You are on page 1of 84

SESSION 3-1 1/84

ตัวอยางการออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กตานแผนดินไหว
(โครงตานทานแรงดัดรวมกับกําแพงรับแรงเฉือน)

รศ.ดร.อมร พิมานมาศ
นายภาณุวัฒน จอยกลัด
นายปรีดา ไชยมหาวัน
สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
Email : amorn@siit.tu.ac.th , joy.civil@gmail.com , preeda_sj@hotmail.com

คํานวณ รายละเอียดเหล็กเสริมในคาน เสาและกําแพงรับแรงเฉือนสําหรับอาคารสํานักงานสูง 8


ชั้น ชนิดโครงตานทานแรงดัดรวมกับกําแพงรับแรงเฉือน (Dual System) ดังแสดงใน
รูปที่ 1.1 (ก) และ 1.1 (ข)

มาตรฐาน (1) กฏกระทรวง กําหนดการรับน้ําหนัก ความตานทาน ความคงทนของอาคารและ


พื้นที่รองรับอาคารในการตานทานแรงสั่นสะเทือนของแผนดินไหว ฉบับป พ.ศ.
2550 (เอกสารแนบ 1)
(2) การออกแบบอาคารเพื่อตานทานการสั่นสะเทือนและแผนดินไหว (มยผ. 1301-50)
(3) มาตรฐานสําหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกําลัง (วสท.1008-38)
(4) Building Code Requirements for Structural Concrete (ACI318-99)

เงื่อนไข ออกแบบใหเปนโครงตานทานแรงดัดที่มีความเหนียวจํากัด (Ductile Moment-


Resisting Frame with Limited Ductility) ใน “บริเวณที่ 1” ตามกฎกระทรวงฉบับ
ป พ.ศ.2550 โดยกําแพงรับแรงเฉือนไมมีรายละเอียดการเสริมเหล็กพิเศษ (Ordinary
Design Shearwall)

น้ําหนักบรรทุก (1) หนวยน้ําหนักของคอนกรีตเพื่อคํานวณน้ําหนักบรรทุกคงที่ (Dead Load) ใชเทากับ


2,400 กก./ม.3
(2) น้ําหนักบรรทุกจร (Live load) สําหรับชั้นทั่วไปเทากับ 300 กก./ม.2
(3) น้ําหนักบรรทุกจรชั้นหลังคาเทากับ 150 กก./ม.2
(4) น้ําหนักบรรทุกคงที่เพิ่มเติม (Super Imposed Dead Load) สําหรับชั้นทั่วไปเทากับ
100 กก./ม.2
(5) น้ําหนักบรรทุกเพิ่มเติมชั้นหลังคาเทากับ 50 กก./ซม.2

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 2/84

การรวมแรง กรณีที่ 1 : U = 1.4(DL + SDL) + 1.7LL


กรณีที่ 2 : U = 0.75[1.4(DL + SDL) + 1.7LL ± 1.87EQ]
กรณีที่ 3 : U = 0.9(DL + SDL) ± 1.43EQ

เมื่อ DL = น้ําหนักบรรทุกคงที่
LL = น้ําหนักบรรทุกจร
SDL = น้ําหนักบรรทุกคงที่เพิ่มเติม
EQ = แรงกระทําจากแผนดินไหว

กําลังของวัสดุ (1) กําลังอัดประลัยของคอนกรีตรูปทรงกระบอกที่ 28 วัน ( f c′ ) เทากับ 240 กก./ซม.2


(2) กําลังที่จุดครากของเหล็กเสริมขอออย ( f y ) เทากับ 4,000 กก./ซม.2
(3) กําลังที่จุดครากของเหล็กเสริมกลม ( f y ) เทากับ 2,400 กก./ซม.2

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 3/84

1. บทนํา (Introduction)
การออกแบบอาคารตานแผนดินไหวในเอกสารฉบับนี้ จะคํานวณแรงแผนดินไหวที่กระทําตอ
โครงสรางดวยวิธี แรงสถิตเทียบเทา (Equivalent Static Force) ตามขอกําหนดของกฎกระทรวง ฉบับป
2550 (ดูเอกสารแนบ 1) เนื่องจากโครงสรางมีความสม่ําเสมอ (Regular structure) อีกทั้งยังมีความสูง
นอยกวา 73 เมตร
การวิเคราะหผลตอบสนองตางๆของอาคารในตัวอยางนี้จะกระทําในระบบโครง 3 มิติ ดวย
โปรแกรมคอมพิวเตอร อยางไรก็ดีเทคนิคในการยนรูปแบบการวิเคราะห (Reduction Techniques) จาก
ระบบ 3 มิติ ไปเปน 2 มิติ สําหรับกรณีที่อาคารไมไดรับผลกระทบจากการบิดก็ไดแสดงไวเพื่อเปน
แนวทางในการวิเคราะหหาขนาดโดยคราวขององคอาคารตางๆ (Prelimetary analysis) ทั้งนี้การ
วิเคราะห (ทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติ) จะพิจารณาใหแรงกระทําตออาคารในทิศทาง X เปนหลัก (รูปที่ 1.1 (ก)
และ 1.1 (ข)) เนื่องจากเปนทิศที่โครงสรางมีความแข็งแกรงนอยกวาอีกดานหนึ่ง
ในเบื้องตนจะทําการสมมุติขนาดขององคอาคารตางๆ เพื่อใชในการประมาณน้ําหนักโครงสราง
ดังนี้ (1) คานขนาด 0.25 × 0.50 ม. (2) เสาสี่เหลี่ยมจตุรัสขนาด 0.60 × 0.60 ม. (3) กําแพงรับแรง
เฉือนหนา 0.20 ม. และ (4) พื้นเทในที่หนา 0.15 ม.
A B C D E F
Y

C1 C1 C1 W 1 C1 C1 C1
9
BT1 BT 2 BT 2 BT 1
BL1 BL1 BL1 BL 1 BL 1 BL1

C1 C1 C1 C1 C1 C1
8
BT1 BT 2 BT 2 BT 2 BT 1

BL2 BL2 BL2 BL 2 BL 2 BL2

C1 C1 C1 W1 C1 C1 C1
7
BT1 BT 2 BT 2 BT 1

BL2 BL2 BL2 BL 2 BL 2 BL2

C1 C1 C1 C1 C1 C1
6
BT1 BT 2 BT 2 BT 2 BT 1

BL2 BL2 BL2 BL 2 BL 2 BL2


C1 C1 C1 W1 C1 C1 C1
5 X
BT1 BT 2 BT 2 BT 1

BL2 BL2 BL2 BL 2 BL 2 BL2

C1 C1 C1 C1 C1 C1
4
BT1 BT 2 BT 2 BT 2 BT 1
BL2 BL2 BL2 BL 2 BL 2 BL2

C1 C1 C1 W1 C1 C1 C1
3
BT1 BT 2 BT2 BT1

BL2 BL2 BL2 BL 2 BL 2 BL2


C1 C1 C1 C1 C1 C1
2
BT1 BT2 BT2 BT2 BT1

BL1 BL1 BL1 BL 1 BL 1 BL1

C1 C1 C1 W1 C1 C1 C1
1
BT1 BT2 BT2 BT1

รูปที่ 1.1 (ก) แปลนของอาคารตัวอยาง

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 4/84

A B C D E F A B C D E F

Roof +29.00

8th +25.50

7th +22.00

6th +18.50

5th +15.00
W1
4th +11.50

3th +8.00

2th BT1 BT2 BT2 BT1 +4.50 BT1 BT2 BT2 BT2 BT1

C1 C1 C1 C1 C1 C1 C1 C1 C1 C1 C1 C1
+0.00
Line 1 3 5 7 9 Line 2 4 6 8

รูปที่ 1.1 (ข1) ระดับของอาคารตัวอยาง


1 2 3 4 5 6 7 8 9

BL1 BL2 BL2 BL2 BL2 BL2 BL2 BL1

C1 C1 C1 C1 C1 C1 C1 C1 C1

Line A F

รูปที่ 1.1 (ข2) ระดับของอาคารตัวอยาง (ตามยาว)

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 5/84

2. การวิเคราะหแรงสถิตเทียบเทา (Equivalent Static Force)


เปนการคํานวณหาแรงที่เกิดจากแผนดินไหวตามขอบังคับของกฎกระทรวงฯ ซึ่งจะเริ่มคํานวณ
แรงเฉือนที่ฐานในรูปรอยละของน้ําหนักอาคาร (Weight of structure) และกระจายแรงดังกลาวไปเปนแรง
กระทําในแตละชั้นของอาคาร ซึ่งมีลําดับขั้นในการคํานวณดังนี้

2.1 คํานวณหาน้ําหนักของอาคาร (Weight of Structure, W)


สําหรับน้ําหนักของโครงสรางในชั้นทั่วๆไป (Typical floor) สามารถคํานวณโดยการรวมน้ําหนัก
ของ พื้น คาน กําแพงอิฐกอและครึ่งของเสาทั้งดานบนและดานลางของแตละชั้นจะได

(ก) พื้นคอนกรีตหนา 0.15 ซม. คิดเปนน้ําหนักเฉลี่ยตอพื้นที่ เทากับ 360.00 กก./ม.2


(ข) น้ําหนักเฉลี่ยตอพื้นที่ของกําแพงอิฐกอ (สูง 3.00 ม.) ประมาณ 237.60 กก./ม.2
(ค) น้ําหนักเฉลี่ยตอพื้นที่ของคาน ประมาณ 132.00 กก./ม.2
(ง) น้ําหนักเฉลี่ยตอพื้นที่ของน้ําหนักบรรทุกคงที่เพิ่มเติม เทากับ 100.00 กก./ม.2

• รวมน้ําหนักเฉลี่ยตอพื้นที่ในแตละชั้นทั่วๆไปจะได

w DL = 360.00 + 237.60 + 172.00 + 100.00 = 829.60 กก./ม.2

รวมผลของน้ําหนักบรรทุกจร 30% นั่นคือ w 0.3LL = 0.30 × 300 = 90.00 กก./ม.2


รวมน้ําหนักแผในชั้นทั่วไป (2 – 12) จะได wi = 829.60 + 90 = 919.60 กก./ม.2

• รวมน้ําหนักแผของเสา จํานวน 54 ตน (ใน 1 ชั้น ) จะได

wcol = 0.60 × 0.60 × 54 × 2.40 = 46.66 ตัน/ม.

• รวมน้ําหนักแผของกําแพงรับแรงเฉือน จํานวน 5 ตัน (ใน 1 ชั้น ) จะได

w wll = (5 − 0.60) × 0.20 × 5 × 2.40 = 10.56 ตัน/ม.

• รวมน้ําหนักเสาและกําแพงรับแรงเฉือน สูง 1.75 + 1.75 ม. (รวมเทากับ 3.50 ม.) จะได

wc +wll = 3.5 × (46.56 + 10.56) = 200.27 ตัน/ม.

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 6/84

พื้นที่ใน 1 ชั้น เทากับ 40 × 25 = 1,000.00 ม.2


น้ําหนักคงที่ของชั้นทั่วๆไป เทากับ W Di = 0.830 × 1,000 + 200.27 = 1,030.27 ตัน
น้ําหนักจรของชั้นทั่วๆไป เทากับ W Li = 0.09 × 1,000 = 90 ตัน
รวมน้ําหนักทั้งหมด จะได Wi = 1,030.27 + 90.00 = 1,120.27 ตัน

หมายเหตุ (1) ความสูงของกําแพงกอ 3.00 เมตร คํานวณจากการหักลบความลึกคาน (รวม


ความหนาพื้น) ออกจากความสูงพื้นถึงพื้นในแตละชั้น

h brick = 3.50 − 0.500 = 3.00 ม.

(2) น้ําหนักเฉลี่ยตอพื้นที่ของกําแพงอิฐกอคํานวณจาก ความสูง 3.00 ม. คูณกับ


หนวยน้ําหนักของกําแพง 180 กก./ม.2 และความยาวคานทั้งหมด โดยทั้งหมด
หารดวยพื้นที่ของอาคาร (หักลบความยาวของกําแพงรับแรงเฉือน) ดังนี้

(25 × 9 + 40 × 6 − 5 × 5) × 3.00 × 180


wbrick = = 237.60 กก./ม.2
40 × 25

(3) น้ําหนักเฉลี่ยตอพื้นที่ของคานคํานวณจากปริมาตรของคานคูณกับหนวยน้ําหนัก
คอนกรีตและหารดวยพื้นที่ของอาคาร ดังนี้

0.25 × 0.50 × 2,400 × (25 × 9 + 40 × 6 − 5 × 5)


wbeam = = 132.00 กก./ม.2
40 × 25

(4) ในกรณีของชั้นหลังคาจะไมคิดน้ําหนักจากกําแพงอิฐกอและคิดน้ําหนักของเสาและ
กําแพงรับแรงเฉือนเพียงครึ่งหนึ่ง (ครึ่งลาง) โดยคาของน้ําหนักในชั้นตางๆแสดงไว
ใน ตารางที่ 2.1 ดังนี้

หมายเหตุ การคิดพื้นที่และความยาวขององคอาคารเพื่อใชในการประมาณน้ําหนักของโครงสรางนี้
จะพิจารณาคามากเพื่อความปลอดภัยในการออกแบบ

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 7/84

ตารางที่ 2.1 การรวมน้ําหนักในแตละชั้นและน้ําหนักรวมทั้งหมดของอาคาร


พื้น+อิฐกอ+คาน+น้ําหนักบรรทุกเพิ่ม+30%น้ําหนักจร เสา + กําแพงรับแรงเฉือน น้ําหนัก
ชั้น รวม
พื้นที่ น้ําหนักแผ น้ําหนัก สูง น้ําหนัก น้ําหนัก (ตัน)
2 2
(ม. ) (ตัน/ม. ) (ตัน) (ม.) (ตัน/ม.) (ตัน)
R 1,000.00 0.542 587 1.75 57.22 100.14 687.14
8 1,000.00 0.830 920 3.50 57.22 200.27 1,120.27
7 1,000.00 0.830 920 3.50 57.22 200.27 1,120.27
6 1,000.00 0.830 920 3.50 57.22 200.27 1,120.27
5 1,000.00 0.830 920 3.50 57.22 200.27 1,120.27
4 1,000.00 0.830 920 3.50 57.22 200.27 1,120.27
3 1,000.00 0.830 920 3.50 57.22 200.27 1,120.27
2 1,000.00 0.830 920 4.00 57.22 228.88 1,148.88
รวมน้ําหนักของอาคารเทากับ ( ∑ ) 8,557.64

หมายเหตุ (1) เนื่องจากชั้นที่ 1 ของอาคารไมไดมีการเคลื่อนตัวจึงไมนําน้ําหนักมาคิดรวม


(2) * คํานวณมาจากการแบงครึ่งความสูงเสาชั้นบนและลางของพื้นชั้น 2

2.2 ประมาณคาบธรรมชาติของโครงสราง (Natural Period of Structure, T )


คาบธรรมชาติสําหรับอาคารทั่วไป สามารถคํานวณไดตาม (2-1) หรือดูหัวขอที่ 10 ของกฎ
กระทรวงฯ (ดูเอกสารแนบ 1)

0.09h n
T = (2-1)
D

เมื่อความสูงทัง้ หมดของอาคาร ( hn ) คือ 29.00 ม. และความกวางของโครงสราง ( D ) ในทิศทางที่


พิจารณามีคาเทากับ 25.00 ม. จะได

0.09 × 29
T = = 0.52 วินาที
25

2.3 คํานวณแรงเฉือนที่ฐาน (Base Shear, V )


คาแรงเฉือนที่ฐานคํานวณไดตาม (2-2) หรือดูขอ 6 ของกฏกระทรวงฯ ซึ่งดัดแปลงมาจาก
มาตรฐาน UBC ป ค.ศ.1985 ดังนี้

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 8/84

V = ZIKCSW (2-2)

เมื่อ Z คือ คาสัมประสิทธิ์ความเขมของพื้นดิน ซึ่งตามกฎกระทรวงฯ กําหนดเทากับ


0.19 สําหรับบริเวณที่ 1 (ดูเอกสารแนบ 1)
I คือ ตัวคูณเกี่ยวกับการใชอาคารเทากับ 1.25 สําหรับอาคารที่ชุมนุมคนมากกวา
300 คนขึ้นไป ตามขอ 8 ของกฎกระทรวง (ดูเอกสารแนบ 1)
K คือ สัมประสิทธิ์ของโครงสราง เทากับ 1.00 สําหรับอาคารที่ไมมีความเหนียว
ตามกฎกระทรวงฯ ขอ 9 (ดูเอกสารแนบ 1)
S คือ สัมประสิทธิ์ประสานความถี่ธรรมชาติระหวางอาคารและชั้นดินที่ตั้ง เทากับ
2.50 สําหรับอาคารที่ตั้งอยูบนดินออนมาก (กรุงเทพฯ) ตามกฎกระทรวงฯ ขอ
12 (ดูเอกสารแนบ 1)
C คือ สัมประสิทธิ์ตาม (2.3) หรือดูขอ 11 ตามกฎกระทรวงฯ (ดูเอกสารแนบ 1)

นั่นคือ
1
C = ≤ 0.12 (2-3)
15 T

1
สําหรับ T = 0.52 จะได C= = 0.092
15 0.52

ทั้งนี้ตองพิจารณาผลคูณ CS วามีคามากกวา 0.26 สําหรับดินออนมากหรือไม (ดูกฎกระทรวงฯ ขอที่


12) ดังนั้น

CS = 0.092 × 2.5 = 0.23 ≤ 0.26

ดังนั้น ใช CS = 0.23


แทนคาทั้งหมดเพื่อหาแรงเฉือนที่ฐาน จะได

V = 0.19 × 1.25 × 1.00 × 0.092 × 2.50 × W


= 0.055W ตัน

นั่นคือแรงเฉือนที่ฐานมีคาเทากับรอยละ 5.5 ของน้ําหนักอาคาร และสําหรับ W = 8,557.64 ตัน จะได

V = 0.055 × 8,557.64 = 470.67 ตัน

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 9/84

2.4 กระจายแรงเฉือนในแตละชั้นของอาคาร (Distribution of Base Shear, Fn )


2.4.1 กฎกระทรวงขอที่ 6 (2) กําหนดใหกระจายแรงเฉือนที่ฐานไปเปนแรงกระทําที่ชั้นบนสุดหรือ Ft
สําหรับกรณีที่ T มากกวา 0.70 วินาที ซึ่งคํานวณตามสูตร (2.4) ตอไปนี้

Ft = 0.07TV ≤ 0.25V (2-4)

และใหใช Ft เทากับศูนยในกรณีที่คาบธรรมชาติที่คํานวณไดนอยกวา 0.70 วินาที ดังนั้นในตัวอยางนี้ซึ่ง


มี T = 0.52 วินาที ทําให
Ft = 0

2.4.2 จากกฎกระทรวงขอ 6 (2) ใหกระจายแรงเฉือนที่ฐานไปเปนแรงกระทําดานขางในแตละชั้นตาม


(2-5) ดังนี้

(V − Ft )wn h n
Fn = m
(2-5)
∑ wi h i
i =1

เมื่อ wn , h n คือ น้ําหนักและความสูงของชั้นที่พิจารณาซึ่งวัดจากพื้นดิน และ m คือ จํานวนชั้น


