You are on page 1of 55

ขอบังคับ

EIA
เกี่ยวกับการประกอบกิจการเหมืองหิน

โดยนายวิรุฬห ฤกษธนะขจร
นักวิชาการสิ่งแวดลอม 8ว
สํานักวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม
รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม
(Environmental Impact Assessment, EIA)

กระบวนการศึกษาเพื่อคาดการณผลกระทบสิ่งแวดลอมที่อาจเกิดขึ้น
ทั้งทางบวกและทางลบจากการพัฒนาโครงการหรือกิจการ และเสนอ
มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการ
ติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม เพื่อใหการพัฒนาโครงการ
หรือกิจการมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุดหรืออยูในระดับ
ที่ยอมรับได
วัตถุประสงค
• ศึกษาความจําเปนและความเหมาะสมของโครงการ
• ศึกษาสถานภาพและคุณคาของทรัพยากรสิ่งแวดลอม
• ศึกษาผลกระทบจากการทําเหมืองแรและกิจกรรมตอเนื่อง
• เสนอขอคิดเห็นตอแผนการดําเนินงานของโครงการ
• เสนอมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม
และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม
• เสนอแผนการฟนฟูพื้นที่ภายหลังการทําเหมืองแร
• ใชประกอบการรับฟงความเห็นของประชาชน
• เสนอตอหนวยงานอนุญาตตามกฎหมาย
ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม
เรื่อง กําหนดประเภทและขนาดโครงการที่ตองจัดทํารายงาน
การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม
การทําเหมืองตามกฎหมายวาดวยแร : ทุกขนาด

ขั้นตอนการเสนอรายงาน : ขั้นขออนุญาตประทานบัตร
การปรับปรุงประเภทและขนาดโครงการที่จัดทํารายงานฯ

ขอกําหนดเดิม ขอกําหนดใหม( ราง )


การทําเหมืองตามกฎหมายวาดวยแร 1 เหมืองแรถานหิน
ทุกขนาด 2 เหมืองแรโพแทช
3 เหมืองแรเกลือหิน
4 เหมืองแรหินปูนเพื่ออุตสากรรมปูนซิเมนต
เมนต
5 เหมืองแรโลหะทุกชนิด
6 เหมืองแรใตดิน
7 เหมืองแรทมี่ ีการใชวัตถุระเบิด
8 เหมืองแรในพื้นทีล่ ุมน้ําชั้น 1
9 เหมืองแรในทะเล
10 เหมืองแรในปาอนุรักษเพิ่มเติม
11 เหมืองแรในพื้นที่ชุมน้ําสําคัญระหวางประเทศ
12 เหมืองแรใกลโบราณสถาน โบราณคดี อุทยาน
ประวัติศาสตร ระยะ 2 กม.
13 เหมืองแรอื่นๆ ใหทํา IEE
ผูมีสวนรวมในกระบวนการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม

เจาของโครงการ

หนวยงานอนุญาต นิติบุคคลทํารายงานฯ
รายงาน
EIA สผ.
ประชาชน/
หนวยงานที่เกีย่ วของ คชก.
การอนุญาต

กํากับ/ติดตามตรวจสอบ
ดําเนินโครงการ
ขั้นตอนการพิจารณารายงาน EIA
ผูขอ ปทบ.
เสนอรายงานตอ สผ.
และ กพร.
สผ. ตรวจสอบรายงาน (15 วัน) รายงานไมถูกตอง
รายงานถูกตอง/ขอมูลครบถวน หรือขอมูลไมครบ

สผ.พิจารณาเสนอความเห็นเบื้องตน (15 วัน)


ผูขอ ปทบ.
แกไขรายงานฯ
คณะกรรมการผูชํานาญการฯพิจารณา (45 วัน)
เห็นชอบ ไมเห็นชอบ กพร.
กพร. อนุญาต ปทบ. รอการอนุญาต
ขั้นตอนการพิจารณารายงาน EIA
(ฉบับแกไขเพิ่มเติม/จัดทําใหมทั้งฉบับ)

