช้เทคนิคทาง
เหมืองแร่ (mine system analysis) เป็นการวิเคราะห์ระบบงาน Operations Research อาทิ Network
โดยการประยุกต์ใ ช้แ บบจําลองต่างๆ เพื่ อ ใช้ช่วยในการตั ดสิ นใจ Flow, Linear Programming, Integer
การดําเนินงานทางโครงการเหมืองแร่ต่างๆ เช่น การจัดลําดับการ Programming, Simulation เป็นต้น เป็น
ทํางานของโครงการ การออกแบบบ่อเหมืองสุดท้าย การจัดลําดับ เครื่องมือช่วยในการทํางานและการบริหาร
การผลิต การเลือกเส้นทางขนส่ง การจัดการรถบรรทุกและรถขุดตัก โครงการเหมืองแร่
การผสมแร่ การเลือก cut off grade เป็นต้น แบบจําลองทาง
คณิตศาสตร์ในการวิจัยดําเนินงาน (operations research หรือ
OR) เป็ น หนึ่ ง ในเครื่ อ งมื อ ที่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มประยุ ก ต์ ใ ช้ กั บ งาน
วิเคราะห์ระบบงานเหมืองแร่

- 114 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
OR เน้ น การสร้ า งแบบจํ า ลองทางคณิ ต ศาสตร์ เ พื่ อ แสดง
ระบบงานที่ อ ยู่ ใ นความสนใจ เช่ น แบบจํ า ลองแหล่ ง แร่ ระบบ
รถบรรทุกและรถขุ ด เป็ นต้น และใช้แบบจําลองที่ส ร้างขึ้นนี้ เพื่อ
ศึกษาระบบการทํางานเหมืองแร่และตอบคําถามที่อยู่ในความสนใจ
เช่ น ขอบเขตบ่ อ เหมื อ งที่ ดี ที่ สุ ด จํ า นวนรถบรรทุ ก และรถขุ ด ที่
เหมาะสม เทคนิควิธีการของ OR ที่นิยมใช้ในงานเหมืองแร่ เช่น
 โปรแกรมเชิงเส้นตรง Linear Programming
Model
 โปรแกรมเชิงเลขจํานวนเต็ม Integer
Programming Model
 Dynamic Programming
 Stochastic Simulation Model
 Queuing Model
 Simulation Model
 Network Flow Model, PERT และ CPM
เป็นต้น

7.3 การวิเคราะห์และบริหารโครงการเมื่อมีความเสี่ยง
ความเสี่ยง (risk) คือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายใต้ความไม่
แน่นอน ที่ส่งผลกระทบเชิงลบต่อวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมายของ
โครงการหรือองค์กร ตัวอย่างเช่น การต่อต้านของชุมชน ลักษณะ
ทางธรณี ความสมบูรณ์ของแหล่งแร่ กฎหมาย การเมือง แรงงาน
- 115 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
เครื่ อ งจั ก ร บุ ค ลากร ภั ย ธรรมชาติ ดอกเบี้ ย อั ต ราแลกเปลี่ ย น 7.3.1 เ ข้ า ใ จ Risk Management ส า ม า ร ถ ISO31000
เป็นต้น ป ร ะ เ มิ น แ ห ล่ ง ข อ ง ค ว า ม เ สี่ ย ง ( Risk
ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง ( risk management) คื อ Identification) ผลของความเสี่ยง (Impact)
กระบวนการและแนวทางการดําเนิ นการ เพื่อให้ ส ามารถบ่งชี้ถึง และความน่ า จะเป็ น ในการเกิ ด ของความ
เหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นซึ่งมีผลกระทบเชิงลบต่อองค์กรหรือโครงการ เสี่ยง (Likelihood)
และสามารถขจัด หรือจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ 7 . 3 .2 เข้ า ใ จ แ ล ะส า ม า ร ถ ใ ช้ เ ท ค นิ ค เ ช่ น
ซึ่งจะช่วยให้สามารถลดความเสียหายที่จะเกิดขึ้นในอนาคต สามารถ Sensitivity Analysis, Scenario Analysis
บรรลุ เ ป้ า หมายได้ ดี ขึ้ น สามารถรู้ แ ละเข้ า ใจสถานการณ์ ไ ด้ ดี ขึ้ น หรือ Monte Carlo Simulation เป็นต้น
เป็นต้น โดยควรได้รับความร่วมมือจากบุคลากรทุกระดับของ
โครงการหรือองค์กร
กระบวนการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วย
1 . กํ า ห น ด วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ( objective setting) คื อ
การกําหนดวัตถุประสงค์ของโครงการ
2. การค้นหาความเสี่ยง (risk identification) พิจารณา
ปัจจัยเสี่ยงทุกด้านที่อาจเกิดขึ้น ทั้งภายใน และภายนอกองค์กร ว่า
เป็ น ปั จ จั ย เสี่ ย งประเภทใด เช่ น ความเสี่ ย งด้ า นการดํ า เนิ น งาน
(operational risk) เช่น ความเสียหายของเครื่องจักร ปัญหา
วัตถุดิบ ขาดบุคลากร หรือความเสี่ยงด้านการเงิน (financial risk)
เช่น การเปลี่ยนแปลงของราคาวัตถุดิบ อัตราแลกเปลี่ยนดอกเบี้ย
ห รื อ ค ว า ม เ สี่ ย ง ด้ า น ก ฎ ห ม า ย ( compliance risk) เ ช่ น
การเปลี่ ย นแปลงของกฎหมาย สิ่ ง แวดล้ อ ม ชี ว อนามั ย หรื อ
ความเสี่ยงด้านความปลอดภัย (hazard risk) เช่น การสูญเสียทาง