ทั้งหมด ทั้งนี้การคํานวณแรงดังกลาวไดแสดงไวใน ตารางที่ 2.2 ดังนี้

ตารางที่ 2.2 คาแรงทางขางในแตละชั้นและแรงเฉือนในเสาชั้นในพื้น


ชั้น ความสูง น้ําหนักแตละชั้น wn h n แรงทางขาง ( Fn ) แรงเฉือนในเสา
(n ) hn wn ตาม (2-5) ( Vn )
(ม.) (ตัน) (ตัน-ม.) (ตัน) (ตัน)
R 29.00 687.14 19,927.06 68.12 68.12
8 25.50 1,120.27 28,566.89 97.66 165.78
7 22.00 1,120.27 24,645.94 84.25 250.03
6 18.50 1,120.27 20,725.00 70.85 320.87
5 15.00 1,120.27 16,804.05 57.44 378.32
4 11.50 1,120.27 12,883.11 44.04 422.36
3 8.00 1,120.27 8,962.16 30.64 453.00
2 4.50 1,148.88 5,169.96 17.67 470.67
รวม 8,557.64 137,684.17 470.67

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 10/84

m
หมายเหตุ จาก ตารางที่ 2.2 คา ∑ wi h i มีคาเทากับ 137,684.17 ตัน-ม. ทั้งนี้ควรมีการ
i =1

ตรวจสอบผลรวมของแรงทางขางในทุกชั้นซึ่งตองมีคาเทากับแรงเฉือนที่ฐาน

เนื่องจากแรงแผนดินไหวเปนแรงที่เกิดจากน้ําหนักของตัวโครงสราง ดังนั้นแรงที่เกิดขึ้นจากการ
กระจายแรงเฉือนที่ฐานเขาไปยังแตละชั้นของอาคาร (หลักที่ 5 ของตารางที่ 2.2) จึงถูกกําหนดใหกระทํา
อยูที่ตําแหนง จุดศนยกลางมวล (Center of mass, CM) ในแตละชั้นของอาคาร ดังแสดงในรูปที่ 2.1

y
68.12 T
97.66 T
84.25 T
70.85 T
57.44 T
44.04 T
30.64 T
17.67 T

รูปที่ 2.1 การกระจายแรงทางขางในแตละขั้นของอาคารเขาสูแนวของ CM

อยางไรก็ดีมาตรฐาน UBC มีขอแนะนําเกี่ยวกับโครงสรางประเภท Dual system ไววา “ตัวโครง


ดัดเพียงอยางเดียวตองสามารถรับแรงเฉือนที่ฐานซึ่งคิดเปนรอยละ 25 ของแรงเฉือนที่ฐานทั้งหมดได” ซึ่ง
เปนการพิจารณาถึงความปลอดภัยสําหรับกรณีที่กําแพงรับแรงเฉือนมีประสิทธิภาพดอยกวาความเปน
จริง ดังนั้นการวิเคราะหเบื้องตนเพื่อหาแรงเฉือนที่ฐานในสวนของ (1) กําแพงรับแรงเฉือนเพียงอยาง
เดียว และ (2) โครงดัดเพียงอยางเดียว จึงตองทําการพิจารณาเปนอันดับแรก

การพิจารณาเบื้องตนนี้จะกระทําในระบบ 2 มิติ โดยจะแยกโครงที่มีกาํ แพงรับแรงเฉือนรวมกับ


โครงดัด (แนว 1, 3, 5, 7 และ 9 ของรูปที่ 1.1 (ก)) และโครงดัดเพียงอยางเดียว (แนว 2, 4, 6 และ 8
ของรูปที่ 1.1 (ก)) ออกจากกัน ดังแสดงในรูปที่ 2.2 ทั้งนี้หากตองการจะใชแรงกระทําทั้งหมดตามที่
คํานวณไดจากตารางที่ 2.2 ก็ใหนําคุณสมบัติของหนาตัด คือ พื้นที่ (A), พื้นที่รับแรงเฉือน (Shear area)
และ โมเมนตความเฉื่อย (I) เปนจํานวนเทากับจํานวนของโครงในแตละแบบ เชน ในโครงที่มีกําแพงรับ
แรงเฉือนก็ใหคูณดวย 5 สวนโครงดัดเปลาๆ ก็ใหคูณดวย 4 และใหใชชิ้นสวนที่ไมถายแรงดัดซึ่งมีความ

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 11/84

แข็งสูง (Rigid links) เชื่อมระหวางโครงสรางทั้งสองแบบ เพื่อทําหนาที่เสมือนเปน floor diagphragm ยึด


ใหโครงสรางทั้งสองเคลื่อนที่ไปดวยกัน

Rigid Link
Roof
68.12 T

8th
97.66 T

7th
84.25 T

6th
70.85 T
5th
57.44 T

44.04 T 4th

30.64 T 3th

17.67 T 2th

Line 1 3 5 7 9 Line 2 4 6 8

5x(Cross-section area , Moment of Inertia, Shear area) 4x(Cross-section area , Moment of Inertia, Shear area)

รูปที่ 2.2 การวิเคราะหแรงเฉือนที่ฐานใน 2 มิติ โดยใช Rigid links

การวิเคราะหผลตอบสนองเปรียบเทียบระหวางโครงสรางในระบบ 2 มิติ (รูปที่ 2.2) และ


โครงสรางในระบบ 3 มิติ (รูปที่ 2.1) ของโครงทั่วไปไดแสดงไวในรูปที่ 4.1 ซึ่งจากการคํานวณแรงเฉือน
ในเสาและแรงเฉือนในกําแพงรับแรงเฉือนของโครงสรางแตละประเภท (ตารางที่ 2.3) พบวา

• ในสวนของกําแพงรับแรงเฉือนเพียงอยางเดียวมีแรงเฉือนที่ฐานเทากับ 392.74 ตัน


• ในสวนของโครงดัดเพียงอยางเดียวมีแรงเฉือนที่ฐานเทากับ 77.93 ตัน
• รวมเทากับ 392.74 + 77.93 = 470.67 ตัน ซึ่งคิดเปนรอยละ 83.44 และ 16.56 ตามลําดับ

แสดงใหเห็นวาโครงดัดเพียงอยางเดียวรับแรงเฉือนที่ฐานไปเพียง 16.66% ของแรงเฉือนที่ฐานที่


เกิดขึ้นทั้งหมด ดังนั้นจากขอแนะนําของ UBC จึงตองพิจารณากรณีที่โครงดัดเพียงอยางเดียวรับแรง
เฉือนที่ฐานเทากับ 25% ของแรงเฉือนทั้งหมด โดยในทายที่สุดคาผลตอบสนองตางๆของโครงสรางไมวา
จะเปน แรงตามแนวแกน (Axial force) แรงดัด (bending moment) และแรงเฉือน (shear force) จะตอง
ทําการวิเคราะหและเลือกคาที่มากกวาระหวางอาคารทั้งสองระบบ (รูปที่ 2.1 และ 2.3) เพื่อนํามาใชเปน
แรงออกแบบ (Design force) สําหรับการออกแบบองคอาคารตางๆตอไป

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 12/84

ตารางที่ 2.3 แรงเฉือนในเสาของโครงสรางแตละประเภทภายใตแรงสถิตเทียบเทาในระบบ 2 มิติ


ชั้น แรงเฉือนในเสา (ตัน) รอยละ (%)
กําแพง + โครงดัด กําแพง โครงดัด กําแพง โครงดัด
R 68.12 41.23 26.89 60.53 39.47
8 165.78 77.05 88.73 46.48 53.52
7 250.03 146.53 103.50 58.60 41.40
6 320.87 211.86 109.01 66.03 33.97
5 378.32 267.35 110.97 70.67 29.33
4 422.36 315.16 107.20 74.62 25.38
3 453.00 357.91 95.09 79.01 20.99
2 470.67 392.74 77.93 83.44 16.56

y
17.03 T
24.42 T
21.06 T
17.71 T
14.36 T
11.01 T
7.66 T
4.42 T

รูปที่ 2.3 โครงดัดรับแรงเฉือน 25% ในระบบ 3 มิติ

2.5 ผลของการบิด (Torsional effects)


เนื่องจากในตัวอยางนี้โครงสรางมีความสมมาตรในแนวแปลนทําให ระยะเยื้อง (Eccentricity, e)
ระหวางจุดศูนยกลางมวลและ จุดศูนยกลางความแข็งเกร็ง (Center of rigidity, CR) จึงมีคาเทากับศูนย
ทําใหในความเปนจริงแลวไมตองพิจารณาผลกระทบเนื่องจากการบิดตัวของโครงสราง แตอยางไรก็ดีเพื่อ
ความปลอดภัยในการออกแบบ มาตรฐาน UBC ไดกําหนดใหเลื่อนจุดศูนยกลางมวลในแตละชั้นของ

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 13/84

อาคารออกไปจากจุดที่คํานวณไดตามทฤษฏีเปนระยะทางเทากับรอยละ 5 ของความยาวดานที่ตั้งฉากกับ
แรงกระทํา (รูปที่ 2.4) เพื่อคํานึงถึงผลของการบิดที่เรียกวา การบิดโดยบังเอิญ (Accidental Torsion)

Mt = F.e
CM,CR CR CM

F e F
F

(ก) จุด CM และ CR อยูตําแหนงเดียวกัน (ข) จุด CM และ CR อยูคนละตําแหนง


รูปที่ 2.4 แสดงผลของการบิดเนื่องจากเกิดระยะเยื้องระหวาง CM และ CR

สําหรับการวิเคราะหโครงสรางในระบบ 3 มิติดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร ผลกระทบที่เกิดขึ้นจาก


การเยื้องศูนยนี้จะถูกกระจายไปยังองคอาคารตางๆของโครงสรางแบบอัตโนมัติตามสติฟเนส (Stiffness,
k ) และระยะทางซึ่งวัดจาก CR ไปยังองคอาคารตางๆ ในแตละชั้นของโครงสราง เชน ในตัวอยางนี้หาก
วิเคราะหอาคารตามแนวขวางหรือตามทิศ X เปนหลัก ดังนั้นก็เพียงแตนําที่แรงกระจายในแตละชั้น (หลัก
ที่ 5 ของตารางที่ 2.2) กระทําเยื้องศูนยออกจากตําแหนงศูนยกลางพื้นเทากับ

e y = 0.05 × D y = 0.05 × 40 = 2.00 ม.

ดังแสดงในรูปที่ 2.4
z
x z
y
CM, CR
x
CM (5%)Dy
y Dy CR
Fn Fn

(ก) ไมคิดผลของการบิดโดยบังเอิญ (ข) คิดผลของการบิดโดยบังเอิญ


รูปที่ 2.4 แรงกระทําในแตละชั้นสําหรับโครงสราง 3 มิติ
ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน
การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 14/84

เนื่องจากความไมสม่ําเสมอของความแข็งแกรงในแตละโครงยอยของอาคารแบบ Dual systems


อีกทั้งรูปแบบการเสียรูปที่แตกตางกันระหวางกําแพงรับแรงเฉือนและโครงดัด ทําใหการวิเคราะหเพื่อ
พิจารณาผลของการบิดโดยบังเอิญ ดวยการกระจายแรงกระทําในแตละชั้นรวม (ในโครง 3 มิติ) ไปเปน
แรงในแตละโครงยอย (ในโครง 2 มิติ) เพื่อพิจารณาผลของการบิด เชนเดียวกับในโครงดัด (Moment
resisting frame) หรือ โครงสรางกําแพงรับแรงเฉือน (Bearing walls system) อาจจะมีความไมถูกตองสูง
โดยผลการเคราะหสําหรับโครงสรางรวมและโครงดัดรับแรงเฉือน 25% ของแรงเฉือนทั้งหมดใน
กรณีที่รวมผลของการบิดโดยบังเอิญ ไดแสดงไวในหัวขอที่ 4

3. การตรวจสอบความมั่นคงของโครงสราง (Structural Stability)


กอนที่จะทําการออกแบบปริมาณเหล็กเสริมในแตละองคอาคาร ควรจะตองตรวจสอบเสถียรภาพ
ของอาคาร เพื่อที่จะแนใจวาภายใตแรงกระทําจากแผนดินไหวผูคนที่อาศัยอยูในอาคารจะไดรับความ
ปลอดภัยภายใตการเสียรูปอยางมากของอาคาร โดยการตรวจสอบแบงเปน 3 ระดับ ดังนี้
3.1 การตรวจสอบการเคลื่อนตัวระหวางชั้น (Interstory drift)
ตามขอกําหนดของ UBC94 ระยะการเคลื่อนตัวระหวางชั้นของอาคาร ( Δ i ) ตองมีคาไมเกินไป
กวาคาที่กําหนดตอไปนี้

⎧ 0.04h i ⎫
• โครงสรางที่ T < 0.70 วินาที Δ i ≤ min⎨ ,0.005h i ⎬ (3-1.1)
⎩ R w ⎭
⎧ 0.03h i ⎫
• โครงสรางที่ T ≥ 0.70 วินาที Δ i ≤ min⎨ ,0.004h i ⎬ (3-1.2)
⎩ R w ⎭

เมื่อ hi คือ ความสูงของชัน้ ที่พิจารณา


Rw คือ คาตัวคูณประกอบดูดซับพลังงาน ซึ่งสําหรับโครงตานทานแรงดัดที่มีความ
เหนียวจํากัดหรือ Intermediate Moment-resisting Frames (เรียกตาม
UBC94) จะมีคาเทากับ 8

คาการเคลื่อนตัวระหวางชั้นของอาคารจะนําผลจากการวิเคราะหอาคารในสามมิติของโครงสราง
รวม สําหรับกรณีที่ไมคิดผลของการบิดโดยบังเอิญ ซึ่งแสดงไวในตารางที่ 3.1

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 15/84

ตารางที่ 3.1 คาการเคลื่อนตัวในแตละชั้นของทั้งอาคารตามทิศ X (โครงรวม – 3 มิติ)


ชั้นที่ การเคลื่อนตัวของชั้น การเคลื่อนตัวระหวางชั้น การเคลื่อนตัวระหวางชั้นที่ยอมให
Δi Δa
(ซม.) (ซม.) (ซม.)
R 1.58 0.21 1.75
8 1.37 0.22 1.75
7 1.14 0.23 1.75
6 0.91 0.23 1.75
5 0.68 0.22 1.75
4 0.46 0.20 1.75
3 0.26 0.16 1.75
2 0.10 0.10 2.25

คาการเคลื่อนตัวที่ยอมใหคํานวณมาจาก (3.1) สําหรับกรณีที่ T < 0.70 วินาที ซึ่งจากการเปรียบหลักที่


3 และ 4 ของตารางที่ 3.1 พบวาโครงสรางผานการตรวจสอบการเคลื่อนตัวทางขาง

3.2 การตรวจสอบการพลิกคว่ํา (Overturn)


เปนการตรวจสอบเสถียรภาพของโครงสราง โดยการเปรียบเทียบแรงทางขางที่กระทําและ
น้ําหนักที่กดลงของโครงสราง ซึ่งเขียนเปนสมการสมดุลของโมเมนตไดเทากับ

MR
F .S . = (3-3)
MO

เมื่อ MO คือ โมเมนตของแรงทางขางรอบจุดที่พิจารณา (โมเมนตพลิกคว่ํา)


MR คือ โมเมนตของน้ําหนักโครงสรางรอบจุดที่พิจารณา (โมเมนตตานการพลิกคว่ํา)

โดยคา F .S . จะตองมีคามากกวาหรือเทากับ 1.50

สําหรับอาคารในรูปที่ 3.1 จะคิดโมเมนตรอบจุด A โดยคาการคํานวณไดแสดงไวในตารางที่ 3.2 ดังนี้

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 16/84

68.12 T

97.66 T

84.25 T

70.85 T
W=8,557.64 T
57.44 T
29 .0
2 5 .5

44.04 T
2 2 .0
18 .5

30.64 T
15. 0
1 1.5

17.67 T
8.0

4 .5

A
5 .0 5.0 5.0 5.0 5.0

รูปที่ 3.1 การตรวจสอบโมเมนตพลิกคว่ํา

ตารางที่ 3.2 การคํานวณคาโมเมนตพลิกคว่ํา (โครงรวม – 3 มิติ)


ชั้นที่ แรงทางขาง ความสูงเพื่อคํานวณโมเมนต โมเมนตพลิกคว่ํา
Fn วัดจากพื้นดินถึงชั้นที่ i MO
(ตัน) (เมตร) (ตัน-เมตร)
R 68.12 29.0 1,975.48
8 97.66 25.5 2,490.21
7 84.25 22.0 1,853.53
6 70.85 18.5 1,310.69
5 57.44 15.0 861.66
4 44.04 11.5 506.47
3 30.64 8.0 245.10
2 17.67 4.5 79.53
ผลรวม ( ∑ ) 9,322.67

นั่นคือ M O = 9,322.67 ตัน-ม.