ผูขอ ปทบ.
เสนอรายงานฉบับแกไข / ฉบับใหม
ตอ สผ. และ กพร. แกไขรายงาน

สผ. สรุปผลการพิจารณาเสนอ
30 วัน
คณะกรรมการผูช ํานาญการฯพิจารณา
ไมเห็นชอบ
เห็นชอบ
กพร.
กพร. อนุญาต ปทบ. รอการอนุญาต
พรบ. สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ
พ.ศ.2535

มาตรา 50 วรรคสอง : เมื่อคณะกรรมการผูชํานาญการพิจารณา


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมใหความเห็นชอบรายงาน
แลว ใหเจาหนาที่ซึ่งมีอาํ นาจตามกฎหมายในการพิจารณาสั่งอนุญาต
หรือตออายุใบอนุญาต นํามาตรการที่เสนอไวในรายงานไปกําหนดเปน
เงื่อนไขในการสั่งอนุญาต โดยใหถือวาเปนเงื่อนไขที่กําหนดตาม
กฎหมายในเรื่องนัน้ ดวย
แหลงที่มาของผลกระทบสิ่งแวดลอม

กิจกรรมที่เปนสาเหตุการเกิดผลกระทบ
– การเปดทําเหมือง
• การตัดฟนตนไมและการเปดหนาดิน
• การใชวัตถุระเบิด
• การขุดตักแร
– การแตงแร(โรงโมหิน)
– การขนสงแร
มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม
มาตรการสวนการทําเหมือง เชน
- การออกแบบหนาเหมืองเปนขั้นบันได
- การบังคับทิศทางการเดินหนาเหมือง
- การควบคุมการใชวัตถุระเบิด
- การจัดการมูลดินทราย
- การจัดระบบระบายน้ํา
- การกําหนดแนวกันชน
มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม
มาตรการสวนโรงแตงแร เชน
- การเลือกที่ตั้งที่เหมาะสม
- โรงบดย อ ยแร สร า งเป น ระบบป ด พร อ มทั้ ง
ติดตั้งอุปกรณกําจัดฝุนและระบบสเปรยน้ํา
- การควบคุมฝุนบริเวณเสนทางลําเลียงและลาน
กองแร
- ระบบควบคุมการระบายน้ํา
- การปลูกตนไมโดยรอบ
มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม
มาตรการสวนการขนสงแร เชน
- การควบคุมน้ําหนักบรรทุก/ความเร็วรถ
- การปดคลุมกระบะบรรทุก การลางลอรถ
- การสราง ดูแลรักษา และปรับปรุงเสนทาง
- การสเปรยน้ําบนเสนทางที่เกิดฝุนไดงาย
- หลีกเลี่ยงเสนทางที่ใชรวมกับชุมชน
การฟนฟูสภาพพื้นที่ภายหลังการทําเหมืองแร