- 116 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
ชีวิตและทรัพย์สินจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ เป็นต้น รวมทั้งการระบุ
ว่าใครเป็นเจ้าของความเสี่ยงนั้นๆ
3. การประเมินความเสี่ยง (risk assessment) เป็น
การประเมินความเสี่ยงใน 2 มิติคือโอกาสที่จะเกิดขึ้น (likelihood)
และผลกระทบ (impact) ที่จะตามมาโดยอาจแบ่งเป็น 5 ระดับของ
โอกาสและผลกระทบ คือ 5 (สูงมาก) 4 (มาก) 3 (ปานกลาง) 2 (ต่ํา)
และ 1 (ต่ํามาก)
4. การตอบสนองความเสี่ยง (risk management) พิจารณา
ทางเลื อ กในการดํ า เนิ น การเพื่ อ ตอบสนองต่ อ ความเสี่ ย ง
โดยอาจเลือกทางเลือกใดทางเลือกหรือหรือรวมกันจากทางเลือก
4 ประการ คือ การหลีกเลี่ยง (avoid) การร่วม/แบ่งความเสี่ยง
(share / transfer) การลด (reduce) และการยอมรับ (accept)
5. กิจกรรมควบคุม (control activities) เพื่อให้
การจัดการความเสี่ยงเป็นไปตามแผนอย่างมีประสิทธิภาพจึงควร
กํ า หนดตั ว บุ ค คลในเพื่ อ รั บ ผิ ด ชอบการจั ด การความเสี่ ย ง วั ด
ประสิทธิผลของการจัดการความเสี่ยง รวมถึงการพิจารณาแนวทาง
ปฏิบัติเพิ่มเติมที่จําเป็น
6. การติดตามผลและการรายงาน (monitoring & report)
เพื่อประเมินผลลัพธ์ของการจัดการความเสี่ยง ควรวัดประสิทธิภาพ
และความเหมาะสมของการจั ด การ ติ ด ตามอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และ
รายงานต่อผู้บริหารที่รับผิดชอบ

- 117 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
8. การวางแผน การ 8.1 แนวคิ ด ปรั ช ญาการพั ฒ นาทรั พ ยากรแร่ อ ย่ า งยั่ ง ยื น 8.1.1 เข้าใจปรัชญาความยั่งยืน ที่ต้องการสร้าง
ออกแบบ และการ (Philosophy of Sustainable Mineral Resources) ความสมดุ ล ระหว่ า ง ด้ า นเศรษฐศาสตร์
พั ฒ น าทรั พ ยากรแร่ ความรู้เกี่ยวกับความยั่งยืน ที่มีสามห่วงที่เป็นด้านเศรษฐกิจ สังคม สั ง คม และสิ่ ง แวดล้ อ ม ได้ อ ย่ า งพอเพี ย ง
อย่ า งยั่ ง ยื น (Planning และสิ่งแวดล้อม ที่ต้องสร้างความสมดุลตามการเปลี่ยนแปลงของ ตามเงื่อนไขชุมชน กฎหมาย เทคโนโลยีที่มี
and Design of กระแสโลก ที่นํามาใช้ในการพัฒนาแร่อย่างยั่งยืนเป็นที่ยอมรับของผู้ อย่ า ง ตามความต้ อ งการของไตรภาคี
Sustainable Mine มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ระหว่างเหมือง ชุมชน และราชการ
Closure) 8.1.2 เข้าใจความจําเป็นต้องมีการออกแบบและ
วางแผนแต่ แ รกก่ อ นการทํ า เหมื อ ง แล้ ว
นํามานํามาปฏิบัติ อย่างสอดคล้องกระแส
สังคมที่แปรเปลี่ยนไปตามกาลเวลา

8.2 นโยบายและแผนการจัดการทรัพยากรแร่ (Policy and 8.2.1 เข้าใจนโยบายเหมืองแร่สีเขียว และสามารถ


Planning of Mineral Resources ) ถอดนโยบายมาทําแผนปฏิบัติได้
ความรู้ที่เกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรแร่ ตั้งแต่การกําหนดนโยบาย 8.2.2 เข้าใจระบบ CSR ของ กพร. และสามารถ
การนํ า นโยบายมาถอดเป็ น แผนปฏิ บั ติ ตลอดจนการติ ด ตาม ถอดนโยบายมาทําแผนปฏิบัติได้
ประเมินผลความคืบหน้าแบบ Target and Milestone หรือจัดทํา 8.2.3 การพัฒนาทรัพยากรแร่มาใช้อย่างคุ้มค่าและ
Road Map ได้ทั้งในระดับภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อให้การใช้ เป็นการอนุรักษ์แร่ ไม่ปล่อยทิ้งสูญเสีย และ
ประโยชน์จากทรัพยากรแร่อย่างคุ้มค่า อนุรักษ์ และเพิ่มมูลค่าแร่ เตรี ย มการแยกกองเพื่ อ ทํ า เหมื อ งซ้ํ า ใน
ตาม priority ตาม Time flame และ Zoning Classification อนาคตหากคุณค่าทางเศรษฐกิจเพิ่มคุม้ ค่า
8.2.4 เข้าใจการเพิ่มมูลค่าแร่ และนํามาใช้ ตาม
เกรดแร่

- 118 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
8.2.5 เข้าใจการวางแผนการทําเหมือง ที่สอดคล้อง
กับ ราคาแร่ ใ นอนาคต เช่ น ถ่ า นหิ น เดิ ม ที
Stripping ratio <4:1 จึงคุ้มค่า ปัจจุบัน
10:1 ยังทําคุ้มค่า ก็มาทําเหมืองต่อได้ หรือ
แยกกองหางแร่ หรือแร่พลอยได้ไม่มีราคา
ไว้ก่อน พอมีความคุ้มค่าก็กลับมาทําต่อได้

8.3 ระบบการปิดเหมือง (Mine Closure) 8.3.1 เข้าใจระบบการปิดเหมือง ที่ต้องวางแผน


ความรู้ ที่ เ กี่ ย วกั บ ระบบการปิ ด เหมื อ ง ที่ ต้อ งมี ก ารออกแบบและ ตั้ ง แต่ ก่ อ นการทํ า เหมื อ ง ระหว่ า งการทํ า
วางแผนตั้งแต่ก่อนการทําเหมือง ขณะดําเนินการ และหลังจากที่ปิด เหมื อ ง และหลั ง ปิ ด เหมื อ ง ให้ มี ก ารใช้
กิจการไปแล้ว ให้มีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างต่อเนื่องและสอดคล้อง ประโยชน์พื้นที่อย่างต่อเนื่องตลอดไป แม้น
ความต้องการที่แท้จริงของมนุษ ย์ ที่ยังคงระบบนิเวศสิ่งแวดล้อม การทําเหมืองเสร็จสิ้นแล้ว โดยปราศจาก
และวิถีชีวิตชุมชนท้องถิ่นที่ปลอดภัยอย่างมั่นใจ มลพิษตกค้าง ไม่มีอันตรายหลงเหลืออยู่ มี
ความสวยงามน่ า ประทั บ ใจจากการ
ออกแบบเชิ ง ภู มิ ส ถาปั ต ยกรรม อย่ า ง
เหมาะสม ถูกต้องตามหลักวิชาการสากล
และเป็นที่ยอมรับของสังคมทุกฝ่าย
8.3.2 สามารถวางแผนหลักแม่บทที่สามารถแตก
ย่ อ ยเป็ น แผนรายปี ไ ด้ ทั้ ง กิ จ กรรม และ
งบประมาณที่จัดสรรให้ อธิบายภาพสุดท้าย
ให้เห็นได้