สําหรับโมเมนตตานการพลิกคว่ําซึ่งคํานวณจากน้ําหนักโครงสรางในรูปที่ 3.1 คูณกับระยะทางซึ่งวัดจาก


กึ่งกลางโครงไปยังจุดที่พิจารณา (จุด A) มีคาเทากับ
ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน
การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 17/84

⎛ 25 ⎞
M R = 8,557.64 × ⎜ ⎟ = 106,970.50 ตัน-ม.
⎝ 2 ⎠

106,970.50
ดังนั้น F .S . = = 11.47 มากกวา 1.50 O.K.
9,322.67

3.3 การตรวจสอบผลกระทบเนื่องจากแรงและการเคลื่อนตัว (P-Δ Effect)


การตรวจสอบผลกระทบที่เกิดจากแรงและการเคลื่อนตัวหรือ P-Δ Effect เปนการตรวจสอบคา
โมเมนตที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากน้ําหนักของโครงสรางแตละชั้นคูณกับระยะการเคลื่อนตัวในแนวราบของแตละ
ชั้น เปรียบเทียบกับคาโมเมนตที่เกิดจากแรงเฉือนที่เกิดจากแผนดินไหวที่กระทํากับเสาในแตละชั้นคูณ
กับความสูงของแตละชั้น ดังนี้

Pi Δ i
θi = (3-4)
Vi h i

เมื่อ θi คือ สัมประสิทธิ์ความมั่นคง (Stability Coefficient) ซึ่งเปนอัตราสวนระหวาง


โมเมนตที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากการเคลื่อนตัวทางขางตอโมเมนตที่เกิดจากแรง
แผนดินไหว หาก θi มีคาไมเกิน 0.10 ไมตองคิดคาโมเมนตที่เพิ่มขึ้นเนื่องจาก
การเคลื่อนตัวทางขาง แตหาก θi มีคามากกวา 0.10 จะตองพิจารณาคา
โมเมนตที่เพิ่มขึ้นจากการเคลื่อนตัวทางขางในการคํานวณออกแบบเสา
Pi คือ น้ําหนักรวมของโครงสรางจากชั้นบนจนถึงชั้นที่พิจารณา ( = ∑ W i )

ทั้งนี้เพื่อใหการออกแบบมีความปลอดภัยมากขึ้นอาจจะนําน้ําหนักบรรทุกจรที่ลดคาแลว เขาไป
รวมกับน้ําหนักบรรทุกตายตัวของโครงสรางได แตเนือ่ งจากในตัวอยางนี้คาน้ําหนักบรรทุกจรมีคานอย
เมื่อเปรียบเทียบกับน้ําหนักบรรทุกคงที่ ดังนั้นจึงจะไมรวมผลของแรงดังกลาวในการคํานวณ โดยใน
ตารางที่ 3.3 แสดงผลของโมเมนตที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากน้ําหนักของแตละชั้นคูณกับการเคลื่อนตัวใน
แนวราบของแตละชั้นเปรียบเทียบกับโมเมนตในแตละชั้นที่เกิดจากแรงแผนดินไหว

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 18/84

ตารางที่ 3.3 สัมประสิทธิ์ความมั่นคง (Stability Coefficient)


ชั้น น้ําหนัก น้ําหนักสะสม การเคลื่อนตัว แรงเฉือน ความสูง θ
ระหวางชั้น
Wi Pi = ∑Wi Δi Vi hi
(ตัน) (ตัน) (ซม.) (ตัน) (ซม.)
R 687.14 687.14 0.21 68.12 350.00 0.0061
8 1120.27 1120.27 0.22 165.78 350.00 0.0042
7 1120.27 1120.27 0.23 250.03 350.00 0.0029
6 1120.27 1120.27 0.23 320.87 350.00 0.0023
5 1120.27 1120.27 0.22 378.32 350.00 0.0019
4 1120.27 1120.27 0.20 422.36 350.00 0.0015
3 1120.27 1120.27 0.16 453.00 350.00 0.0011
2 1148.88 1148.88 0.10 470.67 450.00 0.0005

เนื่องจากแตละคา θ ในหลักที่ 7 ของตารางที่ 3.3 มีคานอยกวา 0.10 ดังนั้นจึงไมตองพิจารณา


ผลกระทบของ P-Δ ในการออกแบบเสา

4. การวิเคราะหโครงสราง (Structural Analysis)


การคํานวณผลตอบสนองของโครงสรางไมวาจะเปน แรงดัด แรงเฉือนและแรงอัด จากการรวม
แรงทั้ง 3 กรณี (ดูเงื่อนไขการออกแบบ) โดยทําการวิเคราะหดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรระบบ 3 มิติ โดย
ในตัวอยางนี้จะเสนอเฉพาะการออกแบบคานชั้นที่ 2 และเสาในชั้นที่ 1 ทั้งชวงนอก (Exterior) และชวงใน
(Interior) เทานั้น สําหรับการออกแบบใชนั้นอื่น ๆ สามารถทําไดในทํานองเดียวกัน ผลการวิเคราะห
โครงสรางคานชั้นที่ 2 และเสาชั้นที่ 1 จากการรวมแรงทั้ง 3 กรณี แสดงไวในตารางที่ 4.1-4.7 ทั้งนี้การ
วิเคราะหโครงสรางในชุดการรวมแรงที่ 2 และ 3 ไดทําการวิเคราะหในกรณีที่แผนดินไหวกระทําใหอาคาร
เอียงไปทางขวาและซาย และเพื่อใหไดผลการวิเคราะหโครงสรางในกรณีที่วิกฤติที่สุดสามารถทําไดดังนี้
ก) สําหรับการออกแบบกําแพงรับแรงเฉือนสําหรับโครงที่ 1, 3, 5 ,7 และ 9
- ชุดการรวมแรงที่ 1 และ 2 ใชผลการวิเคราะหโครงสรางในโครงที่ 7 เนื่องจากมี
น้ําหนักบรรทุกในแนวดิ่งและแรงบิดที่มากที่สุด (ตารางที่ 4.3)
- ชุดการรวมแรงที่ 3 ใชผลการวิเคราะหโครงสรางในโครงที่ 9 เนื่องจากมีน้ําหนัก
บรรทุกในแนวดิ่งนอยที่สุดและมีแรงบิดกระทํามากที่สุด (ตารางที่ 4.3)
ข) สําหรับการออกแบบคาน ใชคาที่มากที่สุดระหวางผลการวิเคราะหโครงสรางที่ไดจากขอ ก.
(ตารางที่ 4.1 และ ตารางที่ 4.4) และผลการวิเคราะหโครงสรางที่ไดจากการใชแรงเฉือนที่ฐาน 25%
กระทํากับโครงสรางระบบโครง คาน เสา (moment resisting frame) ที่ไมมีกําแพงรับแรงเฉือน และคิด
ผลของการบิดโดยบังเอิญ (ตารางที่ 4.6)
ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน
การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 19/84

- ชุดการรวมแรงที่ 1 และ 2 ใชผลการวิเคราะหโครงสรางในโครงที่ 8 เนื่องจากมี


น้ําหนักบรรทุกในแนวดิ่งและแรงบิดที่มากที่สุด (ตารางที่ 4.6)
- ชุดการรวมแรงที่ 3 ใชผลการวิเคราะหโครงสรางในโครงที่ 9 เนื่องจากมีน้ําหนัก
บรรทุกในแนวดิ่งนอยที่สุดและมีแรงบิดกระทํามากที่สุด (ตารางที่ 4.6)
ค) สําหรับการออกแบบเสา ใชคาที่มากที่สุดระหวางผลการวิเคราะหโครงสรางที่ไดจากขอ ก.
(ตารางที่ 4.2 และ ตารางที่ 4.5) และผลการวิเคราะหโครงสรางที่ไดจากการใชแรงเฉือนที่ฐาน 25%
กระทํากับโครงสรางระบบโครง คาน เสา (moment resisting frame) ที่ไมมีกําแพงรับแรงเฉือน และคิด
ผลของการบิดโดยบังเอิญ (ตารางที่ 4.7)
- ชุดการรวมแรงที่ 1 และ 2 ใชผลการวิเคราะหโครงสรางในโครงที่ 8 เนื่องจากมี
น้ําหนักบรรทุกในแนวดิ่งและแรงบิดที่มากที่สุด (ตารางที่ 4.7)
- ชุดการรวมแรงที่ 3 ใชผลการวิเคราะหโครงสรางในโครงที่ 9 เนื่องจากมีน้ําหนัก
บรรทุกในแนวดิ่งนอยที่สุดและมีแรงบิดกระทํามากที่สุด (ตารางที่ 4.7)
รูปที่ 4.2-4.5 แสดงผลการวิเคราะหโครงสราง การเสียรูป โมเมนตดัด แรงเฉือน และแรงตาม
แนวแกน ในโครงที่มีกําแพงรับแรงเฉือน (โครงที่ 1, 3, 5, 7 และ 9) และโครงที่ไมมกี ําแพงรับแรงเฉือน
(โครงที่ 2, 4, 6 และ 8) ตามลําดับ

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 20/84

CL
M= 1.05 Roof M = 1.05 M = 1.04 M= 1.04
V= 1.05 V= 1.05 V = 1.04 V= 1.04

Mb= 1.09 Mb= 1.06


MT= 1.05 MT= 1.05 Stress = 1.13
V= 1.07 V= 1.05
P= 1.05 P= 1.16

M= 1.05 8th M= 1.05 M = 1.04 M= 1.04


V= 1.05 V= 1.05 V = 1.04 V= 1.04

Mb= 1.03 Mb= 1.03


MT= 1.00 MT= 1.02 Stress = 1.05
V= 1.02 V= 1.03
P= 1.05 P= 1.16

M= 1.04 7th M= 1.04 M = 1.03 M= 1.03


V= 1.04 V= 1.04 V = 1.03 V= 1.03

Mb= 1.05 Mb= 1.04


MT= 1.04 MT= 1.04 Stress = 1.07
V= 1.04 V= 1.04
P= 1.04 P= 1.15

M= 1.04 6th M= 1.04 M = 1.03 M= 1.03


V= 1.04 V= 1.04 V = 1.03 V= 1.03

Mb= 1.04 Mb= 1.03


MT= 1.02 MT= 1.03 Stress = 1.13
V= 1.03 V= 1.03
P= 1.04 P= 1.15

M= 1.03 5th M= 1.03 M = 1.03 M= 1.03


V= 1.03 V= 1.03 V = 1.03 V= 1.03

Mb= 1.03 Mb= 1.03


MT= 1.02 MT= 1.03 Stress = 1.08
V= 1.03 V= 1.03
P= 1.04 P= 1.14

M= 1.03 4th M= 1.03 M = 1.03 M= 1.03


V= 1.03 V= 1.03 V = 1.03 V= 1.03

Mb= 1.02 Mb= 1.03


MT= 1.01 MT= 1.02 Stress = 1.06
V= 1.02 V= 1.02
P= 1.04 P= 1.14

M= 1.03 3rd M= 1.03 M = 1.02 M= 1.02


V= 1.03 V= 1.03 V = 1.02 V= 1.02

Mb= 1.05 Mb= 1.04


MT= 0.99 MT= 1.02 Stress = 1.05
V= 1.05 V= 1.03
P= 1.04 P= 1.13

M= 1.01 2nd M = 1.01 M = 1.02 M= 1.02


V= 1.01 V= 1.01 V = 1.02 V= 1.02

Mb= 0.99 Mb= 0.99


MT= 0.90 MT= 0.96
V= 0.97 V= 0.98 Stress = 1.02
P= 1.03 P= 1.13

A B C D

รูปที่ 4.1 (ก) อัตราสวนเปรียบเทียบระหวางผลการวิเคราะหโครงสรางดวยระบบ 2 มิติแบบใช Rigid


Link กับ 3 มิติกรณีไมคิดการบิด (สําหรับโครงที่ 1, 3, 5, 7 และ 9)

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 21/84

CL
M= 1.04 Roof M = 1.05 M = 0.98 M= 0.96 M = 1.25
V= 1.05 V= 1.05 V = 0.97 V= 0.97 V = 1.25

Mb= 1.08 Mb= 1.02 Mb= 1.12


MT= 1.04 MT= 1.00 MT= 1.10
V= 1.06 V= 1.01 V= 1.11
P= 1.05 P= 1.05 P= 1.03

M= 1.03 8th M= 1.03 M = 0.98 M= 0.98 M = 1.20


V= 1.03 V= 1.03 V = 0.98 V= 0.98 V = 1.20

Mb= 1.02 Mb= 1.00 Mb= 1.07


MT= 0.99 MT= 0.99 MT= 1.04
V= 1.01 V= 0.99 V= 1.06
P= 1.04 P= 1.02 P= 1.04

M= 1.03 7th M= 1.03 M = 0.98 M= 0.98 M = 1.18


V= 1.03 V= 1.03 V = 0.98 V= 0.98 V = 1.18

Mb= 1.04 Mb= 1.01 Mb= 1.08


MT= 1.03 MT= 1.00 MT= 1.07
V= 1.03 V= 1.01 V= 1.07
P= 1.04 P= 1.05 P= 1.01

M= 1.03 6th M= 1.03 M = 0.98 M= 0.98 M = 1.16


V= 1.03 V= 1.03 V = 0.98 V= 0.98 V = 1.16

Mb= 1.03 Mb= 1.01 Mb= 1.06


MT= 1.01 MT= 1.00 MT= 1.06
V= 1.02 V= 1.00 V= 1.06
P= 1.03 P= 1.04 P= 1.02

M= 0.82 5th M= 0.82 M = 0.79 M= 0.79 M = 0.91


V= 0.82 V= 0.82 V = 0.79 V= 0.79 V = 0.91

Mb= 1.03 Mb= 1.01 Mb= 1.06


MT= 1.01 MT= 1.00 MT= 1.06
V= 1.02 V= 1.00 V= 1.06
P= 1.03 P= 1.03 P= 1.03

M= 1.02 4th M= 1.02 M = 0.99 M= 0.99 M = 1.12


V= 1.02 V= 1.02 V = 0.99 V= 0.99 V = 1.12

Mb= 1.02 Mb= 1.01 Mb= 1.04


MT= 1.00 MT= 0.99 MT= 1.05
V= 1.02 V= 1.00 V= 1.05
P= 1.03 P= 1.04 P= 1.06

M= 1.02 3rd M= 1.02 M = 0.99 M= 0.99 M = 1.11


V= 1.02 V= 1.02 V = 0.99 V= 0.99 V = 1.11

Mb= 1.05 Mb= 1.02 Mb= 1.05


MT= 0.95 MT= 0.98 MT= 1.06
V= 1.04 V= 1.01 V= 1.05
P= 1.03 P= 1.04 P= 1.02

M= 1.01 2nd M = 1.01 M = 0.99 M= 0.99 M = 1.08


V= 1.01 V= 1.01 V = 0.99 V= 0.99 V = 1.08

Mb= 0.99 Mb= 0.99 Mb= 1.00


MT= 1.05 MT= 1.07 MT= 1.07
V= 0.97 V= 0.97 V= 0.98
P= 1.03 P= 1.02 P= 1.03

A B C D

รูปที่ 4.1 (ข) อัตราสวนเปรียบเทียบระหวางผลการวิเคราะหโครงสรางดวยระบบ 2 มิติแบบใช Rigid


Link กับ 3 มิติกรณีไมคิดการบิด (สําหรับโครงที่ 2, 4, 6 และ 8)
ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน
การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 22/84

ชุดการรวมแรงที่ 1 {U=1.4(DL+SDL)+1.7LL}

ชุดการรวมแรงที่ 2 กรณีอาคารเอียงไปทางขวา ชุดการรวมแรงที่ 2 กรณีอาคารเอียงไปทางซาย


{U=0.75[1.4(DL+SDL)+1.7LL+1.87EQ]} {U=0.75[1.4(DL+SDL)+1.7LL+1.87EQ]}

ชุดการรวมแรงที่ 3 กรณีอาคารเอียงไปทางขวา ชุดการรวมแรงที่ 3 กรณีอาคารเอียงไปทางซาย


{U=0.9[DL+SDL]+1.43EQ} {U=0.9[DL+SDL]+1.43EQ}
รูปที่ 4.2 (ก) การแอนตัว (Elastic Curve) สําหรับโครง 1, 3, 5, 7 และ 9
ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน
การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 23/84

ชุดการรวมแรงที่ 1 {U=1.4(DL+SDL)+1.7LL}

ชุดการรวมแรงที่ 2 กรณีอาคารเอียงไปทางขวา ชุดการรวมแรงที่ 2 กรณีอาคารเอียงไปทางซาย


{U=0.75[1.4(DL+SDL)+1.7LL+1.87EQ]} {U=0.75[1.4(DL+SDL)+1.7LL+1.87EQ]}

ชุดการรวมแรงที่ 3 กรณีอาคารเอียงไปทางขวา ชุดการรวมแรงที่ 3 กรณีอาคารเอียงไปทางซาย


{U=0.9[DL+SDL]+1.43EQ} {U=0.9[DL+SDL]+1.43EQ}
รูปที่ 4.2 (ข) การแอนตัว (Elastic Curve) สําหรับโครง 2, 4, 6 และ 8
ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน
การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 24/84

ชุดการรวมแรงที่ 1 {U=1.4(DL+SDL)+1.7LL}

ชุดการรวมแรงที่ 2 กรณีอาคารเอียงไปทางขวา ชุดการรวมแรงที่ 2 กรณีอาคารเอียงไปทางซาย


{U=0.75[1.4(DL+SDL)+1.7LL+1.87EQ]} {U=0.75[1.4(DL+SDL)+1.7LL+1.87EQ]}

ชุดการรวมแรงที่ 3 กรณีอาคารเอียงไปทางขวา ชุดการรวมแรงที่ 3 กรณีอาคารเอียงไปทางซาย


{U=0.9[DL+SDL]+1.43EQ} {U=0.9[DL+SDL]+1.43EQ}
รูปที่ 4.3(ก) ผังโมเมนตดัด (Bending Moment Diagram) สําหรับโครง 1, 3, 5, 7 และ 9
ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน
การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 25/84

ชุดการรวมแรงที่ 1 {U=1.4(DL+SDL)+1.7LL}

ชุดการรวมแรงที่ 2 กรณีอาคารเอียงไปทางขวา ชุดการรวมแรงที่ 2 กรณีอาคารเอียงไปทางซาย


{U=0.75[1.4(DL+SDL)+1.7LL+1.87EQ]} {U=0.75[1.4(DL+SDL)+1.7LL+1.87EQ]}

ชุดการรวมแรงที่ 3 กรณีอาคารเอียงไปทางขวา ชุดการรวมแรงที่ 3 กรณีอาคารเอียงไปทางซาย


{U=0.9[DL+SDL]+1.43EQ} {U=0.9[DL+SDL]+1.43EQ}
รูปที่ 4.3(ข) ผังโมเมนตดัด (Bending Moment Diagram) สําหรับโครง 2, 4, 6 และ 8

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 26/84

ชุดการรวมแรงที่ 1 {U=1.4(DL+SDL)+1.7LL}

ชุดการรวมแรงที่ 2 กรณีอาคารเอียงไปทางขวา ชุดการรวมแรงที่ 2 กรณีอาคารเอียงไปทางซาย


{U=0.75[1.4(DL+SDL)+1.7LL+1.87EQ]} {U=0.75[1.4(DL+SDL)+1.7LL+1.87EQ]}

ชุดการรวมแรงที่ 3 กรณีอาคารเอียงไปทางขวา ชุดการรวมแรงที่ 3 กรณีอาคารเอียงไปทางซาย


{U=0.9[DL+SDL]+1.43EQ} {U=0.9[DL+SDL]+1.43EQ}
รูปที่ 4.4(ก) ผังแรงเฉือน (Shear forced Diagram) สําหรับโครง 1, 3, 5, 7 และ 9
ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน
การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 27/84

ชุดการรวมแรงที่ 1 {U=1.4(DL+SDL)+1.7LL}

ชุดการรวมแรงที่ 2 กรณีอาคารเอียงไปทางขวา ชุดการรวมแรงที่ 2 กรณีอาคารเอียงไปทางซาย


{U=0.75[1.4(DL+SDL)+1.7LL+1.87EQ]} {U=0.75[1.4(DL+SDL)+1.7LL+1.87EQ]}

ชุดการรวมแรงที่ 3 กรณีอาคารเอียงไปทางขวา ชุดการรวมแรงที่ 3 กรณีอาคารเอียงไปทางซาย


{U=0.9[DL+SDL]+1.43EQ} {U=0.9[DL+SDL]+1.43EQ}
รูปที่ 4.4(ข) ผังแรงเฉือน (Shear forced Diagram) สําหรับโครง 2, 4, 6 และ 8

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 28/84

ชุดการรวมแรงที่ 1 {U=1.4(DL+SDL)+1.7LL}

ชุดการรวมแรงที่ 2 กรณีอาคารเอียงไปทางขวา ชุดการรวมแรงที่ 2 กรณีอาคารเอียงไปทางซาย


{U=0.75[1.4(DL+SDL)+1.7LL+1.87EQ]} {U=0.75[1.4(DL+SDL)+1.7LL+1.87EQ]}

ชุดการรวมแรงที่ 3 กรณีอาคารเอียงไปทางขวา ชุดการรวมแรงที่ 3 กรณีอาคารเอียงไปทางซาย


{U=0.9[DL+SDL]+1.43EQ} {U=0.9[DL+SDL]+1.43EQ}
รูปที่ 4.5(ก) ผังแรงตามแนวแกน (Axial Load Diagram) สําหรับโครง 1, 3, 5, 7 และ 9

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 29/84

ชุดการรวมแรงที่ 1 {U=1.4(DL+SDL)+1.7LL}

ชุดการรวมแรงที่ 2 กรณีอาคารเอียงไปทางขวา ชุดการรวมแรงที่ 2 กรณีอาคารเอียงไปทางซาย


{U=0.75[1.4(DL+SDL)+1.7LL+1.87EQ]} {U=0.75[1.4(DL+SDL)+1.7LL+1.87EQ]}

ชุดการรวมแรงที่ 3 กรณีอาคารเอียงไปทางขวา ชุดการรวมแรงที่ 3 กรณีอาคารเอียงไปทางซาย