• การฟนฟูโดยการปลูกปา
• การฟนฟูเปนสวนสาธารณะและการพักผอนหยอนใจ
• การฟนฟูเปนพื้นที่เพื่อการเกษตรกรรม
• การฟนฟูเพื่อเปนแหลงเก็บกักน้ํา
• การฟนฟูเพื่อประโยชนอื่น ๆ
• กองทุนฟนฟู/แผนการจัดสรรเงิน
มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม
• คุณภาพอากาศ
– ตรวจวัดปริมาณฝุนละอองแขวนลอยในบรรยากาศ (TSP) เฉลีย่ ในรอบ
24 ชั่วโมง เปนเวลา 3 วันตอเนื่อง
– ตรวจวัดคาความทึบแสง (Opacity) บริเวณจุดกําเนิดฝุนใน
กระบวนการบดและยอยหิน ของโรงโมหิน
• เสียง
– ตรวจวัดระดับความดังของเสียงเฉลี่ยโดยทั่วไปในรอบ 24 ชั่วโมง
เปนเวลา 3 วันตอเนื่อง
มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม
• แรงสั่นสะเทือน
– ตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหนาเหมืองของโครงการในขณะที่ทํา
การระเบิด โดยการตรวจวัดคาความเร็วอนุภาค ความถี่ การขจัด และคา
แรงอัดอากาศ
• คุณภาพน้ํา
– ตรวจวิเคราะหคุณภาพ โดยวิเคราะหคา ความเปนกรด – ดาง คาความขุน
คาความกระดาง ปริมาณของแข็งละลายน้ําทั้งหมด และปริมาณสาร
แขวนลอยทั้งหมด เปนตน
มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม
• อาชีวอนามัย
– ตรวจสอบสมรรถภาพของรางกายโดยทั่วไปของพนักงาน ไดแก
ความสามารถของการไดยิน ระบบทางเดินหายใจ ระบบประสาทใน
การรับรู และการเอ็กซเรยปอด เปนตน
• การคมนาคม
– ตรวจสอบสภาพเสนทางขนสงแรใหสามารถใชงานไดดีอยูเสมอ ถา
บริเวณใดชํารุดตองรีบซอมแซมทันที
ผลกระทบ
สิ่งแวดลอม
มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม
มาตรการ 1. ใหมีจุดรับเรื่องราวรองทุกขความเดือดรอนของราษฎรที่เกิดจากกิจกรรม
ทั่วไป การทํ า เหมื อ งแร แ ละกิ จ กรรมที่ เ กี่ ย วข อ ง และผู ถื อ ประทานบั ต รจะต อ ง
ดําเนินการแกไขและใหความชวยเหลือดวยความเปนธรรม
2. หากไดรับการรองเรียนจากราษฎรที่อาศัยอยูในบริเวณใกลเคียงวาไดรับ
ความเดือดรอนรําคาญจากการดําเนินโครงการหรือสาธารณประโยชนไดรับ
ความเสี ยหาย กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร หรือสํ านักงาน
นโยบายและแผนทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ มได ต รวจสอบแล ว
พบวา ผูถือประทานบัตรไมปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบ
สิ่ ง แวดล อ มที่ กํ า หนด จะต อ งหยุ ด การทํ า เหมื อ งแล ว แก ไ ขเหตุ แ ห ง ความ
เดือดรอนใหเสร็จสิ้นกอนที่จะดําเนินการตอไป
3. ใหทําการปรับปรุงฟนฟูพื้นที่โครงการที่ผานการทําเหมืองแรแลวและพื้นที่
สิ้นสุดการใชประโยชนแลว ตามแผนงานที่ไดเสนอไวในรายงานการวิเคราะห
ผลกระทบสิ่งแวดลอม พรอมทั้งใหรายงานผลการดําเนินงานใหทางสํานักงาน
นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และกรมอุตสาหกรรม
พื้นฐานและการเหมืองแร ทราบทุกป
ผลกระทบ
สิ่งแวดลอม มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม
มาตรการ 4. หากผูถือประทานบัตรมีความประสงคที่จะเปลี่ยนแปลงวิธีการทําเหมือง หรือ
ทั่วไป เปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมชนิดแร หรือการดําเนินงานที่แตกตางจากที่เสนอไวในรายงาน
การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม จะตองเสนอรายละเอียดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง
ดั ง กล า วประกอบกั บ มาตรการป อ งกั น และแก ไ ขผลกระทบที่ ส อดคล อ งกั บ การ
เปลี่ยนแปลง ใหคณะกรรมการผูชํานาญการพิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบ
สิ่งแวดลอมพิจารณาใหความเห็นชอบดานสิ่งแวดลอมกอนดําเนินการ
5. ในระหวางการทําเหมืองหากพบโบราณวัตถุ หรือรองรอยทางประวัติศาสตร
โบราณคดี จะตองรายงานและขอความร วมมือจากกรมศิ ลปากรเขาไปดําเนิน การ
ตรวจสอบพื้นที่ ทั้งนี้ ในระหวางการสํารวจจะตองหยุดการทําเหมืองชั่วคราว และหาก
พิ สู จ น แ ล ว พบว า เป น แหล ง ที่ มี ค วามสํ า คั ญ ทางประวั ติ ศ าสตร โ บราณคดี ผู ถื อ
ประทานบัตรจะตองปฏิบัติตามเงื่อนไขของหนวยงานที่เกี่ยวของโดยไมมีขอเรียกรอง
ใดๆ
6. ใหรายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และ
มาตรการติ ด ตามตรวจสอบคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล อ ม ให สํ า นั ก งานนโยบายและแผน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร
ทราบอยางนอย ปละ 2 ครั้ง
ผลกระทบ
สิ่งแวดลอม
มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม
การทําเหมือง 1. ใหเปดหนาเหมืองตามแผนผังที่กําหนดไวในแตละชวงอยางเครงครัด
และออกแบบการทําเหมืองในลักษณะขั้นบันได ความลาดชันรวมประมาณ
45 องศา
2. บริเวณใดที่ไมเกี่ยวของกับการทําเหมืองของโครงการ หรือไมไดเปดทํา
เหมือง ใหรักษาสภาพเดิมไวใหมากที่สุด
3. ใหจัดเตรียมพื้นที่เก็บกองเปลือกดินและเศษหินและใหสรางคันทํานบ
ดินและขุดคูระบายน้ําไวโดยรอบ
4. ใหปลูกไมยืนตนโตเร็วในบริเวณโดยรอบขอบเขตพื้นที่โครงการใน
ลั ก ษณะเป น แถวแบบสลั บ ฟ น ปลา ให มี ร ะยะห า งระหว า งต น และแถว
ประมาณ 2x2 เมตร
5. บริเวณใดที่เปดทําเหมืองจนเสร็จสิ้นแลว ใหดําเนินการตามแผนการ
ฟนฟูสภาพพื้นที่ภายหลังการทําเหมือง
ผลกระทบ
สิ่งแวดลอม
มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม
การทําเหมือง 6. ใหมีวิศวกรควบคุมการทําเหมืองอยูเปนประจํา โดยเฉพาะอยางยิ่งตอง
เปนผูวางแผนการระเบิดทุกครั้ง เพื่อใหการใชวัตถุระเบิดเปนไปตามหลัก
วิชาการ
7. ใหติดตั้งเครื่องมือดูดฝุนที่บริเวณหัวเจาะของรถเจาะรูระเบิด พรอมทั้งมี
ถังพักฝุนเพื่อปองกันการฟุงกระจายของฝุนในบรรยากาศ
8. ใหควบคุมปริมาณวัตถุระเบิดตามที่กําหนดและทําการระเบิดวันละ 1
ครั้ง ในชวงเวลาที่กําหนด กอนการระเบิดทุกครั้ง ตองจัดเจาหนาที่ตรวจตรา
ในรัศมี 300 เมตร และเปดสัญญาณเตือนใหไดยินในรัศมี 500 เมตร
9. ใหติดปายเตือนเขตการระเบิดและระบุเวลาระเบิดใหเห็นอยางชัดเจน
โดยติดตั้งไวบริเวณขอบเขตพื้นที่โครงการโดยรอบ
ผลกระทบ
สิ่งแวดลอม
มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม
อุทกวิทยา 1. ใหสรางคันทํานบและขุดคูระบายน้ําไวโดยรอบพื้นที่ทําเหมือง
พื้นที่เก็บกองเปลือกดินเศษหิน และพื้นที่กิจกรรมที่เกี่ยวของ เพื่อ
ระบายน้ําลงสูบอดักตะกอน
2. ใหขุดบอดักตะกอนเพื่อรองรับน้ําฝนที่ชะลางตะกอนจากพื้นที่
เหมื อ ง พื้ น ที่ เ ก็ บ กองเปลื อ กดิ น เศษหิ น และพื้ น ที่ กิ จ กรรมที่
เกี่ยวของ
3. ระหวางเตรียมการทําเหมืองใหหลีกเลี่ยงชวงฤดูฝนหรือขณะ
ฝนตก เพื่อปองกันการชะลางตะกอนไปยังพื้นที่ขางเคียง
4. ใหขุดลอกบอดักตะกอนของโรงโมหิน อยางนอยปละ 2 ครั้ง
หรือหากตรวจสอบวามีตะกอนเกิน 1 ใน 3 ของบอ
5. การเวนระยะเพื่อเปนแนวกันชนหรือลดระดับผลกระทบ
ผลกระทบ
มาตรการปองกันและลดผลกระทบสิ่งแวดลอม
สิ่งแวดลอม
โรงโมหิน 1.โรงโม หิ น จะต อ งจั ด ทํ า เป น ระบบป ด คื อ สร า งอาคารป ด คลุ ม ทั้ ง 3 ด า น
รวมทั้งหลังคาที่ปากโมแรก ยุงรับแร และตะแกรงสั่นคัดขนาด พรอมทั้งติดตั้ง
เครื่องฉีดสเปรยน้ําบริเวณตําแหนงที่กอใหเกิดฝุนละออง
2. เครื่องบดชุดที่สองและตะแกรงสั่นคัดขนาด จะตองมีฝาครอบหรืออุปกรณที่
ปดคลุมปองกันฝุนและตองสรางอาคารปดคลุมเครื่องจักรทั้งหมดอยางมิดชิด
พรอมทั้งติดตั้งเครื่องฉีดสเปรยน้ําบริเวณตําแหนงที่กอใหเกิดฝุนละออง
3. ระบบสายพานลําเลียง ตองสรางอุปกรณปดคลุมโดยตลอด พรอมทั้งติดตั้ง
เครื่องฉีดสเปรยน้ําบริเวณจุดตางๆ ที่กอใหเกิดฝุนละอองภายนอกอาคารทุกจุด
4. บริ เ วณปลายสายพานลําเลี ย งที่ เ ทกองแร คั ด ขนาดแล ว ต อ งติ ดเครื่ อ งฉี ด
สเปรยน้ําหรือเครื่องปองกันฝุนจากการเทกอง
5. มีระบบลานลางลอรถยนตที่มีประสิทธิภาพและทําการลางลอรถยนตบรรทุก
หินกอนออกนอกโรงโมบดหรือยอยหิน
6. มีการสรางรางระบายน้ําและมีที่ดักตะกอนฝุนในพื้นที่ตางๆ ของโรงโมบด
หรือยอยหิน เพื่อรองรับตะกอนฝุนที่เกิดจากการชะลางของน้ําฝน
ผลกระทบ
สิ่งแวดลอม
มาตรการปองกันและลดผลกระทบสิ่งแวดลอม
โรงโมหิน 7. ให ทํ า การปรั บ ปรุ ง และซ อ มแซมเส น ทางภายในโรงโม หิ น และพื้ น ที่
โครงการใหเปนถนนที่มีผิวจราจรที่ไมกอใหเกิดฝุนฟุงกระจายมาก