- 119 -
 
หมวดความรู้ กรอบความรู้วชิ าชีพ ความสามารถของวิศวกรสามัญ มาตรฐาน แนวทาง
วิธีปฏิบัติ อ้างอิง
8.3.3 สามารถวางแผนลงในแผนที่ทําเหมืองในแต่
ละกิจกรรม ไม่ว่าจะเป็นกองดิน พื้นที่ฟื้นฟู
เ ห มื อ ง แ อ่ ง น้ํ า ท า ง ร ะ บ า ย น้ํ า
สวนสาธารณะ พิพิธภัณฑ์เหมือง
8.3.4 สามารถมีแผนกิจกรรมแบบชุมชนและ
ราชการมีส่วนร่วม ในการร่วมคิด ร่วมทํา
และร่วมรักษา และสามารถถ่ายโอนส่งมอบ
ความรั บ ผิ ด ชอบไปยั ง คนหรื อ ชุ ม ชนดู แ ล
ต่อไป หลังจากที่เหมืองจากไปแล้ว
8.3.5 มีความรู้เรื่องการฟื้นฟูเหมืองควบคู่ไป
ใ น ข ณ ะ ก า ร ทํ า เ ห มื อ ง ทั้ ง แ บ บ Bio-
diversity, Reclamation, Restoration,
Re-habilitation

- 120 -
 
2) งานวิศวกรรมโลหะการ
โลหะการเป็นสาขาวิชาที่ศึกษาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตโลหะ ตั้งแต่กระบวนการคัดแยกโลหะ
ออกจากสินแร่ กระบวนการปรับปรุงคุณภาพโลหะโดยการทําให้บริสุทธิ์หรือการปรุงแต่งเพื่อความเหมาะสม
ตามคุณสมบัติที่ต้องการ การศึกษายังครอบคลุมถึงการนําโลหะมาขึ้นรูปเป็นโลหะรูปกึ่งสําเร็จรูป เช่น โลหะ
ทรงยาว ทรงแบบ แท่ง ทรงยาวหน้าตัด เป็นต้น รวมทั้งการขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์หรือวัตถุ เช่น การหล่อขึ้นรูป
การทุบขึ้นรูป การรีดขึ้นรูป ตลอดจนการปรับปรุงคุณภาพอื่น ๆ ต่อเนื่องจากการขึ้นรูป ได้แก่ การตัดแต่ง
รูปทรง (machining) การปรับปรุงด้วยกระบวนการทางความร้อน (heat treatment) และการปรับปรุง
พื้นผิว (surface treatment)

งานวิศวกรรมโลหะการ จึงหมายถึง การนํ าความรู้โลหวิทยามาใช้ในกระบวนการทางวิศวกรรม


เพื่อให้สามารถดําเนินการ ติดตาม และควบคุมให้เกิดผลได้ในเชิงวิศวกรรม โดยมุ่งเน้นให้เกิดการประยุกต์และ
ใช้ประโยชน์ได้ จึงเน้นไปในสายงานหรือกระบวนการเพื่อการผลิตโลหะในอุตสาหกรรม เช่น ส่วนประกอบใน
งานก่อสร้าง เหล็ก โครงสร้างอาคาร ชิ้นส่วนยานยนต์ และเครื่องจักร เป็นต้น

งานวิ ศ วกรโลหะการส่ ว นใหญ่ จ ะปฏิ บั ติ ง านในสถานประกอบการอุ ต สาหกรรมต่ า งๆ ซึ่ ง ตาม


พระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542 กําหนดให้วิศวกรรมโลหะการเป็นหนึ่งในวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ดังนั้น
เพื่อให้การดําเนินงานของวิศวกรโลหะการถูกต้องตาม พรบ.วิศวกร พ.ศ. 2542 วิศวกรโลหะการจึงควร
ขอใบอนุญาตเป็นภาคีวิศวกรเมื่อเริ่มมีการปฏิบัติงาน และขอเลื่อนระดับเป็นสามัญวิศวกร และวุฒิวิศวกร
ต่อไป เมื่อมีประสบการณ์เพียงพอ เพื่อขยายขอบเขตในการทํางาน โดยขอบข่ายของงานวิชาชีพวิศวกรรม
ควบคุมตามพรบ.วิศวกร พ.ศ. 2542 ประกอบไปด้วย 6 งานดังนี้
1) งานควบคุมการสร้างหรือการผลิต
2) งานพิจารณาตรวจสอบ
3) งานอํานวยการใช้
4) งานวางโครงการ
5) งานออกแบบและคํานวณ
6) งานให้คําปรึกษา

สําหรับงานภาคี วิศ วกรมี สิท ธิ ทําได้ 3 งาน คือ งานควบคุ ม การสร้างหรื อ การผลิต งานพิ จ ารณา
ตรวจสอบ และงานอํานวยการใช้ สําหรับสามัญวิศวกร มีสิทธิทําได้ 5 งาน ประกอบด้วย งานควบคุม
การสร้างหรือการผลิต งานพิจารณาตรวจสอบ งานอํานวยการใช้ งานวางโครงการ งานออกแบบและคํานวณ
และสําหรับวุฒิวิศวกร มีสิทธิทําได้ทุกงานทุกขนาดทุกประเภท เนื้อหาโดยสรุปของขอบเขตงานของวิศวกร
แต่ละระดับสามารถแสดงได้ดังรูปที่ 1

- 121 -
 
รูปที่ 1 แสดงขอบเขตการทํางานของวิศวกรในแต่ละระดับ ตาม พรบ.วิศวกร พศ. 2542

โดยในคู่มือเล่มนี้ได้นําเสนอแนวทางการขอเลื่อนระดับจากภาคีวิศวกรเป็นสามัญวิศวกร ซึ่งผู้ขอเลื่อน
ระดับจําเป็นจะต้องมีทั้งประสบการณ์ ความรู้ความสามารถในหมวดวิชาแกนหลัก (Core competency) และ
ความรู้ความสามารถในหมวดวิชาชีพ (Professional Competency) ดังรายละเอียดต่อไปนี้

ความรู้และเชี่ยวชาญในหมวดวิชาแกนหลัก (Core competency) ที่วิศวกรปฏิบัติงานระดับสามัญ


วิศวกรโลหะการต้องมีความรู้ความสามารถเป็นอย่างดี มีดังนี้
1. การบริหารระบบคุณภาพ
2. การจัดการสิ่งแวดล้อม สังคม และคุณภาพชีวิต
3. การวางแผนและเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม

โดยในแต่ละวิชาหมวดแกนหลักประกอบไปด้วยเนื้อหาส่วนต่างๆ ที่สามารถนําเสนอโดยสรุปได้ตาม
รูปที่ 2

- 122 -
 
รูปที่ 2 แผนภาพแสดงเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับวิชาหมวดแกนหลักโดยย่อ

ควรมีความรู้ความเชี่ยวชาญเป็นอย่างดีจากกลุ่มความรู้เฉพาะทางที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
(Professional Competency) ทั้งหมด 12 หมวด ดังนี้
1. การแต่งแร่
2. การผลิตโลหะและการนําโลหะกลับมาใช้ใหม่
3. การแปรสภาพและขึ้นรูปร้อน
4. การแปรสภาพและขึ้นรูปเย็น
5. กระบวนการอบชุบความร้อน
6. เทคโนโลยีการหล่อโลหะ
7. เทคโนโลยีการเชื่อมโลหะและการบัดกรี
8. การเกิดการผุกร่อนและกระบวนการป้องกัน
9. โลหวิทยาของเหล็กและโลหะกลุ่มนอกเหล็ก
10. โลหวิทยาของโลหะต้านการผุกร่อนและโลหะทนความร้อนสูง
11. การวิเคราะห์ลักษณะเฉพาะการวิบัติ และการเสื่อมสภาพของโลหะ
12. กระบวนการปรับปรุงผิวและการเคลือบผิวโลหะ

โดยส่วนประกอบเนื้อหาในหมวดวิชาชีพสามารถสามารถนําเสนอได้โดยแผนภาพความคิดดังรูปที่
3-14

- 123 -
 
1. การแต่งแร่

รูปที่ 3 แผนภาพความคิดแสดงเนื้อหาย่อยในหมวดวิชาการแต่งแร่

2. การผลิตโลหะ และการนําโลหะกลับมาใช้ใหม่

รูปที่ 4 แผนภาพความคิดแสดงเนื้อหาย่อยในหมวดวิชาการผลิตโลหะ และการนําโลหะกลับมาใช้ใหม่

- 124 -
 
3. การแปรสภาพโลหะและขึ้นรูปร้อน

รูปที่ 5 แผนภาพความคิดแสดงเนื้อหาย่อยเนื้อหาในหมวดวิชาการแปรสภาพโลหะและขึ้นรูปร้อน

4. การแปรสภาพโลหะและขึ้นรูปเย็น

รูปที่ 6 แผนภาพความคิดแสดงเนื้อหาย่อยเนื้อหาในหมวดวิชาการแปรสภาพโลหะและขึ้นรูปเย็น

- 125 -
 
5. กระบวนการอบชุบด้วยความร้อน

รูปที่ 7 แผนภาพความคิดแสดงเนื้อหาย่อยเนื้อหาในหมวดวิชากระบวนการอบชุบด้วยความร้อน

6. เทคโนโลยีการหล่อโลหะ

รูปที่ 8 แผนภาพความคิดแสดงเนื้อหาย่อยเนื้อหาในหมวดวิชาเทคโนโลยีการหล่อโลหะ

- 126 -
 
7. เทคโนโลยีการเชื่อโลหะและการบัดกรี

รูปที่ 9 แผนภาพความคิดแสดงเนื้อหาย่อยเนื้อหาในหมวดวิชาเทคโนโลยีการเชื่อโลหะและการบัดกรี

8. การเกิดการผุกร่อนและการป้องกัน

รูปที่ 10 แผนภาพความคิดแสดงเนื้อหาย่อยเนื้อหาในหมวดวิชาการเกิดการผุกร่อนและการป้องกัน

- 127 -
 
9. โลหวิทยาของเหล็กและโลหะนอกกลุ่มเหล็ก

รูปที่ 11 แผนภาพความคิดแสดงเนื้อหาย่อยเนื้อหาในหมวดวิชาโลหวิทยาของเหล็ก
และโลหะนอกกลุ่มเหล็ก

10. โลหวิทยาของโลหะต้านการผุกร่อนและโลหะทนความร้อนสูง

รูปที่ 12 แผนภาพความคิดแสดงเนื้อหาย่อยเนื้อหาในหมวดวิชาโลหวิทยาของโลหะต้านการผุกร่อน
และโลหะทนความร้อนสูง

- 128 -
 
11. การวิเคราะห์ ลักษณะเฉพาะ การวิบัติ และการเสื่อมสภาพของโลหะ

รูปที่ 13 แผนภาพความคิดแสดงเนื้อหาย่อยเนื้อหาในหมวดวิชาการวิเคราะห์ ลักษณะเฉพาะ การวิบัติ และ


การเสื่อมสภาพของโลหะ
12. กระบวนการปรับปรุงผิวและการเคลือบผิวโลหะ

รูปที่ 14 แผนภาพความคิดแสดงเนื้อหาย่อยเนื้อหาในหมวดวิชากระบวนการปรับปรุงผิว
และการเคลือบผิวโลหะ

- 129 -
 
รายละเอียดความรู้ความสามารถในทักษะอืน่ ๆ (Core competency)
หมวดความรู้ องค์ประกอบความรู้ความสามารถ การประเมิน
1. การบริหารคุณภาพ - มีความรู้ความสามารถใน มาตรฐานผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐานสากล เช่น JIS - เอกสารรั บ รองจากผู้ บั ง คั บ บั ญ ชา ยื น ยั น ถึ ง
AISI DINEN เป็นต้น รวมถึงมาตรฐานการทดสอบอื่นๆ เช่น ASTMTIS การมี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งในการบริ ห ารคุ ณ ภาพของ
- มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ในการควบคุมกระบวนการโดยใช้ ผู้เข้ารับการพิจารณาเป็นสามัญวิศวกร
เทคนิคด้านสถิติ(Statistical Process Control / SPC) การควบคุมระบบ - การสัมภาษณ์
บริหารตาม ISO การบริหารจัดการคุณภาพโดยรวม(Total Quality
Management /TQM) เป็นต้น
- มีความรู้ความสามารถและมีส่วนร่วมในกิจกรรมการส่งเสริมการควบคุม
คุณภาพเช่น 5ส. Kaisen Kanban เป็นต้น

2. การจัดการสิ่งแวดล้อม สังคม - มี ค วามสามารถระบบจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ มตามมาตรฐานสากล เช่ น - เอกสารยืนยันการมีส่วนร่วม และความสามารถใน