{U=0.9[DL+SDL]+1.43EQ} {U=0.9[DL+SDL]+1.43EQ}
รูปที่ 4.5(ข) ผังแรงตามแนวแกน (Axial Load Diagram) สําหรับโครง 2, 4, 6 และ 8

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 30/84

ตารางที่ 4.1 โมเมนตดัดประลัยในคานชั้น 2 โครงที่ 7และโครงที่ 9


กรณี คานชวงนอก (Exterior span) คานชวงใน (Interior span)
ขอบเสาตนนอก กลางคาน ขอบเสาตนใน ขอบเสาตนใน กลางคาน
หมายเหตุ
(ตัน-ม) (ตัน-ม) (ตัน-ม) (ตัน-ม) (ตัน-ม)
section a-a section b-b section c-c section d-d section e-e
1 -10.71 5.47 -9.74 -9.12 5.28 โครงที่ 7
2 ขวา -4.50 4.30 -10.66 -2.01 4.63 โครงที่ 7
2 ซาย -11.56 4.28 -3.96 -11.67 4.28 โครงที่ 7
3 ขวา 0.88 2.44 -6.57 2.72 3.31 โครงที่ 9
3 ซาย -6.96 2.32 0.87 -7.99 2.91 โครงที่ 9

ตารางที่ 4.2 แรงอัด แรงดัดและแรงเฉือนประลัย ในเสาชั้น 1 โครงที่ 7 และโครงที่ 9


กรณี เสาตนริม (Exterior Column) เสาตนใน (Interior Column)
แรงอัด แรงดัด แรงเฉือน แรงอัด แรงดัด แรงเฉือน
หมายเหตุ
(ตัน-ม.) (ตัน-ม.)
(ตัน) บน ลาง (ตัน) (ตัน) บน ลาง (ตัน)
1 255.79 3.33 -1.92 -1.31 400.66 -0.19 0.11 0.07 โครงที่ 7
2 ขวา 175.03 3.25 4.39 0.29 291.84 -0.71 6.67 1.85 โครงที่ 7
2 ซาย 208.66 1.75 -7.27 -2.25 309.14 0.43 -6.51 -1.74 โครงที่ 7
3 ขวา 64.40 1.77 5.92 1.04 107.83 -0.71 7.35 2.01 โครงที่ 9
3 ซาย 98.06 0.13 -7.01 -1.79 125.78 0.58 -7.28 -1.97 โครงที่ 9

ตารางที่ 4.3 แรงเฉือน ความเคน และโมเมนตในกําแพงรับแรงเฉือน โครงที่ 9 และโครงที่ 7


แรงเฉือน แรงอัด ความเคนมากที่สุด (ตัน/ม.2)
แรงดัด
กรณี (ตัน) (ตัน) อิลีเมนต อิลีเมนต หมายเหตุ
(ตัน-ม.)
ดานซาย ดานขวา
1 0.00 964 -573 -573 164 โครงที่ 7
2 ขวา 131.62 723 232 -1092 1,941 โครงที่ 7
2 ซาย 131.62 723 -1092 232 1,817 โครงที่ 7
3 ขวา 134.20 441 572 -900 1,674 โครงที่ 9
3 ซาย 134.20 441 -900 572 1,654 โครงที่ 9

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 31/84

th
3

3.5
a b c d e
th
2

4 .5 a b c d e
เสาต"น$$
ริ$ม เสาตน$" ใน
$$
+0 .0

5.0 5.0 5.0 5.0 5.0

Frame 9 and 7

รูปที่ 4.6 ตําแหนงโมเมนตดัดที่ไดจากการวิเคราะหโครงสรางในตารางที่ 4.1 - ตารางที่ 4.3

ตารางที่ 4.4 โมเมนตดัดประลัยในคานชั้น 2 โครงที่ 8


กรณี คานชวงนอก (Exterior span) คานชวงใน (Interior span)
ขอบเสาตนนอก กลางคาน ขอบเสาตนใน ขอบเสาตนใน กลางคาน
หมายเหตุ
(ตัน-ม) (ตัน-ม) (ตัน-ม) (ตัน-ม) (ตัน-ม)
section a-a section b-b section c-c section d-d section e-e
1 -10.72 5.45 -9.78 -10.36 5.24 โครงที่ 8
2 ขวา -4.36 4.30 -10.88 -4.14 4.17 โครงที่ 8
2 ซาย -11.71 4.31 -3.80 -11.40 4.15 โครงที่ 8
3 ขวา -0.78 2.83 -7.79 -0.70 2.72 โครงที่ 8
3 ซาย -8.28 2.77 -0.58 -8.11 2.71 โครงที่ 8

ตารางที่ 4.5 แรงอัด แรงดัดและแรงเฉือนประลัย ในเสาชั้น 1 โครงที่ 8


กรณี เสาตนริม (Exterior Column) เสาตนใน (Interior Column)
แรงอัด แรงดัด แรงเฉือน แรงอัด แรงดัด แรงเฉือน
(ตัน-ม.) (ตัน-ม.)
(ตัน) บน ลาง (ตัน) (ตัน) บน ลาง (ตัน)
1 251.49 3.32 1.91 -1.31 402.20 0.13 -0.08 -0.05
2 ขวา 171.15 3.27 4.65 0.35 299.63 -0.14 6.61 1.69
2 ซาย 206.08 1.71 -7.52 -2.31 303.66 0.33 -6.73 -1.76
3 ขวา 102.06 2.20 5.40 0.80 178.42 -0.19 6.77 1.74
3 ซาย 137.68 0.61 -7.01 -1.91 182.53 0.29 -6.83 -1.78

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 32/84

ตารางที่ 4.6 โมเมนตดัดประลัยในคานชั้น 2 เมื่อใชแรงเฉือนที่ฐาน 25% กระทํากับโครงคาน เสา ที่


ไมมีกําแพงรับแรงเฉือน
กรณี คานชวงนอก (Exterior span) คานชวงใน (Interior span)
ขอบเสาตนนอก กลางคาน ขอบเสาตนใน ขอบเสาตนใน กลางคาน
หมายเหตุ
(ตัน-ม) (ตัน-ม) (ตัน-ม) (ตัน-ม) (ตัน-ม)
section a-a section b-b section c-c section d-d section e-e
1 -10.72 5.45 -9.78 -10.46 5.24 โครงที่ 8
2 ขวา -2.14 4.81 -13.02 -2.27 4.58 โครงที่ 8
2 ซาย -13.95 4.75 -1.65 -13.95 4.75 โครงที่ 8
3 ขวา 3.19 3.69 -8.86 2.90 3.45 โครงที่ 9
3 ซาย -9.29 3.58 3.15 -8.87 3.46 โครงที่ 9

ตารางที่ 4.7 แรงอัด แรงดัดและแรงเฉือนประลัย ในเสาชั้น 1 โครงที่ 7 และโครงที่ 9 เมื่อใหแรงเฉือน


ที่ฐาน 25% กระทํากับโครงคาน เสา ที่ไมมีกําแพงรับแรงเฉือน
กรณี เสาตนริม (Exterior Column) เสาตนใน (Interior Column)
แรงอัด แรงดัด แรงเฉือน แรงอัด แรงดัด แรงเฉือน
หมายเหตุ
(ตัน-ม.) (ตัน-ม.)
(ตัน) บน ลาง (ตัน) (ตัน) บน ลาง (ตัน)
1 251.56 3.32 -1.91 -1.31 403.96 0.16 -0.09 -0.06 โครงที่ 7
2 ขวา 175.42 2.15 10.23 2.02 302.89 -1.87 12.55 3.60 โครงที่ 7
2 ซาย 201.92 2.84 -13.10 -3.99 303.05 2.11 -12.69 -3.70 โครงที่ 7
3 ขวา 68.47 0.58 11.78 2.80 120.07 -2.08 13.31 3.85 โครงที่ 9
3 ซาย 94.07 1.32 -12.88 -3.55 118.81 2.14 -13.35 -3.87 โครงที่ 9

3th
3 .5

a b c d e
th
2

เสาตน" ริ$$
ม$ a b c d e
เสาตน$!ใน$$
4.5

+0.0

5.0 5.0 5.0 5.0 5.0

Frame 8 and 6

รูปที่ 4.7 ตําแหนงโมเมนตดัดที่ไดจากการวิเคราะหโครงสรางในตารางที่ 4.2 - 4.3 และ 4.4


ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน
การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 33/84

ตารางที่ 4.8 การแจกแจงคาแรงอัดและแรงดัดประลัย


หมายเลข แรงอัด แรงดัดรอบแกน x หมายเลข แรงอัด แรงดัดรอบแกน x
(ตัน) (ตัน-ม.) (ตัน) (ตัน-ม.)
1 255.79 3.33 31 402.20 0.13
2 255.79 1.92 32 402.20 0.08
3 175.03 3.25 33 299.63 0.14
4 175.03 4.39 34 299.63 6.61
5 208.66 1.75 35 303.66 0.33
6 208.66 7.27 36 303.66 6.73
7 64.40 1.77 37 178.42 0.19
8 64.40 5.92 38 178.42 6.77
9 98.06 0.13 39 182.53 0.29
10 98.06 7.01 40 182.53 6.83
11 400.66 0.19 41 251.56 3.32
12 400.66 0.11 42 251.56 1.91
13 291.84 0.71 43 175.42 2.15
14 291.84 6.67 44 175.42 10.23
15 309.14 0.43 45 201.92 2.84
16 309.14 6.51 46 201.92 13.10
17 107.83 0.71 47 68.47 0.58
18 107.83 7.35 48 68.47 11.78
19 125.78 0.58 49 94.07 1.32
20 125.78 7.28 50 94.07 12.88
21 251.49 3.32 51 403.96 0.16
22 251.49 1.91 52 403.96 0.09
23 171.15 3.27 53 302.89 1.87
24 171.15 4.65 54 302.89 12.55
25 206.08 1.71 55 303.05 2.11
26 206.08 7.52 56 303.05 12.69
27 102.06 2.20 57 120.07 2.08
28 102.06 5.40 58 120.07 13.31
29 137.68 0.61 59 118.81 2.14
30 137.68 7.01 60 118.81 13.35

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 34/84

5. การออกแบบองคอาคาร
ในหัวขอนี้จะแสดงวิธีการออกแบบองคอาคารที่สําคัญ เชน คาน (Beam) จุดตอ (Beam-column
joint) และเสา (Column) รวมถึงระยะทาบและการหยุดเหล็กเสริม โดยใชหลักการ Capacity Design ซึ่ง
เปนวิธีที่นิยมใชในการออกแบบองคอาคารภายใตแรงแผนดินไหว ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

5.1 การออกแบบคาน
5.1.1 คานชวงนอก (Exterior span) BT1
ออกแบบเหล็กเสริมตานทานโมเมนตลบที่ขอบเสา
เมื่อพิจารณาตารางโมเมนตดัดที่ไดจากการวิเคราะหโครงสรางในคานชวงนอกที่หนาเสา
(ตารางที่ 4.1 4.4 และ 4.6) พบวาโมเมนตลบมากที่สุดมีคาเทากับ 13.95 ตัน-ม. (ตารางที่ 4.6) ดังนั้น
เสริมเหล็กคาน BT1 ดังรูปที่ 5.1 โดยเสริมเหล็กบน 5-DB16 เหล็กลาง 3-DB16 ที่หนาเสา
กําลังตานทานโมเมนตลบของคาน BT1 ที่หนาเสามีคาเทากับ 14.58 ตัน-ม. รายละเอียดการ
คํานวณมีดังนี้ b = 25 ซม., d = 44 ซม., d ′ = 6 ซม. As = 10.05 ซม2, As′ = 6.03 ซม2 เมือ่
2 2
β1 = 0.85 สําหรับ f c′ = 240 กก./ซม. และ f y = 4,000 กก./ซม. และสมมุติใหเหล็กเสริมรับแรงดึงถึง
จุดคราก

0.25 0.25

5-DB16 3-DB16

2-hoop.RB6 2-hoop.RB6
0.50

0.50

4cm 4cm
3-DB16 3-DB16
Column face Mid span
รูปที่ 5.1 หนาตัดคาน BT1

คํานวณพารามิเตอรสําหรับการออกแบบ ดังนี้

As 10.05
ρ= = = 0.0091
bd 25 × 44
A′ 6.03
ρ′ = s = = 0.0055
bd 25 × 44
14 14
ρ min = = = 0.0035
fy 4,000

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 35/84

สําหรับปริมาณเหล็กเสริมสูงสุดที่ยอมใหตามมาตรฐาน วสท. นั่นคือ

ρ max = 0.75ρb (5-1)

เมื่อ
0.85β1 f c′ ⎛ 6,120 ⎞
ρb = ⎜
⎜ 6,120 + f y


(5-2)
fy ⎝ ⎠

แทนคาจะได
0.85 × 0.85 × 240 ⎛ 6,120 ⎞
ρb = ⎜⎜ ⎟⎟ = 0.02622
4,000 ⎝ 6,120 + 4,000 ⎠

ดังนั้นจาก (5-1) จะได


ρ max = 0.0197

เนื่องจาก ρ และ ρ′ มากกวา ρ min และไมเกินคา ρ max จึงใชได

⎛ f ′ ⎞⎛ d ′ ⎞⎛ 6,120 ⎞
( ρ − ρ ′)min = 0.85 β1 f c′ ⎜ c ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟
⎜ f y ⎟⎝ d ⎠⎜ 6,120 − f y ⎟
(5-3)
⎝ ⎠ ⎝ ⎠
⎛ 240 ⎞⎛ 6 ⎞⎛ 6,120 ⎞
= 0.85 × 0.85 × ⎜⎜ ⎟⎟⎜ ⎟⎜⎜ ⎟⎟
⎝ 4,000 ⎠⎝ 44 ⎠⎝ 6,120 − 4,000 ⎠
= 0.017

นั่นคือ ρ − ρ ′ = 0.011 − 0.0073 = 0.0036 < ( ρ − ρ ′)min แสดงวาเหล็กเสริมรับแรงอัดไมถึง


จุดคราก
คํานวณคาความลึกของแนวแกนสะเทิน โดยใชสมมุติวาเหล็กเสริมรับแรงดึงครากแตเหล็กเสริมรับแรงอัด
ไมคราก ดังนี้

c = −R + R 2 + Q (5-4)

เมื่อ
(6,120 As′ − As f y )
R = (5-5)
1.7 f c′bβ1
6,120d ′As′
Q = (5-6)
0.85 f c′bβ1

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 36/84

แทนคาจะได

⎛ 6,120 × 6.03 − 10.05 × 4,000 ⎞


R =⎜ ⎟ = −0.38
⎝ 1.7 × 240 × 25 × 0.85 ⎠

6,120 × 6 × 6.03
และ Q = = 51.08
0.85 × 240 × 25 × 0.85

แทนคาลงใน (5-4) นั่นคือ

c = −(−0.38) + (−0.38)2 + 51.08 = 7.54 ซม.

หรือ a = β1c = 0.85 × 7.54 = 6.41 ซม.


คาความลึกของแนวแกนสะเทินที่คํานวณได จะนําไปคํานวณคาหนวยแรงในเหล็กเสริมรับแรงอัด ดังนี้

⎛c − d′ ⎞
f s′ = ⎜ ⎟ε cu E s ≤ f y (5-7)
⎝ c ⎠

แทนคา c ลงใน (5-7) จะได


7.54 − 6
f s′ = × 6,120 = 1,250 ≤ 4,000 กก./ซม.2 O.K.
7.54

ตองตรวจสอบการครากของเหล็กเสริมรับแรงดึง (5-8) นั่นคือ

⎛ ′⎞
⎜ ρ − ρ′ f s ⎟ < 0.75ρb (5-8)
⎜ f y ⎟⎠

แทนคา (5-8) จะได

⎛ 1,250 ⎞
⎜⎜ 0.0091 − 0.0055 × ⎟ = 0.0074 < 0.0197 ซม./ซม.
⎝ 4,000 ⎟⎠

เงื่อนไขเปนจริง แสดงวาเหล็กเสริมรับแรงดึงถึงจุดคราก (ตรงตามสมมุติ)


ตอมาคํานวณ โมเมนตระบุ (Nominal moment) ของหนาตัด จากโมเมนตรอบเหล็กเสริมรับแรงดึง นั่นคือ

⎛ a⎞
M n = 0.85 f c′ab ⎜ d − ⎟ + As′ f s′ (d − d ′) (5-9)
⎝ 2⎠

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 37/84

แทนคา จะได
⎡ ⎛ 6.41 ⎞ ⎤ 1
M n = ⎢0.85 × 240 × 6.41 × 25 × ⎜ 44 − ⎟ + 6.03 × 1,250 × (44 − 6)⎥
⎣ ⎝ 2 ⎠ ⎦ 100

นั่นคือ M n = 16,201 กก.-ม.


และ φM n = 14.58 ตัน-ม. มากกวา 13.95 ตัน-ม. O.K.
ดังนั้นเสริมเหล็กบน 5-DB16 และเหล็กลาง 3-DB16 ในคาน BT1 ที่หนาเสา

5.1.2 ตรวจสอบกําลังตานทานโมเมนตบวกที่ขอบเสาและที่กลางคาน
กําลังตานทานโมเมนตบวกที่ขอบของจุดตอตองไมนอยกวา 1/3 ของกําลังตานทานโมเมนตลบ
(มยผ. 1301-50 สวนที่ 4 ขอ 4.3.1 เอกสารแนบที่ 2) ซึ่งเมื่อคํานวณแลวได = 14.58 / 3 = 4.86 ตัน-ม.
ซึ่งมีคามากกวาโมเมนตบวกที่ขอบเสาที่ไดจากการวิเคราะหโครงสรางในตารางที่ 4.6 เทากับ 3.19 ตัน-
ม. ดังนั้นเสริมเหล็ก 3-DB16 ดานลางในหนาตัดเดียวกัน เมื่อคํานวณกําลังตานทานโมเมนตบวกจะได
เทากับ 9.04 ตัน-ม. รายละเอียดการคํานวณโมเมนตบวกมีดังนี้ b = 25 ซม., d = 44 ซม., d ′ = 6 ซม.
2 2 2
A s = 6.03 ซม , A s′ = 10.05 ซม เมื่อ β1 = 0.85 สําหรับ f c′ = 240 กก./ซม. และ f y = 4,000
กก./ซม.2 และสมมุติใหเหล็กเสริมรับแรงดึงถึงจุดคราก

คํานวณพารามิเตอรสําหรับการออกแบบ ดังนี้

As 6.03
ρ= = = 0.0055
bd 25 × 44
A′ 10.05
ρ′ = s = = 0.0091
bd 25 × 44
14
ρ min = = 0.0035
4,000

คํานวณ ρ max จาก (5-1) จะได

ρ max = 0.0197

เนื่องจาก ρ และ ρ′ มากกวา ρ min และไมเกินคา ρ max จึงใชได

(ρ − ρ′)min = 0.017

นั่นคือ ρ − ρ ′ = −0.0036 < ( ρ − ρ ′)min แสดงวาเหล็กเสริมรับแรงอัดไมถึงจุดคราก


ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน
การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 38/84

พิจารณา R และ Q เพื่อใชในการคํานวณความลึกของแนวแกนสะเทิน ดังนี้

⎛ 6,120 × 10.05 − 6.03 × 4,000 ⎞


R =⎜ ⎟ = 4.31
⎝ 1.7 × 240 × 25 × 0.85 ⎠

6,120 × 6 × 10.05
และ Q = = 85.13
0.85 × 240 × 25 × 0.85

แทนคาลงใน (5-4) จะได

c = −(4.31) + (4.31)2 + 85.13 = 5.87 ซม.