8. ติดตามตรวจสอบระบบสเปรยน้ําของโรงโมหิน พรอมทั้งปรับปรุงหรือ
ซอมแซมใหสามารถสเปรยน้ําไดอยางมีประสิทธิภาพอยูเสมอ
9. ดูแลบํารุงรักษาเครื่องจักรกลตางๆ ของโรงโมหินใหสามารถใชงานไดตาม
สภาพปกติอยูเสมอ
10. ใหปลูกไมยืนตนโตเร็วลอมรอบโรงโมหิน จํานวน 2 แถว ในลักษณะแบบ
สลับฟนปลา
11. กําหนดระยะเวลาการทํางานของโรงโมหินในชวงเวลากลางวัน และ
หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่เกี่ยวของอื่นๆ ที่กอใหเกิ ดเสียงดังรบกวนในชวงเวลา
กลางคืนอยางเด็ดขาด
ผลกระทบ
สิ่งแวดลอม
มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม
การขนสง 1. ใหอบรมพนักงานขับรถขนสงแรทุกคันใหขับรถดวยความระมัดระวัง
แร และมีมารยาทในการใชรถใชถนนตลอดจนปฏิบัติตามกฎจราจรอยาง
เครงครัด
2. การขนสงแรจากโรงโมหินไปยังแหลงรับซื้อใหมีการใชผาใบปดคลุม
กระบะบรรทุก การควบคุมความเร็วรถโดยเฉพาะในชวงที่เปนถนนลูกรัง