คุณภาพชีวิต และความปลอดภัย ISO 14000,OHSAS 18001 กฎหมายเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม และ การจัดการสิ่งแวดล้อม สังคม คุณภาพชีวิต และ
มีความรับผิดชอบต่อสังคมในภาพรวม ความปลอดภั ย เช่ น ใบประกาศนี ย บั ต รในการ
- มีความรู้เกี่ยวกับการทํารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) อบรมเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย เป็นต้น
และรายงานผลกระทบต่อสุขภาพ EHIA - การสัมภาษณ์
- มีความสามารถระเบียบและกฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
- มีความสามารถในการบริหารจัดการพลังงานในส่วนที่รับผิดชอบ
- มีความสามารถถึงกฎระเบียบทางด้านคุณภาพชีวิตของพนักงานในโรงงาน
ตามที่กฎหมายควบคุม
- มีความสามารถและสามารถบริหารระบบเกี่ยวกับความปลอดภัยในส่วนที่
รับผิดชอบ
- เป็นตัวอย่างที่ดีในการจัดการสิ่งแวดล้อมและความรับผิดชอบต่อสังคม
- 130 -
 
หมวดความรู้ องค์ประกอบความรู้ความสามารถ การประเมิน
3. การวางแผนและเศรษฐศาสตร์ - มีความสามารถในการจัดการในทางวิศวกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น - เอกสารแสดงรายละเอียดงานหรือโครงการที่เคย
วิศวกรรม การจัดการระบบการผลิต การจัดการโครงการในทางวิศวกรรม รวมถึงการ รั บ ผิ ด ชอบ โดยพิ จ ารณาทั้ ง ปริ ม าณงานและ
ใช้ซอฟต์แวร์ในการจัดการโครงการ คุณภาพของงาน
- มีความสามารถในการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์และการตัดสินใจเพื่อการ - การสัมภาษณ์
จัดการสําหรับวิศวกรรม โดยต้องคํานึงถึง การบริหารความเสี่ยง ต้นทุน
จุดคุ้มทุน กําไร การคัดเลือกและวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ
เป็นต้น

NOTE: ผู้ที่จะผ่านการพิจารณาเป็นสามัญวิศวกรต้องได้รับการประเมินให้ผ่านทั้ง 3 หมวดความรู้ความสามารถทักษะแกน (Core competency)

- 131 -
 
รายละเอียดความรู้เฉพาะทางที่วิศวกรปฏิบัติงานระดับสามัญวิศวกรโลหะการต้องมีความรู้ความสามารถในแต่ละหมวด
หมวดความรู้ กระบวนการที่เกี่ยวข้อง องค์ประกอบความรู้ความสามารถ
1. การแต่งแร่ 1. การกองแร่ (Stock Piling) การบดย่ อ ยแ ร่ - มีความรู้และสามารถใช้หลักการทางเคมีและฟิสิกส์ในงาน
(Crushing and grinding) ก า ร คั ด ข น า ด (Size แต่งแร่
Classification) - มีความสามารถในการคํานวณสมดุลวัสดุและสมดุลพลังงาน
2. การผสมแร่ (Blending) เพื่ อ ให้ มี คุ ณ สมบั ติ ที่ ของกระบวนการ
เหมาะสมสําหรับกระบวนการสกัด ถลุง (Smelting) - มี ค วามสามารถในการประยุ ก ต์ แ ละมี ทั ก ษะในการใช้
3. การคํานวณมวลสมดุล (Mass Balance) กําลัง หลักการทางเทอร์โมไดนามิกส์ จลนพลศาสตร์ โลหวิทยา
การผลิต (Throughputs) และการหมุนเวียนแร่และ ความร้อน
หางแร่ในโรงแต่ง (Circulating) - มีความสามารถในการประยุกต์โลหวิทยาสารละลาย
4. การแยกแร่ (Mineral Classification) ด้ วย และโลหวิทยาไฟฟ้า (Thermodynamics,
หลั ก การทางฟิ สิ ก ส์ เคมี ความเป็ น แม่ เ หล็ ก และ Pyrometallurgy, Hydrometallurgy
ไฟฟ้าสถิต Electrometallurgy) ให้เหมาะสมกับกระบวนการแต่งแร่
5. การควบคุมพิเศษสําหรับแร่ที่เป็นพิษ (Poisoning - มี ค วามสามารถในการทบทวน ประเมิ น วิ เ คราะห์
Minerals controlling) และเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัย สังเคราะห์เชิงวิศวกรรมเปรียบเทียบ เพื่อพัฒนาระบบและ
Fire Hazards) คุณภาพผลิตภัณฑ์
6. เทคโนโลยี ก ารควบคุ ม มลภาวะทางอากาศ
ของเหลวและของแข็ง (Technology to control
gaseous, liquid, and solid discharges)

- 132 -
 
หมวดความรู้ กระบวนการที่เกี่ยวข้อง องค์ประกอบความรู้ความสามารถ
2. การผลิตโลหะและการนําโลหะกลับมาใช้ใหม่ 1. การเตรี ย มวั ต ถุ ดิ บ และการคั ด แยกเศษโลหะ - มีความรู้ความสามารถในการเตรี ยมวัตถุดิบให้มีสภาพที่
(Feed Preparation, Material Segregation) เหมาะสมทางเคมีและฟิสิกส์
2. การผสมวัตถุดิบ (Blending) - มีความสามารถในการคํานวณสมดุลวัสดุและสมดุล
3. การถลุง (Smelting) พลังงานของกระบวนการ
4. การทําโลหะให้บริสุทธิ์ด้วยความร้อน (Thermal - มีความสามารถในการประยุกต์และมีทักษะในการใช้
refining) หลักการทางเทอร์โมไดนามิกส์ จลนพลศาสตร์ โลหวิทยา
5. การสกั ดแ ละการชะล ะล ายด้ วยสาร เค มี ความร้อน โลหวิทยาสารละลาย และโลหวิทยาไฟฟ้า
(Leaching) Thermodynamics, Pyrometallurgy,
6. การแยกของแข็ ง ออกจากของเหลวการทํ า Hydrometallurgy Electrometallurgy) ในการทบทวน
สารละลายให้ เ ข้ ม ข้ น และบริ สุ ท ธิ์ (Solid-Liquid ประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์เชิงวิศวกรรม เปรียบเทียบ
Separation and Purification) - มีทักษะในการเลือก ปรับปรุงและแก้ปัญหากระบวนการ
7. การแยกโลหะจากสารละลายด้ ว ยวิ ธี เ คมี แ ละ ผลิ ต โลหะที่ มี คุ ณ ภาพตามมาตรฐานได้ อ ย่ า งเหมาะสม
ไฟฟ้า (Chemical Precipitation และ Electro- เป็นไปตามหลักปฏิบัติมาตรฐานทางวิศวกรรม
Winning) - มี ป ระสบการณ์ ใ นการเลื อ ก ติ ด ตั้ ง ใช้ สร้ า ง ซ่ อ มบํ า รุ ง
8. การทํ า โลหะให้ บ ริ สุ ท ธิ์ ด้ ว ยไฟฟ้ า (Electro เครื่องจักรอุปกรณ์อย่างเพียงพอ
Refining) - มีประสบการณ์ในการทดลอง วิจัยกระบวน
9. การหลอมโลหะ (Melting) การผลิตอย่างเพียงพอ
10. การหล่อโลหะ (Casting) มี ทั ก ษะในการวิ เ คราะห์ แก้ ไ ขปั ญ หา และออกแบบ
กระบวนการ เพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพในการผลิ ต และพั ฒ นา
คุณภาพโลหะที่ผลิตได้อย่างต่อเนื่อง