ดังนั้น a = 0.85 × 5.87 = 4.99 ซม.

คํานวณหนวยแรงในเหล็กเสริมรับแรงอัดจาก (5-7) นั่นคือ

4.31 − 6
f s′ = × 6,120 = − 136 ≤ 4,000 กก./ซม.2 O.K.
4.31

เนื่องจาก f s′ มีคา เปนลบแสดงวาเหล็กเสริมรับแรงอัดกลายเปนเหล็กเสริมรับแรงดึง


⎛d −c ⎞
ตรวจสอบเหล็กเสริมรับแรงดึงมีคามากกวาความเครียดที่จุดครากหรือไมจาก 0.003⎜ ⎟ นั่นคือ
⎝ c ⎠

⎛ 44.00 − 4.31 ⎞ 4,000


0.003⎜ ⎟ = 0.0276 > = 0.01961
⎝ 4.31 ⎠ 204,000

เงื่อนไขเปนจริง แสดงวาเหล็กเสริมรับแรงดึงถึงจุดคราก (ตรงตามสมมุติ)

ตอมาคํานวณโมเมนตระบุของหนาตัด โดยแทนคาลงใน (5-9) จะได

M n = (0.85 × 240 × 4.99 × 25 × (44 − 4.99 / 2) − 10.05 × 136 × (44 − 6))/100

นั่นคือ M n = 10,043 กก.-ม.


หรือ φM n = 9.04 ตัน-ม. มากกวา M u = 3.19 และ 4.86 ตัน-ม. O.K.

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 39/84

จากผลการวิเคราะหโครงสราง โมเมนตบวกที่กลางคานมีคามากที่สุดเทากับ 5.47 ตัน-ม.


(ตารางที่ 4.1) และมยผ.1301-50 (สวนที่ 4 ขอ 4.3.1 เอกสารแนบ 2) กําหนดไววากําลังตานทาน
โมเมนตบวกและโมเมนตลบที่หนาตัดใด ๆ ตลอดความยาวคานจะตองไมนอยกวา 1/5 ของกําลัง
ตานทานโมเมนตสูงสุดที่ขอบของจุดตอที่ปลายทั้งสองของคาน ซึ่งคํานวณไดเทากับ 14.58 /5 = 2.92
ตัน-ม. ดังนั้นเมื่อเสริมเหล็ก 5-DB16 บนและ 3-DB16 ลางที่หนาเสาจะทําใหมีกําลังตานทานโมเมนตลบ
และบวก 14.58 ตัน-ม. และ 9.04 ตัน-ม. ตามลําดับ และเมื่อเสริมเหล็ก 3-DB16 ทั้งดานบนและดานลาง
ที่กลางคาน จะทําใหมีกําลังตานทานโมเมนตลบและบวกเทากันคือ 9.04 ตัน-ม. (รายละเอียดการคํานวณ
มิไดแสดงไว เนื่องจากเหล็กเสริมรับแรงอัดไมถึงจุดคราก เชนเดียวกับรายละเอียดการคํานวณดานบนทํา
ใหกําลังตานทานโมเมนตดัดมีคาเทากัน) ซึ่งมากกวา 5.47 ตัน-ม. และ 2.92 ตัน-ม. O.K.

5.1.3 ตรวจสอบกําลังรับแรงเฉือน
มยผ.1301-50 (สวนที่ 4 ขอ4.2 ในเอกสารแนบ 2) กําหนดไววากําลังรับแรงเฉือนที่ใชออกแบบ
คาน เสาและพื้นสองทางแบบไรคาน สําหรับตานทานแรงสั่นสะเทือนจากแผนดินไหวจะตองไมนอยวา
คาแรงเฉือนที่คํานวณไดจาก ขอ ก หรือ ขอ ข ดังนี้
(ก) แรงเฉือนที่เกิดขึ้นเมื่อแรงดัดที่ปลายขององคอาคารทั้งสองถึงคาโมเมนตระบุรวมกับแรง
เฉือนจากน้ําหนักบรรทุกเนื่องจากแรงโนมถวง (ถามี)
(ข) แรงเฉือนสูงสุดที่ไดจากการรวมน้ําหนักบรรทุกออกแบบ ที่พิจารณาแรงแผนดินไหวเปน 2
เทาของแรงที่กําหนดในกฎหมายควบคุมอาคารวาดวยการกอสรางอาคารในเขตที่อาจไดรับ
แรงสั่นสะเทือนจากแผนดินไหว

ในตัวอยางนี้พิจารณาเฉพาะขอ (ก) เพื่อคํานวณแรงเฉือนที่เกิดขึ้น โดยคํานวณตาม (5-10) นั่นคือ

M n1 + M n 2 w u L c
V ul = + (5-10)
Lc 2

เมื่อ M n1 และ M n 2 โมเมนตระบุในคานจากฝงซายและขวาตามลําดับ โดยในตัวอยางนี้ M n1 และ


M n2 มีคาเทากับ 14.58 / 0.9 = 16.20 ตัน-ม. และ 11.83 / 0.90 = 13.14 ตัน-ม. ตามลําดับ

เมื่อ Lc เปนความยาวคานวัดจากขอบเสาถึงขอบเสา (clear span) ในที่นี้มีคาเทากับ 4.4 ม.


wu เปนน้ําหนักบรรทุกแนวดิ่งจากชุดน้ําหนักบรรทุกรวมระหวางน้ําหนักบรรทุกคงที่
น้ําหนักบรรทุกจร และแรงสั่นสะเทือนจากแผนดินไหว ซึ่งในตัวอยางนี้มีคาเทากับ
น้ําหนักบรรทุกตายตัวจากคาน กําแพง พื้น และ น้ําหนักบรรทุกเพิ่มเติม (WS/3)
= (0.25 × 0.5 × 2400 + 180 × 3.0 + 2 × (360 + 100) × 5 / 3)/1,000 = 2.37 ตัน/ม.
น้ําหนักบรรทุจร มีคาเทากับ = 2 × (300 × 5 / 3)/1000 = 1.00 ตัน/ม. ดังนั้น

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 40/84

wu = 0.75 × (1.4 × 2.37 + 1.7 × 1.00 ) = 3.77 ตัน/ม.

แทนคาลงใน (5-10) จะได

10.04 + 16.20 3.77 × 4.4


Vu = ± = 14.258 ตัน และ 2.330 ตัน
4.4 2

กําลังรับแรงเฉือนโดยคอนกรีตลวน เทากับ

V c = 0.53 f c′ bd (5-11)

A B
Sideway to left Wu=3.77 T/m

Mn1=16.20 T-m Mn2=10.04 T-m


14.258 T 4.4m
2.330 T
A B
Sideway to right Wu=3.77 T/m

Mn1=10.04 T-m Mn2=16.20 T-m


4.4m 14.258 T
2.330 T

รูปที่5.2 การคํานวณแรงเฉือนที่เกิดขึ้นเมื่อแรงดัดที่ปลายขององคอาคารทั้งสองถึงคากําลังโมเมนตระบุ

แทนคา (5-11) จะได

V c = 0.53 240 × 25 × 44 = 9.03 ตัน

แรงเฉือนที่ตองรับดวยเหล็กเสริมเทากับ

φV s = V u − φV c (5-12)

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 41/84

เมื่อแทนคาใน (5-12) จะได φV s = 14.258 − (0.85) × 9.03 = 6.58 ตัน

นั่นคือ V s = 6.58 / 0.85 = 7.74 ตัน


2
ใชเหล็กปลอกขนาด 2-RB6 มม. ( Av = 1.13 ซม. , f vy = 2,400 กก./ซม.2) วางเรียงกันใหมีระยะหาง
เทากับ

Av f v d
s= (5-13)
Vs

1.13 × 2,400 × 44
นั่นคือ s= = 15.41 ซม.
7.74 × 1,000

นอกจากนี้ มยผ.1310-50 (สวนที่ 4 ขอ 4.3.2 (เอกสารแนบ 2)) ระบุระยะเรียงเหล็กปลอกภายในปลาย


คานที่หางจากขอบของจุดรองรับเปนระยะ 2 เทาของความลึกจะตองเสริมเหล็กปลอกที่มีระยะเรียงไม
มากกวาคาดังนี้
⎧d / 4 = 44 / 4 = 11
⎪8d = 12.8
⎪ b
s max =⎨
⎪24dv = 14.4
⎪⎩30

โดยหนวยทั้งหมดเปน ซม.

ดังนั้นเสริมเหล็กปลอกจํานวน 2 เสน ขนาด 6 มม. งอขอ 135 องศา ระยะเรียง 10 ซม. ในชวง
หางจากจุดรองรับจนถึง 1.0 ม. ( 2h )
สําหรับเหล็กปลอกที่อยูนอกชวงจุดหมุนพลาสติก ขอกําหนดของ มยผ.1310-50 สวนที่ 4 ขอ
4.3.3 ระบุวาระยะเรียงมากสุดตองไมเกิน d / 2 = 22 ซม. อีกทั้งกําลังรับแรงเฉือน ( φVn ) ตองมีคา
มากกวาแรงเฉือนที่กระทําหางจากหนาเสาเปนระยะ 2h หรือ 1.0 ม. ซึ่งมีคาเทากับ
V u = 14.258 − 3.77 × 1.0 = 10.49 ตัน และจากการกําหนดเหล็กปลอก 2-RB6 ระยะเรียง 20 ซม.
ซึ่งมีกําลังรับแรงเฉือนของเหล็กปลอก (V s ) เทากับ

Av fv d 1.13 × 2400 × 44
Vs = = = 5.97 ตัน
s 20 × 1,000
นั่นคือ

φV n = φ (V c + V s ) = 0.85 × (9.03 + 5.97) = 12.75 ตัน มากกวา 10.49 ตัน O.K.

ดังนั้นใชเหล็กปลอกขนาด 2-ป RB6@0.20 ม. สําหรับคานที่อยูนอกชวงจุดหมุนพลาสติก


ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน
การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 42/84

5.1.4 ตําแหนงที่จะสามารถหยุดเหล็ก
เพื่อความประหยัดจะคํานวณหาตําแหนงที่จะหยุดเหล็กบน 2 เสน-DB16 สําหรับคานที่มี
โมเมนตลบระบุเทากับ 16.20 ตัน-ม.ทางดานซาย และโมเมนตบวกระบุ 10.04 ตัน-ม.ทางดานขวา และใช
น้ําหนักบรรทุก 0.9 เทาของน้ําหนักบรรทุกตายตัวซึ่งมีคาเทากับ 0.9 × 2.37 = 2.14 ตัน/ม. (รูปที่ 5.3)
ซึ่งพบวาตําแหนงที่สามารถหยุดเหล็กไดโดยที่หนาตัดคานเสริมเหล็ก 4-DB16 ทั้งดานบนและลางมีกําลัง
ตานทานโมเมนตบวก และลบเทากับ 13.14 ตัน-ม. (ในที่นี้ไมไดแสดงรายละเอียดการคํานวณ เนื่องจาก
เหล็กเสริมบนไมถึงจุดครากเชนเดียวกับหนาตัดคานที่ขอบเสาดังรายละเอียดดานบน ทําใหกําลัง
ตานทานโมเมนตมีคาเทากับที่ขอบเสา) ที่ระยะเทากับ − 16.20 + 10.672x − 2.14x /2 = −10.04
2

หรือ x = 0.620 ม. โดยจะตองยื่นเหล็กออกไปอยางนอยเพิ่มอีกเทากับความลึกประสิทธิผล ดังนั้นความ


ยาวทั้งหมดของเหล็กที่จะตองยื่นออกมามีคาเทากับ 0.62 + 0.44 = 1.06 ม. ดังนั้น ใช 1.10 ม. ทั้งสอง
ดาน
A B
Sideway to left Wu=2.14 T/m

Mn1=16.20 T-m Mn2=10.04 T-m


10.672 T 4.4 m 1.256 T
10.04 T-m

0.620
-10.04 T-m

-16.20 T-m
รูปที่ 5.3 โมเมนตไดอะแกรมเพื่อหาตําแหนงที่จะหยุดเหล็ก

5.1.5 ตรวจสอบระยะฝง
0.06Ab f y 0.06 × 2.01 × 4000
ระยะฝงทั่วไปสําหรับเหล็ก DB16, l db = = = 31.1 ซม.
f c′ 240
0.08 f y db 0.08 × 4,000 × 1.6
ระยะฝงทั่วไปสําหรับเหล็กของอ 90 องศา, l hb = = = 33 ซม.
f c′ 240

ขอมูลสําหรับตัวคูณประกอบระยะ ( l d ) เหล็กบน เหล็กลาง


ระยะหุมคอนกรีตดานบนหรือลาง 4.4 ซม. ( 2.75db ) 5.2 ซม. ( 3.25db )
ระยะหุมคอนกรีตดานขาง 2.5 ซม. ( 1.56db ) 2.5 ซม. ( 1.56db )
ระยะเรียงวางของเหล็กเสริม 7.6 ซม. ( 4.75db ) 7.6 ซม. ( 4.75db )

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 43/84

0.11db f y 0.11 × 1.6 × 4000


ระยะฝง l db ตองไมนอยกวา = = 45 ซม.
f c′ 240
ระยะฝง l hb ตองไมนอยกวา 15 ซม. และ 8db = 12.8 ซม.
• สําหรับเหล็กบน l db = 1.3 × 31.1 = 40.4 ซม. ดังนั้น l db = 45 ซม. แตระยะฝงจริง ( l d )
เทากับ 110 ซม. O.K.
• สําหรับเหล็กลาง l db = 1.0 × 31.1 = 31.1 ซม.ดังนั้น l db = 45 ซม. แตระยะฝงจริง ( l d )
เทากับครึ่งหนึ่งของความยาวคาน 220 ซม. รวมกับระยะที่ยื่นเขาไปในที่รองรับ 30 ซม. เปน
250 ซม. O.K.
• สําหรับเหล็กที่มีการดัดงอ 90 องศา l hb = 0.8 × 33 = 26.4 ซม. แตระยะฝงจริง l dh เทากับ
30 ซม. O.K.

• ปลายฉากยื่น 12 เทาของขนาดเสนผานศูนยกลางเหล็ก มีคาเทากับ 19.20 ซม. ดังนั้นใช


20.0 ซม.

5.1.6 ระยะทาบเหล็ก

ขอมูลสําหรับตัวคูณประกอบระยะ ( l d ) เหล็กบน เหล็กลาง


ชั้นคุณภาพ B B
ระยะหุมคอนกรีตดานบนหรือลาง 4.4ซม. ( 2.75db ) 5.2ซม. ( 3.25db )
ระยะหุมคอนกรีตดานขาง 2.5ซม. ( 1.56db ) 2.5ซม. ( 1.56db )
ระยะเรียงวางของเหล็กเสริม 7.6 ซม. ( 4.75db ) 7.6 ซม. ( 4.75db )

• สําหรับเหล็กบน 1.3l db = 1.3 × 45 = 58.5 ซม. ใช 60.0 ซม. O.K.


• สําหรับเหล็กลาง 1.3l db = 1.3 × 45 = 58.5 ซม.ใช 60.0 ซม. O.K.

รายละเอียดการเสริมเหล็กในคาน BT1 แสดงไวในรูปที่ 5.4

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 44/84

0.25 0.25

5-DB16 3-DB16

2-hoop.RB6 2-hoop.RB6

0.50

0.50
4cm 4cm
0.60 3-DB16 3-DB16
0.60
1 1 2 2
1.10 1.10
3-DB16 Hoop 2-RB6@0.10 3-DB16
2-DB16 Splice 0.60m 2-DB16
0.3m 1 2

0.2m 0.2m
0.3m 1 2
3-DB16 Splice 0.60m 3-DB16
Hoop 2-RB6@0.10
1.0m 1.0m
Hoop 2-RB6@0.10 Stirrup 2-RB6@0.20 Stirrup 2-RB6@0.20 Hoop 2-RB6@0.10
4.4m
5.0m

รูปที่ 5.4 รายละเอียดการเสริมเหล็กในคาน BT1

5.2. คานชวงใน (Interior span) BT2


5.2.1 ออกแบบโมเมนตลบ
เมื่อพิจารณาตารางโมเมนตดัดที่ไดจากการวิเคราะหโครงสรางในคานชวงใน พบวาโมเมนตลบ
มากที่สุดมีคาเทากับ 13.95 ตัน-ม. (ตารางที่ 4.1) ดังนั้นเสริมเหล็กคาน BT2 เชนเดียวกับคาน BT1 ดัง
แสดงในรูปที่ 5.5 โดยเสริมเหล็กบน 5-DB16 เหล็กลาง 3-DB16

0.25 0.25

5-DB16 3-DB16

2-hoop.RB6 2-hoop.RB6
0.50

0.50

4cm 4cm
3-DB16 3-DB16
Column face Mid span
รูปที่ 5.5 การเสริมเหล็กในคาน BT2
ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน
การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 45/84

กําลังตานทานโมเมนตลบของคาน BT2 ที่ขอบเสามีคาเทากับ 14.58 ตัน-ม. และรายละเอียดการคํานวณ


สามารถดูไดจากการคํานวณคาน BT1 ที่ไดแสดงไวในหัวขอ 5.1.1

5.2.2 ตรวจสอบกําลังตานทานโมเมนตบวกที่ขอบเสาและที่กลางคาน
กําลังตานทานโมเมนตบวกที่ขอบเสาตองไมนอยกวา 1/3 ของกําลังตานทานโมเมนตลบ (มยผ.
1301-50 สวนที่ 4 ขอ 4.3.1 ในเอกสารแนบที่ 2) ซึ่งเมื่อคํานวณแลวได 14.58 /3 = 4.86 ตัน-ม. ซึ่งมีคา
มากกวาโมเมนตบวกมากที่สุดที่ขอบเสาที่ไดจากการวิเคราะหโครงสรางในตารางที่ 4.6 ซึ่งเทากับ 2.90
ตัน-ม. ดังนั้นการเสริมเหล็ก 3-DB16 ดานลางในหนาตัดเดียวกัน เมื่อคํานวณกําลังตานทานโมเมนตบวก
จะเทากับ 9.04 ตัน-ม. รายละเอียดการคํานวณทําเชนเดียวกับคาน BT1 ที่ไดแสดงไวในหัวขอ 5.1.2

จากผลการวิเคราะหโครงสรางโมเมนตบวกที่กลางคานมีคามากที่สุด 5.28 ตัน-ม. (ตารางที่ 4.1)


และ มยผ. 1301-50 (สวนที่ 4 ขอ 4.3.1 ในเอกสารแนบ 2) กําหนดไววากําลังตานทานโมเมนตบวกและ
โมเมนตลบที่หนาตัดใด ๆ ตลอดความยาวคานจะตองไมนอยกวา 1/5 ของกําลังตานทานโมเมนตสูงสุด
ที่ขอบของจุดตอที่ปลายทั้งสองของคาน ซึ่งคํานวณไดเทากับ 14.58 /5 = 2.92 ตัน-ม. ดังนั้นเมื่อเสริม
เหล็ก 3-DB16 ดานลางและบน 5-DB16 ที่หนาเสา จะทําใหมีกําลังตานทานโมเมนตบวกและลบเทากับ
9.04 ตัน-ม. และ 14.58 ตัน-ม. ตามลําดับ และเมื่อเสริมเหล็ก 3-DB16 ทั้งดานบนและดานลาง ที่กลาง
คาน จะทําใหไดกําลังตานทานโมเมนตบวกและลบเทากันคือ 9.04 ตัน-ม. ซึ่งมากกวา 5.28 ตัน-ม. และ
2.92 ตัน-ม. O.K.