3. ใหฉีดพรมน้ําบนเสนทางขนสงแรซึ่งจํานวนครั้งของการฉีดพรมน้ํา
จะตองพิจารณาจากสภาพอากาศและฤดูกาล เชน ฤดูรอนและฤดูหนาวควร
ฉีดพรมน้ําประมาณ 3-4 ครั้ง/วัน
4. ใหตรวจสอบสภาพเสนทางและปรับปรุงสภาพถนนที่ใชขนสงแร
โดยเฉพาะในชวงที่เปนถนนลูกรังสาธารณะใหสามารถใชงานไดดี
ตลอดเวลา
5. ใหจัดทําปายสัญญาณเตือนภัย เชน ปายเตือนระวังและชะลอความเร็ว
บริเวณเสนทางขนสงแร เพื่อสงเสริมความปลอดภัยและลดอุบัติเหตุ
ผลกระทบ
สิ่งแวดลอม
มาตรการป อ งกั น และแก ไ ขผลกระทบสิ ง
่ แวดล อ ม
อาชีวอนามัย 1. ใหจัดหาอุปกรณเพื่อปองกันอันตรายสวนบุคคลใหกับพนักงานในขณะที่
และความปลอดภัย ปฏิ บั ติ ง านอยู ใ นพื้ น ที่ ห น า เหมื อ ง เช น ผ า ป ด จมู ก ที่ อุ ด หู หมวกนิ ร ภั ย
รองเทานิรภัย เปนตน
2. ใหการศึกษาอบรมแกพนักงานถึงวิธีการทํางานของเครื่องจักรกล และ
อุปกรณแตละประเภท
3. ใหจัดเตรียมอุปกรณตางๆ ที่ใชในการปฐมพยาบาลเบื้องตนไว
ใหพรอม
สังคมและทัศนคติ 1. ใหมีการจางแรงงานในทองถิ่นใหมากที่สุด และใหอัตราคาแรงเปนไป
ตามประกาศของกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
2. ใหประชาสัมพันธขอมูลโครงการ ใหราษฎรในชุมชนใกลเคียงรับทราบ
อยางทั่วถึง รวมทั้งมีสวนรวมในการพัฒนาทองถิ่น
3. ให ดํ า เนิ น การตามแผนมวลชนสั ม พั น ธ ทั้ ง ในส ว นของการประชา
สัมพันธโครงการ การรับขอรองเรียน และการสรางความสัมพันธ ที่ดี
ตอชุมชน อยางเครงครัด
หนาเหมืองแบบหนาผา