- 133 -
 
หมวดความรู้ กระบวนการที่เกี่ยวข้อง องค์ประกอบความรู้ความสามารถ
3. การแปรสภาพและขึ้นรูปร้อน 1. การตีขึ้นรูป (Forging) - มีความรู้ความสามารถพฤติกรรมของวัสดุที่อุณหภูมิสูง เช่น
2. การรีดร้อน (Hot Rolling) การเกิดการคืบ (Creep) การเกิดออกไซด์ การแพร่การ
3. การอัดรีด (Extruding) เปลี่ยนโครงสร้างของโลหะที่อุณหภูมิต่างๆ เป็นต้น
4. การขึ้นรูปโลหะผง (Powder Metallurgy) - มีความรู้ความสามารถหลักการขั้นตอนในกระบวนการ
5. การดึงท่อ (Tube Drawing) ขึ้นรูป
- มีความรู้ความสามารถในการเลือกกระบวนการขึ้นรูปและ
วัสดุเพื่อให้ได้ชิ้นงานตามต้องการ
- มีความรู้ความสามารถในการใช้วัสดุให้เหมาะสม และการ
ออกแบบแม่พมิ พ์
- มีทักษะในการควบคุมคุณภาพของกระบวนการและ
ผลิตภัณฑ์
- มีทักษะในการวิเคราะห์ แก้ปัญหา และออกแบบ
กระบวนการขึ้นรูปโลหะที่อุณหภูมิสูง เพื่อพัฒนาคุณภาพ
โลหะหลังการแปรรูป ให้สามารถนําไปใช้งานได้อย่าง
เหมาะสม

- 134 -
 
หมวดความรู้ กระบวนการที่เกี่ยวข้อง องค์ประกอบความรู้ความสามารถ
4. การแปรสภาพและขึ้นรูปเย็น 1. การดัดงอ (Bending) - มีความรู้ความสามารถขั้นตอนและวิธีการในกระบวนการ
2. การรีดเย็น (Cold Rolling) ขึ้นรูปที่อุณหภูมิต่ํา
3. การหมุนขึ้นรูป (Spinning) - มีความรู้ความสามารถในการเลือกใช้กระบวนการขึ้นรูป
4. การลากขึ้นรูปลึก (Deep Drawing) และวัสดุเพื่อให้ได้ชิ้นงานตามต้องการ
5. การตีขึ้นรูป (Forging) - มีความรู้ความสามารถในการใช้วัสดุให้เหมาะสม และการ
6. การดึงลวด (Wire drawing) ออกแบบแม่พมิ พ์
- มีความรู้ความสามารถในการเลือกใช้สารหล่อลื่น
(lubricant) ในกระบวนการขึ้นรูปเย็น
- มีทักษะในการควบคุมคุณภาพของกระบวนการและ
ผลิตภัณฑ์
- มีทักษะในการวิเคราะห์ แก้ปัญหา และออกแบบ
กระบวนการขึ้นรูปโลหะที่อุณหภูมิต่ํา เพื่อพัฒนาคุณภาพ
โลหะหลังการแปรรูป ให้สามารถนําไปใช้งานได้อย่าง
เหมาะสม

- 135 -
 
หมวดความรู้ กระบวนการที่เกี่ยวข้อง องค์ประกอบความรู้ความสามารถ
5. กระบวนการอบชุบด้วยความร้อน 1. การอบอ่อน (Annealing) - มีความรู้ความสามารถในกระบวนการและขั้นตอนในการอบ
2. การอบปกติ (Normalizing) ชุบโลหะทั้งในกลุ่มเหล็กและนอกกลุ่มเหล็ก
3. การชุบแข็ง (Hardening) และการอบคืนตัว - มีความรู้ความสามารถในการเปลี่ยนแปลงเฟสที่เกิดขึ้น
(Tempering) ระหว่างการอบชุบ
4. การอบคลายเครียด (Stress relief) - มีความรู้ความสามารถในการใช้อุปกรณ์และเครื่องมือการ
5. การชุบแข็งมาร์เทมเปอร์รงิ (Martempering) อบชุบโลหะด้วยความร้อน
6. การชุบแข็งออสเทมเปอร์ริง (Austempering) - มีความรู้ความสามารถในการเลือกใช้กระบวนการอบชุบ
7. การอบละลาย (Solid solution heat โลหะให้เหมาะสมกับวัสดุและสมบัติที่ต้องการ
treatment) - มีความรู้ความสามารถในการเลือกใช้เหล็กเครื่องมือ
8. การชุบแข็งตกตะกอน (Age hardeningหรือ - มีทักษะในการอบชุบโลหะด้วยความร้อน
Aging) - ตระหนักถึงความสําคัญของกรรมวิธีการอบชุบโลหะใน
อุตสาหกรรมโลหการ
- มีทักษะในการวิเคราะห์ แก้ปัญหา และออกแบบ
กระบวนการอบชุบด้วยความร้อนเพื่อเพิ่มศักยภาพใน
กระบวนการ และพัฒนาคุณภาพโลหะที่ผ่านการอบชุบให้ดี
ยิ่งขึ้น