5.2.3 ตรวจสอบกําลังรับแรงเฉือน ตําแหนงที่จะสามารถหยุดเหล็ก และการตรวจสอบระยะฝง


เนื่องจากคาน BT2 มีความยาว ขนาดหนาตัด และเหล็กเสริมตามยาวเหมือนกับคาน BT1 ทุก
ประการดังนั้นจึงสามารถตรวจสอบแรงเฉือน ตําแหนงที่จะสามารถหยุดเหล็ก และ การตรวจสอบระยะฝง
ไดเชนเดียวกับคาน BT1 ทุกประการ (ดังแสดงไวในหัวขอ 5.1.3-5.1.5) รายละเอียดการเสริมเหล็กของ
คาน BT2 แสดงไวในรูปที่ 5.6

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 46/84

0.25 0.25

5-DB16 3-DB16

2-hoop.RB6 2-hoop.RB6

0.50

0.50
4cm 4cm
0.60 3-DB16 3-DB16
0.60
1 1 2 2
1.10 1.10
3-DB16 Hoop 2-RB6@0.10 3-DB16
Splice 0.60m
1 2-DB16 2 2-DB16

1 2
3-DB16 Splice 0.60m 3-DB16
Hoop 2-RB6@0.10
1.0m 1.0m
Hoop 2-RB6@0.10 Stirrup 2-RB6@0.20 Stirrup 2-RB6@0.20 Hoop 2-RB6@0.10
4.4m
5.0m

รูปที่ 5.6.. รายละเอียดการเสริมเหล็กในคาน BT2

5.3.1 จุดตอภายใน (Interior joint)


รูปที่.5.7 แสดงจุดตอคาน-เสาในชั้น 2 ของโครงสราง กําลังรับแรงเฉือนในแนวนอนของจุดตอ
สามารถคํานวณไดจากกําลังดึงของเหล็กเสริมเสนบนดานขวากับกําลังดึงของเหล็กเสนลางดานซาย และ
หักลบแรงเฉือนในเสา การคํานวณแรงเฉือนในแนวนอนสูงสุดที่กระทําที่จุดตอ สามารถคํานวณไดจาก
(5-14) ซึ่งระบุไวใน มยผ. 1301-50 (ขอ 4.5.2 ในเอกสารแนบที่ 2)

(
V j = A s1 f y + A s 2 f y − V col ) (5-14)

คาแรงเฉือนที่เสา ( Vcol ) คํานวณจากสมมุติฐานที่ใหจุดหมุนพลาสติกเกิดในคานทั้งสองดาน เมื่อเหล็ก


เสริมรับแรงดึงในคานทั้งสองดานคราก โดยโมเมนตดานขวามีคาเทากับโมเมนตระบุลบของคาน BT2 ซึ่ง
มีคาเทากับ 16.20 ตัน-ม. สวนดานซายมีคาโมเมนตระบุบวกของคาน BT1 มีคาเทากับ 10.04 ตัน-ม.
โมเมนตทั้งสองจะถายแรงไปเปนโมเมนตในเสาตนบนและเสาตนลางโดยมีคาเทากับผลรวมของโมเมนต
ในคานทั้ง 2 ดาน ดังนั้นแรงเฉือนที่เกิดขึ้นในเสาสามารถคํานวณไดจาก (5-15)

+
V col = ((M nbL −
+ M mbR )/2)/(l n /2) (5-15)

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 47/84

B
Hc/2 = 3.0/2 Mu= (16.20+10.04)/2 = 13.12 T-m
Vcol= (2x13.12)/3.0 = 8.75T
5-DB16
Vcol
C2 = T2 T1=5x2.01x4000/1000
Vj =40.20 T
Hc/2 = 3.0/2 + =10.04 T-m
MnbL - =16.20 T-m
MnbR
T2=3x2.01x4000/1000 C 1 = T1
=24.12 T
3-DB16
Vcol
Mu= 13.12 T-m Vcol= 8.75 T
Mu= 13.12 T-m

รูปที่ 5.7 แรงที่เกิดขึ้นภายในจุดตอภายใน

เมื่อ M nbL
+
และ M nbR−
คือกําลังตานทานโมเมนตบวกดานซายและกําลังตานทานโมเมนตลบดานขวา
ของจุดตอ และ l n เปนความสูงจากพื้นชั้นลางถึงใตทองคานชั้นบน เมื่อแทนคา (5-15) จะไดแรงเฉือนใน
เสาเทากับ

(16.20 + 10.04)/2
V col = = 8.75 ตัน
(3.00 /2)

เมื่อคาน BT2 ดานขวา เสริมเหล็กบนจํานวน 5 เสน DB16 สวนคานดานซายเสริมเหล็กเสนลาง 3 เสน


DB16 ทําใหสามารถคํานวณแรงเฉือนในจุดตอ (V j ) ตาม (5.13) ไดเทากับ

(5 × 2.01 × 4,000 + 3 × 2.01 × 4,000 )


Vj = − 8.75 = 55.57 ตัน
1,000

สําหรับกรณีที่คานทั้งสองดานเสริมเหล็กไมเหมือนกัน หรือกําลังตานทานโมเมนตกระทําสลับทิศ
ไมเทากัน ใหคํานวณในกรณีดังกลาวดวย (แตสําหรับในตัวอยางนี้โมเมนตกระทําสลับทิศมีคาเทากัน)
คานตามแนวยาวของอาคารมีขนาด 0.25 × 0.50 ม. ซึ่งเทากับ คานตามแนวขวางมีขนาด
0.25 × 0.50 ม. โดยเสามีขนาด 0.6 × 0.6 ม. จาก มยผ. 1301-50 (ขอที่ 4.5.3 ในเอกสารแนบที่ 2)
ถือวาจุดตอภายในของอาคารตัวอยางนี้มีกําลังรับแรงเฉือนตามกรณีที่ 3 จุดตออื่นๆ (สมการ 4.5.3-ข ใน
มยผ. 1301-50 เอกสารแนบ 2) เนื่องจากคานตามแนวขวางและตามแนวยาวมีความกวางคานตอความ
ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน
การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 48/84

กวางเสา (0.25 /0.6 = 0.42) นอยกวา ( 3 / 4 = 0.75 ) ของความกวางเสาดานที่คานเขาบรรจบ จึงไม


ถือวาคานตามแนวขวางและตามแนวยาวมีการโอบรัดจุดตอถึงแมจะมีคานเขาบรรจบกัน 4 ดานก็ตาม
ดังนั้นกําลังรับแรงเฉือนของจุดตอ ( Vn ) คํานวณไดดังนี้

Vn = 3.2 f c′ A j (5-16)

เมื่อ A j เปนพื้นที่ตานแรงเฉือนในแนวนอนประสิทธิผลของจุดตอ มีคาเทากับความลึกเสา ( h ) คูณ


ความกวางประสิทธิผลซึ่งมีคาเทากับคาที่นอยที่สุดระหวาง b + h = 25 + 60 = 85 ซม. และ
b + 2x1 = 25 + 2 × 17.5 = 60 ซม. ตาม มยผ. 1301-50 (ขอ 4.5.3 ในเอกสารแนบ 2)
ดังนั้น กําลังรับแรงเฉือนตาม (5-16)

Vn = 3.2 × 240 × (60 × 60) /1000 = 178.47 ตัน

นั่นคือ φVn = 0.85 × 178.47 = 151.70 ตัน มากกวา V j = 55.57 ตัน O.K.

พื้นที่เหล็กปลอกขั้นต่ําที่ตองเสริมภายในจุดตอสามารถคํานวณไดจาก (5-17) ตาม มยผ. 1301-


50 (สมการที่ 4.4.4 เอกสารแนบ 2) และตองมีระยเรียงไมมากกวา 2 เทาของระยะ s0 (ระยะเรียงเหล็ก
ปลอกเสาในชวงจุดหมุนพลาสติก) สมมุติใชระยะ s 0 = 15 ซม. ดังนั้น 2s0 = 30 ซม.

bw s
Av = 3.5 (5-17)
fy

เมื่อ bw เปนความกวางเสา, fy กําลังดึงครากของเหล็กปลอก

สมมุติตองการเสริมเหล็กปลอก 2 เสน ชนิด RB9 ระยะเรียงเทากับ 20 ซม. < 25 ซม. OK จะ


60 × 20
ไดพื้นที่เหล็กปลอกเทากับ 2.54 ซม2 และเมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่ขั้นต่ํา Av = 3.5 × = 1.75
2,400
ซม2 ซึ่งมีคานอยกวา 2.54 ซม2 เปนไปตามขอกําหนดของ มยผ. 1301-50

5.3.2 จุดตอภายนอก (Exterior joint)


ทําเชนเดียวกับจุดตอภายใน รูปที่ 5.8 แสดงจุดตอคาน-เสานอกชั้น 2 ของโครงสราง กําลังรับ
แรงเฉือนในแนวนอนของจุดตอสามารถคํานวณไดจากกําลังดึงของเหล็กเสริมเสนบนดานขวา หักลบแรง
เฉือนในเสา โดยสมการคํานวณแรงเฉือนในจุดตอภายนอกสามารถคํานวณจาก (5-18) นั่นคือ

V j = A s1 f y − V col (5-18)
ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน
การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 49/84

คาแรงเฉือนที่เสา ( Vcol ) คํานวณจากสมมุติฐานที่ใหจุดหมุนพลาสติกเกิดในคาน เมื่อเหล็กเสริมรับแรงดึง


ในคานคราก กําลังตานทานโมเมนตลบของคาน BT1 มีคาเทากับ 16.20 ตัน-ม. โมเมนตดังกลาวจึงถาย
ใหเสาตนบนและเสาตนลางโดยมีคาเทากับโมเมนตลบในคาน

โมเมนตในเสาตนบน = โมเมนตในเสาตนลาง = 16.20 / 2 = 8.10 ตัน – ม.

A
Hc/2 = 3.0/2 Mu= 16.20/2 = 8.10 T-m
Vcol= (2x8.10)/3.0= 5.40 T
5-DB16
Vcol
T1=5x2.01x4,000=40.20 T
Vj
Hc/2 = 3.0/2 - =16.20 T-m
MnbR
C1 = T1

Vcol
Mu= 8.10 T-m Vcol= 5.40 T
Mu=8.10 T-m

รูปที่ 5.8 แรงที่เกิดขึ้นภายในจุดตอภายนอก

และจากสมมุติฐานใหโมเมนตในเสาตนบนและตนลางมีคาเทากัน ดังนั้นแรงเฉือนที่เกิดขึ้นในเสาสามารถ
คํานวณไดเทากับ

8.10
V col = = 5.40 ตัน
(3.0 / 2)

เมื่อคาน BT2 ดานขวา เสริมเหล็กบนจํานวน 5 เสน DB16 ทําใหสามารถคํานวณแรงเฉือนในจุดตอ (V j )


ตาม (5-18) ไดเทากับ

5 × 2.01 × 4,000
Vj = − 5.40 = 34.80 ตัน
1,000

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 50/84

คานตามแนวยาวและตามแนวขวางของอาคารมีขนาดเทากันคือ 0.25 × 0.50 ม. โดยเสามี


ขนาด 0.6 × 0.6 ม. มยผ. 1301-50 (ขอที่ 4.5.3 ในเอกสารแนบ 2) ถือวาจุดตอภายในของอาคาร
ตัวอยางนี้มีกําลังรับแรงเฉือนตามกรณีที่ 3 จุดตออื่นๆ (สมการ 4.5.3-ค ใน มยผ. 1301-50) เนื่องจาก
คานตามแนวยาวและตามแนวขวางทั้ง 2 ดานมีความกวางคานตอความกวางเสา (0.25 / 0.60 = 0.42)
นอยกวา ( 3 / 4 = 0.75 ) ของความกวางเสาดานที่คานเขาบรรจบ จึงไมถือวาคานตามแนวยาวและแนว
ขวางมีการโอบรัดจุดตอ ดังนั้นกําลังรับแรงเฉือนของจุดตอ (Vn ) คํานวณไดเชนเดียวกับ (5-16)
เมื่อ A j เปนพื้นที่ตานแรงเฉือนในแนวนอนประสิทธิผลของจุดตอ มีคาเทากับความลึกเสา ( h )
คูณความกวางประสิทธิผลซึ่งมีคาเทากับคาที่นอยที่สุดระหวาง b + h = 25 + 60 = 85 ซม. และ
b + 2x 1 = 25 + 2 × 17.5 = 60 ซม. ตาม มยผ.1301-50 (ขอ 4.5.3 ในเอกสารแนบที่ 2) ดังนั้นกําลังรับ
แรงเฉือน มีคาเทากับ

3.2 × 240 × (60 × 60)


Vn = = 178.47 ตัน
1,000

นั่นคือ φVn = 0.85 × 178.47 = 151.70 ตัน มากกวา V j = 34.80 ตัน

พื้นที่เหล็กปลอกขั้นต่ําที่ตองเสริมภายในจุดตอสามารถคํานวณไดจาก (5-17) ดังที่ไดกลาว


มาแลว และสมมุติเสริมเหล็กปลอก 2 เสน RB9 ระยะเรียงเทากับ 20 ซม. < 2s 0 = 30 ซม. จะไดพื้นที่
เหล็กปลอกเทากับ 2.54 ซม2 เมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่ขั้นต่ํา

60 × 20 2
Av = 3.5 × = 1.75 ซม นอยกวา 2.54 ซม2 O.K.
2,400

เปนไปตามขอกําหนดของ มยผ.1301-50

5.4 การออกแบบเสา (Column Design)


การออกแบบเสาจะพิจารณาแรงประลัยที่เสาตนริม (Exterior column) และตนในอาคาร (Interior
column) ที่ชั้นลางสุดเปนตัวอยาง การออกแบบเสาในชั้นอื่นๆของอาคารกระทําไดในลักษณะเดียวกัน
โดยตารางที่ 4.2 แสดงคาแรงประลัยในเสาจากการวิเคราะหโครงสรางในแตละกรณีดังอธิบายไปแลวใน
หัวขอที่ 4 โดยขั้นตอนการออกแบบจะแสดงเปนลําดับดังนี้

5.4.1 ตรวจสอบกําลังในการรับน้ําหนัก (Column Capacity)


กอนที่จะทําการออกแบบเสาตองตรวจสอบวา ภายใตการรับน้ําหนักบรรทุกอัดประลัย เสามี
พฤติกรรมเชนไร โดยมาตรฐาน มยผ. 1301-50 ไดกําหนดไววาหากแรงอัดประลัยในองคอาคารมีคานอย

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 51/84

กวารอยละ 10 ของกําลังประลัยของหนาตัด ( Ag f c′ ) ใหพิจารณาออกแบบองคอาคารนั้นเปนคาน แต


หากมีคาเกินกวาขอกําหนดขางตนแลวใหถือวาองคือาคารนั้นมีพฤติกรรมเปนเสา ดังนี้

• หากแรงอัดประลัย ( Pu ) มีคามากกวาหรือเทากับ 0.10Ag f c′ ใหพิจารณาเปนเสา


• หากแรงอัดประลัย ( Pu ) มีคานอยกวา 0.10Ag f c′ ใหพิจารณาเปนคาน

ดังนั้นสําหรับคาแรงอัดประลัยสูงสุดในตารางที่ 4.7 จะได Pu = 403.969 ตัน เมื่อตรวจสอบกับเงื่อนไข


จะได

0.10 A g f c′ = 0.10 × 60 × 60 × 240 = 86,400 กก.

หรือ 86.40 ตัน ซึ่งนอยกวา Pu ดังนั้นตองออกเสาเปน เสา (Column) ซึ่งตองตรวจสอบขอกําหนด


พื้นฐานของมาตรฐาน UBC เกี่ยวกับสัดสวนของหนาตัดเสาที่ใชในการออกแบบ (เปนการประมาณ
เบื้องตน) ดังนี้

• ดานสั้นสุดของเสาตองมากกวาหรือเทากับ 30.0 ซม. : ผาน


• อัตราสวนดานสั้นตอดานยาวตองไมนอยกวา 0.40 นั่นคือ : b /h = 60 /60 = 1.00 ผาน

ในขั้นจะตนสมมุติปริมาณเหล็กเสริมในหนาตัด โดยเลือกใช DB20 จํานวน 12 เสน (รูปที่ 5.9)


และจากมาตรฐาน มยผ. 1301-50 ขอ 4.4.6 กําหนดวาปริมาณเหล็กเสริมในหนาตัดตองไมนอยกวารอย
ละ 1 และไมมากกวารอยละ 6 นั่นคือ

Ast 12 × 3.14
ρ st = = = 0.01047 (5-19)
Ag 60 × 60

หรือ 1.05% ซึ่งมากกวา 1.0% และนอยกวา 6.0% O.K.

0.6

12-DB20
0.6

รูปที่ 5.9 หนาตัดเสาของอาคาร (ตนริมและตนใน)

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 52/84

ภายหลังจากกําหนดขนาดของเสาเบื้องตนแลวขั้นตอนตอไปจะเปนการ การตรวจสอบกําลังระบุ
ของเสา (Nominal strength) กับแรงประลัยที่เกิดจากการรวมแรงในกรณีตางๆ (Ultimate loads) และ
เนื่องจากในตัวอยางนี้จะใชขนาดและปริมาณเหล็กเสริมในเสาตนริมและตนในอาคารที่เทากัน ดังนั้นการ
ตรวจสอบกําลังของเสาจึงสะดวกที่จะใช เสนโคงปฏิสัมพันธ (Interaction diagram) รวมกับการพิจารณา
คาแรงประลัยในตารางที่ 4.2, 4.5 และ 4.7 เนื่องจากหนาตัดเสามีความสมมาตรรอบแกนในแนวราบ
ดังนั้นเครื่องหมายลบหรือบวกที่แสดงทิศทางของโมเมนตจึงไมมีนัยสําคัญใดๆ ตารางที่ 4.8 เปนการสรุป
คาแรงและโมเมนตที่กระทําตอหนาตัดเสาในกรณีตางๆ
เนื่องจากหนาตัดมีเหล็กเสริมมากกวา 2 ชั้นและกระจายอยูทั่วหนาตัด ดังนั้นจึงเหมาะสมที่จะใช
การวิเคราะหหนาตัดดวยวิธี ความเครียดสอดคลอง (Strain compatibility) โดยกําหนดตําแหนงของ
เหล็กเสริมแตละเสนซึ่งวัดออกจากผิวรับแรงอัดของหนาตัด ดังนี้ d1 = 5.00 ซม., d 2 = 21.67 ซม.,
d 3 = 38.33 ซม. และ d 4 = 55.00 ซม. การสรางเสนโคงปฏิสัมพันธอยางงายกระทําโดยการใช
จุดสําคัญ 7 จุด ซึ่ง 4 จุดแรกมาจากการคํานวณสมดุลในหนาตัดและ 3 จุดหลังมาคํานวณจากคาที่
มาตรฐานกําหนด ดังนี้

• จุดที่ (1) เสารับแรงอัดสูงสุดตามทฤษฎี


• จุดที่ (2) ภาวะกอนเกิดแรงดึงในหนาตัด
• จุดที่ (3) ภาวะสมดุล
• จุดที่ (4) ภาวะที่ปราศจากแรงอัด
• จุดที่ (5) เสามีกําลังรับแรงอัดสูงสุดตามที่มาตรฐานกําหนด
• จุดที่ (6) เสามีกําลังรับแรงอัดและแรงดัดสอดคลองกับ (5)
• จุดที่ (7) ภาวะที่เริ่มเปลี่ยนตัวคูณลดกําลัง

จุดที่ 1 กําลังรับแรงอัดสูงสุดตามทฤษฎี คํานวณจาก

P0 = 0.85 f c′ (A g − Ast ) + Ast f y (5-20)


นั่นคือ

P0 = 0.85 × 240 × (60 × 60 − 37.68) + 37.68 × 4,000 = 877,433.28 กก.