หนาเหมืองแบบขั้นบันได
หนาเหมืองแบบหนาผา

หนาเหมืองแบบขั้นบันได
หอเสียงสัญญาณเตือน
กอนทําการระเบิด

ปายแจงกําหนดการระเบิดในแตละวัน รถกระแทกหิน (Hydraulic Breaker)


รถเจาะรูระเบิดที่ติดตั้งอุปกรณดักฝุน
(Dust Collector)

Dust Collector กระบังกันฝุนที่ออกแบบเพิ่มเติม


คันทํานบและคูระบายน้ํา

ปลูกไมยืนตนและหญาแฝก
คันทํานบและคูระบายน้ํา

บอดักตะกอน
Sump รับน้ําในขุมเหมือง

บอดักตะกอน
เปลือกดินกองเก็บไวปลูกตนไม บอรับน้ําในพื้นที่เหมือง

รางระบายน้ําและทางระบายน้ําในเขตพื้นที่เหมือง
โรงโมที่มีระบบควบคุม
ผลกระทบสิ่งแวดลอม

โรงโมกึ่งมีระบบควบคุม
ผลกระทบสิ่งแวดลอม
โรงโมไมมีระบบควบคุม
ผลกระทบสิ่งแวดลอม
ติดตั้งแผนสายพานยางเปนมานกันฝุน
 ฟุงกระจายและหัวฉีดสเปรยน้ําดับฝุนขณะเทหิน
รถ Grader ใชในการปรับแตงถนนขนสง รถบรรทุกน้ําสําหรับฉีดพรมบนเสนทางขนสง

ปลูกตนไมบริเวณสองขางทางถนนหลัก
ปายจํากัดความเร็วและปายควบคุมการจราจรภายในเขตพื้นที่เหมือง

ระบบฉีดลางทําความสะอาดตัวรถและลอรถบรรทุก
ถนนที่เกิดฝุนละอองไดงาย

ถนนที่เกิดฝุนละอองไดยาก
Direc c. Re g. Anda luci a Occ .