- 136 -
 
หมวดความรู้ กระบวนการที่เกี่ยวข้อง องค์ประกอบความรู้ความสามารถ
6. เทคโนโลยีการหล่อโลหะ แบ่งตามวัสดุ แบบประเภทของแบบที่ใช้หล่อ - มีความรู้ความสามารถในหลักการและสามารถออกแบบ
1. หล่อโดยแบบหล่อทราย (Sand casting) กระบวนการงานหล่อที่เหมาะสม
2. หล่อโดยแบบหล่อขี้ผึ้ง (Investment casting - ความรู้ความสามารถในชนิดของแบบหล่อ ทราบถึง
หรือ Lost wax casting) หลักการทํางานของแบบหล่อและสามารถออกแบบแบบ
3. หล่อโดยแบบหล่อถาวรหรือดาย (Permanent หล่อได้อย่างเหมาะสม
mould casting/Die Casting) - มีความรู้ความสามารถสมบัตขิ องโลหะขณะที่หลอมเหลว
4. หล่อโดยแบบหล่อปูนพลาสเตอร์ (Plaster และกําลังแข็งตัว เช่นการหดตัวการแปลงเฟสและการเกิด
mould casting) แก๊สภายในชิ้นงาน
5. หล่อแบบเหวี่ยง (Centrifugal casting) - มีความรู้ความสามารถในการเลือกใช้กระบวนการงานหล่อ
6. หล่อโดยแบบหล่อทรายที่เติมเรซิน (Shell ต่างๆให้เหมาะสมกับวัสดุและ สมบัติงานชิ้นงานที่ต้องการ
mould casting) - มีความรู้ความสามารถในข้อบกพร่องหรือตําหนิชนิดต่างๆที่
7. กระบวนการขึ้นรูปกึ่งของแข็ง (Semi-Solid เกิดในงานหล่อ และสามารถการแก้ไขข้อบกพร่องและ
Processing) ตําหนิดังกล่าว
- มีความรู้ความสามารถและในกระบวนการตกแต่ง
(finishing) หลังการหล่อ
- มีทกั ษะในการวิเคราะห์ แก้ปัญหา และออกแบบ
กระบวนการหล่อโลหะ เพื่อพัฒนาศักยภาพในการผลิต
โลหะ และเพิ่มคุณภาพโลหะที่ได้จากกระบวนการหล่อ

- 137 -
 
หมวดความรู้ กระบวนการที่เกี่ยวข้อง องค์ประกอบความรู้ความสามารถ
7. เทคโนโลยีการเชื่อมโลหะและการบัดกรี 1. การเชื่อมในสถานะของแข็ง (Solid-State - มีความรู้ความสามารถวิธีการในกระบวนการเชื่อมและการ
Welding) บัดกรี
2.การเชื่อมอาร์ก (Arc Welding) - มีความรู้ความสามารถในการออกแบบกระบวนการเชื่อม
3.การเชื่อมด้วยออกซิเจนและแก๊สเชื้อเพลิง (Oxy- เช่นการทําความสะอาดผิวก่อนการเชื่อม การทํา Pre-
Fuel Gas Welding) Welding และการทํา Post-Welding
4.การเชื่อมด้วยความต้านทาน (Resistance - มีทักษะในการประยุกต์ใช้วิธีการเชื่อมและการบัดกรีให้
Welding) เหมาะสมกับงานและวัสดุ
5. การเชื่อมด้วยเลเซอร์ (Laser Welding) - มีความรู้ความสามารถการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างใน
6.การเชื่อมด้วยพลาสมา (Plasma Welding) บริเวณ HAZ และเนื้อรอยเชื่อม (weldment) ระหว่าง
7.การเชื่อมโลหะด้วยวิธีอื่นๆ (Other Welding) การเชื่อมโลหะ
8.การบัดกรี (Soldering) - มีทักษะในการควบคุมคุณภาพของงานเชื่อมและสามารถ
9.การบัดกรีแข็ง (Brazing) ป้องกันการเกิดตําหนิ (Defect) และการเสือ่ มสภาพ
(Degradation) ที่เกิดขึ้นระหว่างกระบวนการเชื่อม
- มีทักษะในการวิเคราะห์ แก้ปัญหา และออกแบบ
กระบวนการเชื่อมโลหะและการบัดกรีเพื่อพัฒนาศักยภาพ
ในการเชื่อมโลหะ และเพิ่มคุณภาพงานเชื่อม ให้ชิ้นงานมี
สมบัติเหมาะสมกับการใช้งาน

- 138 -
 
หมวดความรู้ กระบวนการที่เกี่ยวข้อง องค์ประกอบความรู้ความสามารถ
8. การเกิดการผุกร่อนและกระบวนการป้องกัน ประเภทของการผุกร่อนที่เกิดโดยทั่วไป - มีความรู้ความสามารถหลักการของไฟฟ้าเคมี (Electro-
1. การผุกร่อนแบบสม่ําเสมอ (Uniform Chemistry)
Corrosion) - มีความรู้ความสามารถเรื่องปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดการผุ
2. การผุกร่อนเนื่องจากความต่างศักย์ (Galvanic กร่อนทั้งปัจจัยภายในและภายนอก เช่น อุณหภูมิ ความ
Corrosion) เข้มข้น ความเรียบของผิวเป็นต้น
3. การผุกร่อนแบบช่องแคบ (Crevice - มีความรู้ความสามารถในการเลือกใช้วัสดุให้เหมาะสมกับ
Corrosion) สภาพแวดล้อมที่ใช้งาน
4. การผุกร่อนแบบเป็นหลุม (Pitting) - มีความรู้ความสามารถในวิธีการป้องกันการผุกร่อนด้วย
5. การผุกร่อนตามขอบเกรน (Intergranular Anodic-Cathodic protection, Sacrificial anode และ
Corrosion) การใช้สารยับยั้ง (inhibitor)
6. การผุกร่อนแบบเลือก (Selective Leaching - มีทักษะในการวิเคราะห์ แก้ปัญหา การผุกร่อนของโลหะ
หรือ Dealloying) และสามารถออกแบบกระบวนการป้องกัน เพื่อพัฒนา
7. การผุกร่อนแบบกัดเซาะ (Erosion Corrosion) ศักยภาพในการใช้งานโลหะ และสามารถยืดอายุการใช้งาน
8. การผุกร่อนโดยความเค้น (Stress corrosion) ของโลหะ

- 139 -
 
หมวดความรู้ กระบวนการที่เกี่ยวข้อง องค์ประกอบความรู้ความสามารถ
9. โลหวิทยาของเหล็กและโลหะนอกกลุ่มเหล็ก โลหะในกลุ่มเหล็ก - มีความรู้ความสามารถส่วนผสมและโครงสร้างที่ส่วนผสม
1. เหล็กกล้าคาร์บอน (Carbon Steel) ต่างๆ ของโลหะในกลุ่มเหล็กและนอกกลุ่มเหล็ก รวมถึง
2. เหล็กกล้าเจือ (Alloy Steel) โลหะเจือ
3. เหล็กหล่อ (Cast Iron) - มีความรู้ความสามารถสมบัตทิ างกลของโลหะแต่ละชนิด
- มีความรู้ความสามารถพฤติกรรมของโลหะในสภาพต่างๆ
โลหะนอกกลุ่มเหล็ก เช่น ได้รับแรงทางกล เป็นต้น
1.อะลูมิเนียมและอะลูมิเนียมเจือ (Aluminiumและ - มีความรู้ความสามารถในการเลือกใช้โลหะให้เหมาะสมกับ
Aluminium alloy) งาน เช่น การใช้เหล็กสําหรับแม่พิมพ์ การใช้โลหะในการ
2. ทองแดงและทองแดงเจือ (Copper และ หล่อต่างๆ และการใช้โลหะกระบวนการ การลากขึ้นรูปลึก
Copper alloy) เป็นต้น
3. สังกะสีและสังกะสีเจือ (Zinc และ Zinc alloy) - มีทักษะในการวิเคราะห์ แก้ปัญหา ที่เกิดระหว่างการใช้งาน
4.โลหะมีค่า (Precious Metal) เหล็กและโลหะนอกกลุ่มเหล็ก และสามารถออกแบบ
ชิ้นงานโลหะและกรรมวิธีให้เหมาะสมกับการใช้งาน