หรือ P0 = 877.43 ตัน


จะได φP0 = 614.20 ตัน เมื่อ φ = 0.70 สําหรับองคอาคารรับแรงอัด (ACI318-99)
ซึ่งไดพิกัด (φM n , φPn ) = (0, 614.20) (5-21)

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 53/84

จุดที่ 2 จุดกอนเกิดแรงดึงในหนาตัด (Zero tension) คํานวณโดยการกําหนดความเครียดที่ผิวรับ


แรงดึงของคอนกรีตใหเทากับศูนยหรือกําหนดคาความลึกของแนวแกนสะเทินใหเทากับความ
ลึกหนาตัด ( c = h ) โดยจากความสัมพันธของสามเหลี่ยมคลายสําหรับความเครียดในเหล็ก
เสริมแตละชั้นของหนาตัด จะได

⎛d − c ⎞
ε si = ε cu ⎜ i ⎟ (5-22)
⎝ c ⎠

เมื่อ ε cu คือ ความเครียดบดอัดของคอนกรีตมีคาเทากับ 0.003 ซม./ซม.


c คือ ความลึกของแนวแกนสะเทิน
di คือ ความลึกของเหล็กเสริมแตละชั้น ซึ่งวัดออกจากผิวรับแรงอัด

b
0.003
d1
d2
d3
c=h d4
h

รูปที่ 5.10 การกระจายตัวของความเครียดสําหรับภาวะกอนเกิดแรงดึงในหนาตัด (หนวยเปน ซม.)


ความเครียดในเหล็กเสริมแตละชั้น เปรียบเทียบกับความเครียดคราก ( ε y ) ซึ่งมีคาเทากับ

fy 4,000
εy = = = 0.00196 กก./ซม.
Es 2.04 × 10 6
นั่นคือ

⎛ 5.00 − 60 ⎞
เสนที่ 1 : ε s1 = 0.003 × ⎜ ⎟ = −0.00275 ซม./ซม. > εy ดังนั้น ε s1 = ε y (อัด)
⎝ 60 ⎠
⎛ 21.67 − 60 ⎞
เสนที่ 2 : ε s 2 = 0.003 × ⎜ ⎟ = −0.00192 ซม./ซม. < εy ดังนั้น εs2 = εs2 (อัด)
⎝ 60 ⎠
⎛ 38 .33 − 60 ⎞
เสนที่ 3 : ε s 3 = 0.003 × ⎜ ⎟ = −0.00108 ซม./ซม. < εy ดังนั้น εs3 = εs3 (อัด)
⎝ 60 ⎠
⎛ 44 . 80 − 60 ⎞
เสนที่ 4 : ε s 4 = 0.003 × ⎜ ⎟ = −0.00025 ซม./ซม. < εy ดังนั้น εs4 = εs4 (อัด)
⎝ 60 ⎠

การคํานวณกําลังรับแรงอัดของหนาตัด ( Pn ) จะพิจารณาจากสมดุลของแรงตามแนวแกน โดย


กําหนดใหแรงอัดมีคาเปนบวก และเพื่อความละเอียดในการคํานวณภายในกลองรับแรงอัด
ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน
การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 54/84

(Stress block) ซึ่งมีคาเทากับ a = β1c = 0.85 × 60 = 51.00 ซม. พื้นที่ของคอนกรีตจะถูกหัก


ลบดวยพื้นที่ของเหล็กรับแรงอัด นั่นคือ

Pnt 0 = 0.85 f c′ β1cb + As′ 1 ( f y − 0.85 f c′ ) + As′ 2 ( f s′2 − 0.85 f c′ ) + As′ 3 ( f s′3 − 0.85 f c′ ) + As′ 4 f s′4

แทนคา จะได

Pnt 0 = 0.85 × 240 × 0.85 × 60 × 60 + 12.56 × (4,000 − 0.85 × 240)


+ 6.28 × (0.00192 × 2.04 × 10 6 − 0.85 × 240)
+ 6.28 × (0.00108 × 2.04 × 10 6 − 0.85 × 240)
+ 12.56 × 0.00025 × 2.04 × 10 6

นั้นคือ Pnt 0 = 724,956.13 กก.


หรือ Pnt 0 = 724.96 ตัน
จะได φPnt 0 = 0.70 × 724.96 = 507.47 ตัน

คํานวณโมเมนตรอบศูนยถวงพลาสติก (ในกรณีนี้คือกึ่งกลางหนาตัด) นั่นคือ

⎛ βc⎞
M nt 0 = 0.85 f c′ β1cb ⎜ y − 1 ⎟ + As′ 1 ( f y − 0.85 f c′ )(y − d1 ) + As′ 2 ( f s′2 − 0.85 f c′ )(y − d 2 )
⎝ 2 ⎠
− As 3 ( f s 3 − 0.85 f c′ )(d 3 − y ) − As 4 f y (d 4 − y )

แทนคา
⎛ 0.85 × 60 ⎞
M nt 0 = 0.85 × 240 × 0.85 × 60 × 60 × ⎜ 30 − ⎟
⎝ 2 ⎠
+ 12.56 × (4,000 − 0.85 × 240)(30 − 5.00)
+ 6.28 × (0.00192 × 2.04 × 10 6 − 0.85 × 240)(30 − 21.67)
− 6.28 × (0.00108 × 2.04 × 10 6 − 0.85 × 240)(38.33 − 30)
− 12.56 × 0.00025 × 2.04 × 10 6 × (55.00 − 30)

นั่นคือ M nt 0 = 3,930,526.53 กก.-ซม.


หรือ M nt 0 = 3,930.53 ตัน-ซม.
จะได φM nt 0 = 0.70 × 3,930.53 = 2,751.37 ตัน-ซม.
ซึ่งไดพิกัด (φM n , φPn ) = (2,751.37, 507.47) (5-23)

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 55/84

จุดที่ 3 ภาวะสมดุลหรือจุดที่ความเครียดในเหล็กเสริมรับแรงดึงเสนไกลสุดจากผิวรับแรงอัดมีคา ถึงจุด


คราก ( ε s = ε y ) พรอมกับความเครียดที่ผิวรับแรงอัดของคอนกรีตมีคาเทากับความเครียดบด
อัด ( εc = εcu = 0.003 ซม./ซม.) โดยจากความสัมพันธของสามเหลี่ยมคลาย (5-22) จะได

⎛ ε cu ⎞
cb = ⎜
⎜ εcu + ε y
⎟dt

(5-24)
⎝ ⎠

b
ε cu= 0.003

cb
dt =55.00
h

ε y = 0.00196

รูปที่ 5.11 การกระจายตัวของความเครียดสําหรับภาวะสมดุล (หนวยเปน ซม.)

แทนคา dt = 55.00 ซม. ลงใน (5-24) จะได c b = 33.27 ซม. พรอมกับคํานวณความลึกของ


กลองรับแรงอัด นั่นคือ a b = β1c b = 0.85 × 33.27 = 28.28 ซม. และหาความเครียดในเหล็ก
เสริมแตละชั้นจาก (5-22) จะได

⎛ 5.00 − 33.27 ⎞
เสนที่ 1 : ε s1 = 0.003 × ⎜ ⎟ = −0.00255 ซม./ซม. > εy ดังนั้น ε s1 = ε y (อัด)
⎝ 33.27 ⎠
⎛ 21 .67 − 33 .27 ⎞
เสนที่ 2 : ε s 2 = 0.003 × ⎜ ⎟ = −0.00105 ซม./ซม. < εy ดังนั้น εs2 = εs2 (อัด)
⎝ 33.27 ⎠
⎛ 38 . 33 − 33 .27 ⎞
เสนที่ 3 : ε s 3 = 0.003 × ⎜ ⎟ = 0.00046 ซม./ซม. < εy ดังนั้น εs3 = εy (ดึง)
⎝ 33.27 ⎠
⎛ 55 . 00 − 33 . 27 ⎞
เสนที่ 4 : ε s 4 = 0.003 × ⎜ ⎟ = 0.00196 ซม./ซม. = εy ดังนั้น εs4 = εy (ดึง)
⎝ 33.27 ⎠

ดังนั้นเมื่อคํานวณ Pn จากสมดุลของแรงตามแนวแกนในหนาตัด จะได

Pnb = 0.85 f c′ β1cb + As′ 1 ( f y − 0.85 f c′ ) + As′ 2 ( f s′2 − 0.85 f c′ ) − As 3 f s 3 − As 4 f y

แทนคา จะได

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 56/84

Pnb = 0.85 × 240 × 0.85 × 33.27 × 60 + 12.56 × (4,000 − 0.85 × 240)


+ 6.28 × (0.00105 × 2.04 × 10 6 − 0.85 × 240)
− 6.28 × 0.00046 × 2.04 × 10 6 − 12.56 × 4,000

นั้นคือ Pnb = 349,856.33 กก.


หรือ Pnb = 349.86 ตัน
จะได φPnb = 0.70 × 349.86 = 244.90 ตัน

คํานวณโมเมนตรอบศูนยถวงพลาสติก (ในกรณีนี้คือกึ่งกลางหนาตัด) นั่นคือ

⎛ βc ⎞
M nb = 0.85 f c′ β1c b b ⎜ y − 1 b ⎟ + As′ 1 ( f y − 0.85 f c′ )(y − d1 ) + As′ 2 ( f s′2 − 0.85 f c′ )(y − d 2 )
⎝ 2 ⎠
+ As 3 f s 3 (d 3 − y ) + As 4 f y (d 4 − y )

แทนคา จะได
⎛ 0.85 × 33.27 ⎞
M nb = 0.85 × 240 × 0.85 × 33.27 × 60 × ⎜ 30 − ⎟
⎝ 2 ⎠
+ 12.56 × (4,000 − 0.85 × 240)(30 − 5.0)
+ 6.28 × (0.00105 × 2.04 × 10 6 − 0.85 × 240)(30 − 21.67)
+ 6.28 × 0.00046 × 2.04 × 10 6 × (38.33 − 30)
+ 12.56 × 4,000 × (55.00 − 30)

นั่นคือ M nb = 8,088,299.45 กก.-ซม.


หรือ M nb = 8,088.30 ตัน-ซม.
จะได φM nb = 0.70 × 8,088.30 = 5,661.81 ตัน-ซม.
ซึ่งไดพิกัด (φM n , φPn ) = (5,661.81, 244.90) (5-25)

จุดที่ 4 จุดที่ปราศจากแรงอัดหรือพิจารณาเสาเปนคาน โดยสมมุติคา c = 7.45 ซม. และเมื่อคํานวณ


ความเครียดที่เหล็กเสริมแตละเสน จะได

⎛ 5.00 − 7.45 ⎞
เสนที่ 1 : ε s1 = 0.003 × ⎜ ⎟ = −0.00099 ซม./ซม. < εy ดังนั้น ε s1 = ε s1 (อัด)
⎝ 7.45 ⎠
⎛ 21.67 − 7.45 ⎞
เสนที่ 2 : ε s 2 = 0.003 × ⎜ ⎟ = 0.00573 ซม./ซม. > εy ดังนั้น εs2 = εy (ดึง)
⎝ 7.18 ⎠
⎛ 38.33 − 7.45 ⎞
เสนที่ 3 : ε s 3 = 0.003 × ⎜ ⎟ = 0.01243 ซม./ซม. > εy ดังนั้น ε s2 = εy (ดึง)
⎝ 7.45 ⎠
⎛ 55.00 − 7.45 ⎞
เสนที่ 4 : ε s 4 = 0.003 × ⎜ ⎟ = 0.01915 ซม./ซม. > εy ดังนั้น ε s2 = εy (ดึง)
⎝ 7.45 ⎠

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 57/84

คํานวณแรงอัด

C = C c + C s = 0.85 × 240 × 0.85 × 7.45 × 60 + 12.56 × (0.00099 × 2.04 × 10 6 − 0.85 × 240)


= 100,313.74 กก.

คํานวณแรงดึง T = (2 × 6.28 + 23.56) × 4,000 = 100,480 กก.


ตรวจสอบสมดุลระหวางแรงอัดและดึง จะได 100,313.74 ≅ 100,480.00 ใกลเคียง O.K.
ตอมาคํานวณโมเมนตรอบแนวของเหล็กเสริมรับแรงดึงเสนไกลสุดจากผิวรับแรงอัด

⎛ βc⎞
M 0 = 0.85 f c′ β1cb ⎜ d t − 1 ⎟ + As′ 1 f s′1(dt − d1 ) − As 2 f y (dt − d 2 ) − As 3 f y (dt − d 3 )
⎝ 2 ⎠

แทนคา จะได
⎛ 0.85 ⋅ 7.45 ⎞
M 0 = 0.85 × 240 × 0.85 × 7.45 × 60 × ⎜ 55.00 − ⎟
⎝ 2 ⎠
+ 12.56 × (0.00099 × 2.04 × 10 6 − 0.85 × 240)(55.00 − 5.00)
− 6.28 × 4,000 × (55.00 − 21.67) − 6.28 × 4,000 × (55.00 − 38.33)

นั่นคือ M 0 = 3,901,820.40 กก.-ซม.


หรือ M 0 = 3,901.82 ตัน-ซม.
จะได φM 0 = 0.90 × 3,901.82 = 3,511.64 ตัน-ซม.
ซึ่งไดพิกัด (φM n , φPn ) = (3,511.64, 0) (5-26)

จุดที่ 5 จุดที่เสามีกําลังรับแรงอัดตามทฤษฎี ตามมาตรฐาน ACI สําหรับเสาปลอกเดี่ยว นั่นคือ

Pn (max) = 0.80P0 (5-27)

นั่นคือ Pn (max) = 0.80 × 877.43 = 701.94 ตัน


จะได φPn (max) = 0.70 × 701.94 = 491.36 ตัน
ซึ่งไดพิกัด (φM n , φPn ) = (0, 491.36) (5-28)

จุดที่ 6 จุดที่มีคาโมเมนตดัดที่สอดคลองกับจุดที่ 5 บนเสนโคงปฏิสัมพันธ ซึ่งคํานวณจากการประมาณ


คาเชิงเสนระหวางจุดที่ 1 และจุดที่ 2 นั่นคือ

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 58/84

⎛ Pnt 0 − Pn (max) ⎞
M n (max) = M nt 0 + ⎜
⎜ P
⎟(M nb − M nt 0 )

(5-29)
⎝ nt 0 − Pnb ⎠

⎛ 724.96 − 701.94 ⎞
นั่นคือ = 3,930.53 + ⎜ ⎟(8,088.30 − 3,930.53) = 4,185.69 ตัน-ซม.
⎝ 724.96 − 349.86 ⎠
หรือ φM n (max) = 0.70 × 4,185.69 = 2,929.99 ตัน-ซม.
ซึ่งไดพิกัด (φM n , φPn ) = (2,929.99, 491.36) (5-30)

หมายเหตุ สมการ (5-29) ใชไดในกรณีที่ Pn (max) < Pnt 0 แตหาก Pn (max) > Pnt 0 ใหใช (5-31) ใน
การคํานวณคา M n (max) ดังนี้

⎛ P0 − Pn (max) ⎞
M n (max) = ⎜⎜ ⎟M nt 0
⎟ (5-31)
⎝ P0 − Pnt 0 ⎠

จุดที่ 7 จุดที่เริ่มเปลี่ยนคาตัวคูณลดกําลังจาก 0.70 ไปเปน 0.90 ตามมาตรฐาน ACI318-99 ซึ่งจาก


การพิจารณาจุดตัดบนเสนโคงปฏิสัมพันธและกําลังรับแรงอัด ซึ่งเทากับ

0.10 A g f c′
Pnφ = (5-32)
φ

จะได Pnφ = 0.10 × 60 × 60 × 240 /0.7 = 123,428.57 กก.


หรือ Pnφ = 123.43 ตัน ( φPnφ = 0.10 × 60 × 60 × 0.24 = 86.40 ตัน)
และหากใชสมมุติฐานวาพิกัด ( M n , Pn ) แปรผันเปนเสนตรงจาก ( M nb , Pnb ) ไปยัง
( M 0 , 0 ) และใชการประมาณคาเชิงเสน จะได

⎛ Pnb − Pnφ ⎞
M nφ = M nb − ⎜⎜ ⎟(M nb − M 0 )
⎟ (5-33)
⎝ Pnb ⎠

⎛ 349.86 − 123.43 ⎞
นั่นคือ M nφ = 8,088.30 − ⎜ ⎟(8,088.30 − 3,901.82) = 5,378.80 ตัน.-ซม.
⎝ 349.86 ⎠

หรือ φM nφ = 0.70 × 5,378.80 = 3,765.16 ตัน-ซม.