¾ Landscaped areas
¾ Watering system
มอบทุนการศึกษาแกโรงเรียนในชุมชน มอบเงินสนับสนุนการจัดกิจกรรมวันเด็ก

โครงปรับปรุงศาสนสถานในชุมชน รวมกิจกรรมงานประเพณีทําบุญกับชุมชน
ตูรับเรื่องราวรองทุกขผลกระทบจากการทําเหมือง
ประเด็นปญหา

1. ผูประกอบการเขาใจวา EIA เปนเพียงขั้นตอนหนึ่งในการ


อนุญาตประทานบัตรเทานั้น
2. ผูประกอบการไมทราบมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบ
สิ่งแวดลอมและการติดตามตวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม
3. ขาดความเขาใจเกี่ยวกับการดําเนินการตามมาตรการที่
กําหนด
4. ไมใหความสําคัญกับมาตรการที่กําหนด
ประโยชนของการปฏิบัติตามมาตรการที่กาํ หนด
1. ลดตนทุนการผลิต
2. ความปลอดภัย/อยูในสภาพแวดลอมที่ดี
3. ภาพลักษณของสถานประกอบการ
4. ลดปญหาการรองเรียน
5. ความไววางใจจากภาครัฐ
ขอเสนอแนะ
• ทบทวนการดําเนินงานที่ผานมาไดปฏิบัติตามมาตรการปองกัน
และแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอมครบถวนหรือไม
• วิ เ คราะห ป ญ หาอุ ป สรรคเกี่ ย วกั บ มาตรการป อ งกั น และแก ไ ข
ผลกระทบสิ่งแวดลอม หากมาตรการใดไมเปนไปในทางปฏิบัติให
ขอทบทวน
• ควรติ ด ตามตรวจสอบคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล อ มและรายงานผลการ
ดําเนินงานตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม
ให สผ. และ กพร. ตามเงื่อนไขที่กําหนด
• ศึ ก ษาและทํ า ความเข า ใจรายงานการวิ เ คราะห ผ ลกระทบ
สิ่งแวดลอมของโครงการ
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
มาตรา 67 สิทธิของบุคคลที่จะมีสวนรวมกับรัฐและชุมชน
ในการอนุ รั ก ษ บํ า รุ ง รั ก ษา และการได ป ระโยชน จ าก
ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ และ
ในการคุมครอง สงเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม
เพื่อใหดํารงชีพอยูไดอยางปกติและตอเนื่องในสิ่งแวดลอมที่
จะไมกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือ
คุ ณ ภาพชี วิ ต ของตน ย อ มได รั บ ความคุ ม ครองตามความ
เหมาะสม
มาตรา 67 วรรคสอง การดําเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจ
กอ ให เ กิ ด ผลกระทบต อ ชุม ชนอย า งรุ น แรงทั้ ง ทางด า นคุ ณ ภาพ
สิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ จะกระทํามิได
เวนแตจะไดศึกษาและประเมินผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอม
และสุขภาพของประชาชนในชุมชน และจัดใหมีกระบวนการรับ
ฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสียกอน รวมทั้งได
ให อ งค ก ารอิ ส ระซึ่ ง ประกอบด ว ยผู แ ทนองค ก ารเอกชนด า น
สิ่ ง แวดล อ มและสุ ข ภาพและผู แ ทนสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาที่ จั ด การ
การศึ ก ษาด า นสิ่ ง แวดล อ มหรื อ ทรั พ ยากรธรรมชาติ ห รื อ ด า น
สุขภาพ ใหความเห็นประกอบกอนมีการดําเนินการดังกลาว
มาตรา 67 วรรคท า ย สิ ท ธิ ข องชุ ม ชนที่ จ ะฟ อ งหน ว ย
ราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการสวนทองถิ่น
หรือ องคก รอื่นของรัฐ ที่เ ปนนิ ติบุ ค คล เพื่ อ ใหป ฏิ บั ติ หนา ที่
ตามบทบัญญัตินี้ยอมไดรับความคุมครอง
ขอบคุณครับ

You might also like