- 140 -
 
หมวดความรู้ กระบวนการที่เกี่ยวข้อง องค์ประกอบความรู้ความสามารถ
10. โลหวิทยาของโลหะต้านการผุกร่อนและโลหะ 1. เหล็กกล้าไร้สนิม (Stainless steel) - มีความรู้ความสามารถโครงสร้างของโลหะต้านการผุกร่อน
ทนความร้อนสูง 2. โลหะเจือพิเศษ (Superalloys) และโลหะทนความร้อนสูงชนิดต่างๆ
- มีความรู้ความสามารถกระบวนการอบชุบด้วยความร้อน
ของโลหะต้านการผุกร่อนและทนความร้อนสูงชนิดต่างๆ
- มีความรู้ความสามารถผลและบทบาทของโลหะเจือ
(Alloy) ในโลหะต้านการผุกร่อนและทนความร้อนสูง เช่น
การทํา การชุบแข็งตกตะกอนเป็นต้น
- มีความรู้ความสามารถในการเลือกใช้โลหะต้านการผุกร่อน
แ ล ะ ท น ค ว า ม ร้ อ น สู ง ช นิ ด ต่ า ง ๆ ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม กั บ
สภาพแวดล้อมและลักษณะการใช้งาน
- มีทักษะในการวิเคราะห์ แก้ปัญหา ที่เกิดระหว่างการใช้งาน
โลหะต้านการผุกร่อนและโลหะทนความร้อนสูงและ
สามารถออกแบบให้เหมาะสมกับการใช้งาน

- 141 -
 
หมวดความรู้ กระบวนการที่เกี่ยวข้อง องค์ประกอบความรู้ความสามารถ
11. การวิเคราะห์ลักษณะเฉพาะ การวิบัติ และ 1. กระบวนการวิเคราะห์สมบัติด้วยความร้อนเช่น - มีความรู้ความสามารถหลักการทํางานของเครื่องมือต่างๆที่
การเสื่อมสภาพของโลหะ Thermogravimetric Analysis (TGA) , ใช้สําหรับการวิเคราะห์ลักษณะเฉพาะของโลหะ
Thermomechanical Analysis (TMA) - มีความรู้ความสามารถในการเลือกใช้เครื่องมือสําหรับการ
Dynamic Mechanical Analysis (DMA) ทดสอบวัสดุให้เหมาะสมในกระบวนการต่างๆ เช่นการใช้
Differential Scanning Calorimetry (DSC) และ การทดสอบแบบไม่ทําลายโดยการใช้คลื่นความถี่สูงเพื่อ
Differential Thermal Analysis (DTA) เป็นต้น ตรวจสอบรอยเชื่อม เป็นต้น
2. การตรวจสอบด้วยสายตา(Visual inspection) - มีความรู้ความสามารถกระบวนการในการวิเคราะห์ความ
3.กล้องจุลทรรศน์ (Optical เสียหาย
Microscope,SEM,TEM) - มีทักษะในการตรวจสอบความวิบัติและเสื่อมสภาพทั้ง
4.การตรวจสอบด้วย Spectrometer และ X-ray ระดับ มหภาค (Macro scale) และระดับ จุลภาค (Micro
(XPS,EDS,WDS, XRD,XRF,XRS) scale)
5. การทดสอบแบบไม่ทําลาย (Nondestructive - มีเทคนิคและทักษะในการรวบรวมหลักฐานเพื่อคงสภาพ
testing) ความวิบัติ
6.การทดสอบทางกล (Mechanical testing) - มีความรู้ความสามารถหลักความปลอดภัยในการทํางาน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการตรวจสอบที่เกี่ยวข้องกับรังสีเอ็กซ์
- มีทักษะในการวิเคราะห์การวิบัติ สามารถแก้ปัญหาที่เกิด
จากการเสื่อมสภาพของโลหะและสามารถออกแบบ
กระบวนการตรวจสอบและวิเคราะห์ลักษณะเฉพาะของ
โลหะได้อย่างเหมาะเหมาะสม

- 142 -
 
หมวดความรู้ กระบวนการที่เกี่ยวข้อง องค์ประกอบความรู้ความสามารถ
12. กระบวนการปรับปรุงผิวและการเคลือบผิว 1.กระบวนการคาร์บูไรซิง (Carburizing) - มีความรู้ความสามารถการเลือกใช้กระบวนการปรับปรุงผิว
โลหะ 2.กระบวนการไนตรายดิง (Nitriding) และการเคลือบผิวโลหะให้เหมาะสมกับโลหะที่ใช้และ
3.กระบวนการชุบแข็งด้วยเปลวไฟ (Flame สมบัติที่ต้องการ
hardening) - มีทักษะในการควบคุมกระบวนการปรับปรุงผิวและการ
4.กระบวนการชุบเคลือบด้วยไฟฟ้า (Electro- เคลือบผิวโลหะ
plating) - มีความรู้ความสามารถสมบัตขิ องโลหะที่เปลี่ยนแปลงไป
5.กระบวนการชุบเคลือบแบบจุ่มร้อน (Hot จากกระบวนการปรับปรุงผิวและการเคลือบผิว
dipping) - มีทักษะในการวิเคราะห์และสามารถออกแบบกระบวนการ
6. กระบวนการชุบเคลือบอื่นๆ (Other Coating ปรับปรุงผิวและการเคลือบผิวโลหะ รวมถึงสามารถ
Processes) แก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ทั้งในกระบวนการปรับปรุงผิวและหลัง
การนําชิ้นงานที่ผ่านการปรับปรุงผิวไปใช้งาน

- 143 -
 
ส่วนที่ 2
คู่มือความรู้พื้นฐานวิศวกรรมเหมืองแร่ สภาวิศวกร

- 144 -
 

You might also like