ซึ่งไดพิกัด (φM n , φPn ) = (3,765.16, 86.40) (5-34)

หมายเหตุ สําหรับจุดที่ 7 ตามตัวอยางในขอนี้ หากคํานวณดวยวิธีความเครียดสอดคลองโดย


กําหนดคา c = 15.00 ซม. จะไดคา φM n = 1,943.09 ตัน-ซม.
ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน
การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 59/84

รวมจุดทั้ง 7 นั่น คือ (5-21), (5-23), (5-25), (5-26), (5-28), (5-30) และ (5-34) แลวสรางเสน
โคงปฏิสัมพันธไดในรูปที่ 5.12 โดยจุดตางๆ ในเสนโคงคือน้ําหนักบรรทุกประลัย (M u , Pu ) ตามที่
กําหนดไวในตารางที่ 4.8
φPn (ตัน)
700

600
500

400
300

200

100
φMn (ตัน-ซม.)
0
0 1,000 2,000 3,000 4,000 5,000 6,000

รูปที่ 5.12 เสนโคงปฏิสัมพันธ

จากรูปที่ 5.12 จะพบวาคาแรงประลัยที่กระทํากับเสา (จุดภายในเสนโคง) มีคานอยกวากําลังตานทาน


ของเสาในทุกๆกรณี นั่นคือเสามีกําลังรับน้ําหนักหนักบรรทุกที่เพียงพอ

5.4.2 อัตราสวนกําลังของเสาและคาน (Relative flexural strengths of columns and beams)


แมวามาตรฐาน ACI และ มยผ.1301-50 จะไมไดใหขอกําหนดเกี่ยวกับอัตราสวนของกําลังรับ
โมเมนตในเสาและคานสําหรับโครงขอแข็งที่มีความเหนียวจํากัดก็ตาม แตเพื่อใหการออกแบบองคอาคาร
เปนไปตามแนวคิด เสาแข็ง-คานออน (Strong columns – weak beams) ซึ่งถือวาเปนแนวทางปฏิบัติที่ดี
สําหรับการออกแบบอาคารตานแผนดินไหว ตัวอยางนี้ทําการตรวจสอบอัตราสวนของผลรวมของโมเมนต
ในเสาและในคานที่กระทําตอจุดตอหนึ่งๆ (รูปที่ 5.13) โดยกําหนดวา

∑ M nc ≥1 (5-35)
∑ M nb

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 60/84

โดย M nc และ M nb เปนกําลังตานทานโมเมนตระบุของเสาและคานตามลําดับ


และ ∑ M nc = M ncT + M ncB
และ ∑ M nb = M nbL + M nbR

MncT

MnbL MnbR

MncB
รูปที่ 5.13 สมดุลของโมเมนตรอบจุดตอ

โดยในตัวอยางนี้หากพิจารณาเสนโคงปฏิสัมพันธของเสาในรูปที่ 5.12 จะพบวาคาโมเมนตระบุของเสา


นอยสุดที่อาจจะเกิดขึ้นไดมีประมาณ 44.00 ตัน-ม. (ตรงกับตําแหนงที่แรงอัดประลัยกระทํานอยสุด)
ดังนั้นเมื่อรวมผลของโมเมนตของเสารอบจุดตอ ใดๆ สําหรับจุดตอภายนอกหรือจุดตอภายใน จะมีคา
เทากับ

∑ M nc = 44.00 + 44.00 = 88.00 ตัน-ม. (5-36)

เมื่อตรวจสอบกับโมเมนตระบุของคานทั้งสองฝงของจุดตอ (กรณีที่ 2 และ 3) ซึ่งมีคามากสุดตาม


ตารางที่ 4.1, 4.4 และ 4.6 จะไดคาผลรวมของโมเมนต ดังนี้
• จุดตอภายนอก ∑ M nb = 16.20 ตัน-ม. (5-37)
• จุดตอภายใน ∑ M nb = 16.20 + 10.04 = 26.24 ตัน-ม. (5-38)

จากการเปรียบเทียบ (5-36) กับ (5-37) และ (5-38) พบวา กําลังรวมของเสามีคามากกวากําลัง


รวมของคานทั้งที่จุดตอภายนอกและจุดตอภายใน ดังนั้นคานจะเกิดการวิบัติกอนเสา ซึ่งผานหลักเกณฑ
ของเสาแข็งคานออน

5.4.3 เหล็กเสริมตามขวางเพื่อรับแรงเฉือน (Transverse reinforcement for shear)


เนื่องจากโมเมนตในคานเปนตัวควบคุมการออกแบบดังนั้นแรงเฉือนที่กระทําตอเสา จึงมีคา

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 61/84

เทากับสมดุลระหวางโมเมนตระบุทั้งบนและลางของเสา ดังแสดงในรูปที่ 5.14 และเขียนเปนสมการ


ออกแบบไดดังนี้
M nbL + M nbR
Vcol = (5-39)
Hc

เมื่อ Vcol แรงเฉือนที่ปลายเสา


Hc ความสูงชวงวางของเสา (Clear height)
Pu
(MnbL+MnbR)/2
Vcol
(MnbL+MnbR)/2
Vcol

Hc M nbL MnbR

Vcol
Vcol (MnbL+MnbR)/2
(MnbL+M nbR)/2
Pu
รูปที่ 5.14 แรงกระทําที่ปลายเสา

เพื่อใหการออกแบบอยูในดานที่ปลอดภัย (Conservative design) คาแรงที่กระทําทั้งในเสาตนใน


และตนนอกอาคารจะใชจาก (5-38) อีกทั้งคาความสูงชวงวางของเสาเทากับ 3.00 ม. ดังนั้นจาก (5-39)
จะได
(26.24 / 2) + (26.24 / 2)
V col = = 8.75 ตัน
3.00

ทั้งนี้คา Vcol ที่คํานวณจากสมการขางตนมีคามากกวา แรงเฉือนประลัย ( V u = 6.83 ตัน)


ที่วิเคราะหไดตามตารางที่ 4.2, 4.5 และ 4.7 ดังนั้นถือไดวาปลอดภัย (แตหาก Vcol < V u แนะนําใหใช
V u ในการออกแบบ) และเพื่อหาปริมาณเหล็กเสริมตามขวางตองคํานวณกํารับแรงเฉือนของคอนกรีต
ลวน (Vc ) ภายใตแรงอัดตามแนวแกน ตามมาตรฐาน ACI ดังนี้

⎡ Pu ⎤
V c = 0.53⎢1 + ⎥ f c′ bd (5-40)
⎣⎢ 140.60 A g ⎥⎦

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 62/84

จาก (5-40) พบวาหากแรงอัดประลัยที่กระตอเสามีคามาก คา Vc ก็จะสูงตามไปดวย ดังนั้นเพื่อใหการ


ออกแบบอยูในดานที่ปลอดภัยคาแรงอัดประลัยนอยสุดจะถูกใชในการออกแบบ โดยจากตารางที่ 4.2 คา
แรงอัดประลัยต่ําสุดมีคาเทากับ Pu = 64,400 กก. ดังนัน้

⎡ 64,400 ⎤
V c = 0.53⎢1 + ⎥ 240 × 60 × 55.00
⎣ 140.60 × 60 × 60 ⎦

นั่นคือ Vc = 30,542.81 กก.


หรือ Vc = 30.54 ตัน
ดังนั้น φVc = 0.85 × 30.54 = 25.96 ตัน มากกวา Vcol = 8.75 ตัน O.K.
ตองคํานวณเหล็กรับแรงเฉือนจากเหล็กเสริมขั้นต่ํา

หมายเหตุ หากคา φV c มีคานอยกวา Vcol ใหเสริมเหล็กตามขวางตามสมการสมดุลดานลางนี้

V col
Vs = − Vc (5-41)
φ

5.4.4 เหล็กเสริมตามขวางนอยสุด (Minimum transverse reinforcement in Column)


ตามขอกําหนดของ มยผ.1305-50 ขอ 4.4 ซึ่งระบุวาจะตองเสริมเหล็กเสริมตามขวางใหมีระยะ
เรียง s 0 ภายในชวง l 0 ซึ่งวัดจากขอบของจุดตอ (รูปที่ 5.15) บนและลางเพื่อทําใหเกิดการโอบรัดแก
หนาตัด (Confinement reinforcement) โดย s 0 ตองไมมากกวาระยะดังตอไปนี้ (มยผ. 4.4.1)

1. 8 เทาของเสนผานศูนยกลางเหล็กเสริมตามยาวที่เล็กที่สุด, s 0 = 8 × 2.0 = 16.00 ซม.


2. 24 เทาของเสนผานศูนยกลางเหล็กเสริมตามขวาง, s 0 = 24 × 0.9 = 21.60 ซม.
3. ครึ่งหนึ่งของมิติที่เล็กสุดของหนาตัด, s 0 = b = 30 ซม.
4. 30 ซม.

ดังนั้นระยะเรียงต่ําสุดจากขอกําหนดการโอบรัดคือ 16.00 ซม.

หมายเหตุ ในตัวอยางนี้ใชเหล็กตามแนวยาวที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางเทากับ 20 มม. (2.0 ซม.)


และใชเหล็กเสริมตามขวาง คือ RB9 (เสนผานศูนยกลาง 0.90 ซม.)

โดยระยะเรียงที่ไดควรมีการตรวจสอบกับระยะเรียงที่สอดคลองกับปริมาณเหล็กรับแรงเฉือนขั้น
ต่ําเพื่อปองกันการวิบัติจากแรงเฉือน (Minimum reinforcement for shear) ซึ่งแนะนําโดยมาตรฐาน ACI
ซึ่งก็คือ (5-17) นั่นเอง
ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน
การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 63/84

Av f y
s= (5-42)
3.5b

แทนคาจะได
2 × 0.636 × 2,400
s= = 14.54 ซม.
3.5 × 60

เนื่องจากระยะเรียง 14.54 ซม. ซึ่งเปนระยะเรียงมากสุดเพื่อปองกันการวิบัติโดยแรงเฉือนซึ่งแนะนําโดย


มาตรฐานมีคานอยกวาระยะเรียงมากสุดที่ตองการโดยการโอบรัด ดังนั้นแสดงวาระยะเรียงของเหล็ก
ปลอกของเสาในบริเวณจุดหมุนพลาสติกจึงถูกควบคุมโดยการแรงเฉือน และเพื่อเปนการสะดวกในการ
ทํางานจะใชระยะเรียงดังกลาวเทากับ 15.00 ซม. โดยเพิ่มจํานวนเหล็กปลอกเขาไปดังรูปที่ 5.9 ทั้งนี้
เหล็กเสริมตามขวางดังกลาวจะตองจัดเรียงในชวง l 0 ซึ่งวัดจากปลายบนและปลายลางของเสา โดย
l 0 ตองไมนอยกวาความยาวดังนี้

1
1. หนึ่งในหกของความสูงจากขอบถึงของขอบเสา, l0 = (350 − 50) = 50 ซม.
6
2. มิติดานที่มากที่สุดของเสา, l 0 = 60 ซม.
3. 50 ซม.

จากขอกําหนดทั้งหมดจึงกําหนดใหเรียงเหล็กกลมเสนผานศูนยกลาง 9 มม. หรือ RB9 ในชวง


ความยาว 60.0 ซม. จากขอบเสาทั้งสองดานเปนระยะ 15.00 ซม. (RB9@15.00 ซม.) โดยที่เหล็ก
ปลอกเสนแรกจะตองวางหางจากขอบเสาไมเกินครึ่งหนึ่งของระยะเรียง s 0 หรือ 7.50 ซม. (ดูรูปที่ 5
ตาม มยผ.1301-50)
สําหรับชวงภายนอก l 0 ระยะเรียงของเหล็กเสริมตามขวางตองไมมากกวา 2 เทาของระยะเรียง
s 0 ในชวง l 0 ดังนั้นจึงกําหนดใหเรียงเหล็ก RB9 เปนระยะ 30.00 ซม. สําหรับชวงที่อยูนอกเหนือ l 0
ดังกลาว (รูปที่ 5 มยผ.1301-50)
อยางไรก็ดีมาตรฐาน ACI กําหนดวาเหล็กเสริมตามขวางจะตองคลองผานเหล็กเสริมเอกในเสา
เปนระยะไมหางกวา 15.0 ซม. เพื่อเปนการปองการโกงเดาะ (Buckling) ของเหล็กเสริมเอก ดังนั้นการ
เสริมเหล็กตามขวางจึงเปนไปตามรูปที่ 5.9

5.4.5 ระยะทาบตอ (Lap splice)


เพื่อปองกันไมใหเกิดการวิบัติแบบปริเนื่องจากการทาบเหล็กเสริมที่โคนเสา (Lap splice failure)
มาตรฐาน มยผ.1301-50 ขอ 4.4.7 จึงกําหนดใหการทาบตอเหล็กเสริมในเสาใหกระทําที่บริเวณชวงกลาง
ความสูงเสา ทั้งนี้ระยะทาบดังกลาวตองไมนอยกวา คามากกวาระหวาง 2 กรณีขางลางนี้

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 64/84

กรณีที่ 1 ระยะฝงเหล็กเสริมขอออยที่รับแรงอัด

0.075db f y
ld = ≤ 0.0043db f y (5-43)
f c′

⎧ 0.075 × 2.0 × 4,000 ⎫


นั่นคือ l d ≥ Max ⎨ , 0.0043 × 2.0 × 4,000⎬
⎩ 240 ⎭
จะได l d = Max { 38.73, 34.40 } = 38.73 ซม.
ทั้งนี้คา ld ที่ไดตองไมนอยกวา 40.00 ซม. (5-44)

กรณีที่ 2 ระยะตอทาบเหล็กเสริมขอออยรับแรงอัด

l d = 0.007db f y ≤ 30 (5-45)

นั่นคือ l d ≥ Max {0.007 × 2.0 × 4,000, 30}


จะได l d = Max { 56.00, 30 } = 44.80 (5-46)

เมื่อเปรียบเทียบคาที่ไดจาก (5-44) และ (5-46) ดังนั้นจึงกําหนดระยะทาบตอสําหรับเหล็กเสริมในเสา


เทากับ 50.00 ซม. โดยไมลดระยะทาบตอเนื่องจากการโอบรัดที่ดี

5.4.6 ระยะฝงยึดในเสา (Development length in Column)


เพื่อใหเหล็กเสริมในเสาสามารถพัฒนากําลังไดเต็มที่ ระยะฝงยึดของเสาในคานชั้นบนสุด (แบบ
ปลายงอฉาก) ตองมีอยางพอเพียง ทั้งนี้ระยะดังกลาวจะคํานวณใหอยูในดานที่ปลอดภัยโดยเลือกใชตัว
คูณลดกําลังที่เกี่ยวของกับการโอบรัดและคอนกรีตหุมซึ่งมีคาเทากับ 0.80 และ 0.70 ตามลําดับ ดังนี้

⎧⎪ 0.08 f y db ⎫⎪
l dh = 0.70 × 0.80 × Max ⎨ , 8db , 15⎬ (5-47)
⎪⎩ f c′ ⎪⎭

แทนคาจะได l dh = 0.70 × 0.80 × Max { 41.31, 16.00, 15.00 } = 23.13 ซม.


เลือกใช l dh = 25.00 ซม. และปลายฉากยื่นเทากับ 12 เทาของเสนผานศูนยกลางเหล็ก ซึ่ง
เทากับ 24.00 ซม. ใชเทากับ 25 ซม. ดังแสดงในรูปที่ 5.15

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 65/84

0.25m
Roof

0.5m
ldh=0.25m 2-RB9@0.20

0.5m
3-RB9@0.15
0.6
1 1
3.0m

2.0m
Splice 3-RB9@0.30
0.6

12-DB20
0.50m

0.5m
3-RB9@0.15
< 7.50 cm

0.5m
2-RB9@0.20

0.5m

รูปที่ 5.15 รายละเอียดเหล็กเสริมในเสา

5.5 การออกแบบกําแพงรับแรงเฉือน
เนื่องจากโครงสรางเปนอาคารที่มีความเหนียวจํากัด ดังนั้นการออกแบบเหล็กเสริมในกําแพงรับ
แรงเฉือนจึงไมตองพิจารณารายละเอียดเกี่ยวกับการตานทานแผนดินไหว ซึ่งก็หมายความวาการ
ออกแบบสามารถพิจารณาเปนกําแพงคอนกรีตเสริมเหล็กปรกติได การออกแบบจะแบงการพิจารณา
ออกเปน 2 สวน คือ (1) เหล็กเสริมรับแรงดัด และ (2) เหล็กเสริมรับแรงเฉือน โดยในสวนแรกการ
คํานวณปริมาณเหล็กเสริมจะใชวิธีความเครียดสอดคลองเพื่อสรางเสนโคงปฏิสัมพันธเชนเดียวกับการ
ออกแบบเสา
ลักษณะของกําแพงรับแรงเฉือนที่ใชในการออกแบบแสดงไวในรูปที่ 5.16 ซึ่งในสวนปลายของ
กําแพงจะยึดติดกับเสา (หรือที่เรียกวา Boundary elements) และใชรายละเอียดเหล็กเสริมในเสาตามที่
ออกแบบไวในหัวขอ 5.4 (รูปที่ 5.9) โดยเหล็กเสริมตามแนวยาวในตัวกําแพงจะเหล็ก DB16 มม. จํานวน
42 เสน (21 คู) สําหรับพิกัดและขนาดของเหล็กเสริมในกําแพงแสดงไวในตารางที่ 5.1
ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน
การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 66/84

0.60

0.60

0.20

5.00

รูปที่ 5.16 รายละเอียดของกําแพงรับแรงเฉือน

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 67/84

ตารางที่ 5.1 ตําแหนงและพื้นที่หนาตัดของเหล็กเสริมในกําแพงรับแรงเฉือน


ลําดับ ตําแหนงเหล็กเสริม , di ชนิดเหล็กเสริม พื้นที่เหล็กเสริมในเสา
(ซม.) (ซม.2)
1 5.00 4DB20 12.56
2 21.67 2DB20+2DB16 10.30
3 38.33 2DB20+2DB16 10.30
4 55.00 4DB20 12.56
5 65.18 2DB16 4.02
6 92.03 2DB16 4.02
7 118.89 2DB16 4.02
8 145.74 2DB16 4.02
9 172.59 2DB16 4.02
10 199.44 2DB16 4.02
11 226.29 2DB16 4.02
12 253.14 2DB16 4.02
13 280.00 2DB16 4.02
14 306.85 2DB16 4.02
15 333.70 2DB16 4.02
16 360.55 2DB16 4.02
17 387.40 2DB16 4.02
18 414.26 2DB16 4.02
19 441.11 2DB16 4.02
20 467.96 2DB16 4.02
21 494.81 2DB16 4.02
22 505.00 4DB20 12.56
23 521.67 2DB20+2DB16 10.30
24 538.33 2DB20+2DB16 10.30
25 555.00 4DB20 12.56
2
รวม (ซม. ) 159.78

สําหรับกําแพงยาว 5.60 ม. (รวมเสา) หนา 20 ซม. จะมีพื้นที่หนาตัดรวมเทากับ

A g = 2 × 60 × 60 + (560 − 2 × 60) × 20 = 16,000.00 ซม.2

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 68/84

คิดเปนรอยละเหล็กเสริมเทากับ ρ st = 159.78 /16,000 ≈ 1.00%

จุดที่ 1 กําลังรับแรงอัดสูงสุดตามทฤษฎี คํานวณจาก (5-20) ดังนี้

P0 = 0.85 × 240 × (16,000 − 159.78) + 159.78 × 4,000 = 3,870,524.88 กก.

หรือ P0 = 3,870.52 ตัน


จะได φP0 = 2,709.37 ตัน เมื่อ φ = 0.70 สําหรับองคอาคารรับแรงอัด (ACI318-99)
ซึ่งไดพิกัด (φM n , φPn ) = (0, 2,709.37) (5-48)

จุดที่ 2 จุดกอนเกิดแรงดึงในหนาตัด (Zero tension) คํานวณโดยการกําหนดความเครียดที่ผิวรับ


แรงดึงของคอนกรีตใหเทากับศูนยหรือกําหนดคาความลึกของแนวแกนสะเทินใหเทากับความ
ลึกหนาตัด ( c = h ) โดยจากความสัมพันธของสามเหลี่ยมคลายสําหรับความเครียดในเหล็ก
เสริมแตละชั้นของหนาตัด จาก (5-22) จะได
ε cu = 0.003

c=560

รูปที่ 5.17 การกระจายตัวของความเครียดสําหรับภาวะกอนเกิดแรงดึงในหนาตัด (หนวยเปน ซม.)

เมื่อ c = 560 ซม. หรือมี a = 0.85 × 560 = 476 ซม. ทําใหมีพื้นที่รับแรงอัด เทากับ

Ac = 60 × 60 + (476 − 60) × 20 = 11,920.00 ซม.2

คิดเปนแรงอัดเทากับ C c = 0.85 f c′ Ac = 2,431,680.00 กก.


และมีจุดศูนยถวงเมื่อวัดออกจากผิวรับแรงอัดเทากับ
ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน
การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 69/84

60 ⎛ 476 − 60 ⎞
60 × 60 × + 20 × (476 − 60)⎜ 60 + ⎟
2 ⎝ 2 ⎠
yc = = 196.12 ซม.
60 × 60 + 20 × (476 − 60)

เมื่อคํานวณโมเนตจากแรงอัดของคอนกรีตรอบจุดสูนยถวงพลาสติกของกําแพง (กึ่งกลาง) จะได

M c = C c (y − y c ) = 2,431,680(280 − 196.12) = 2.04 × 10 8 กก.-ซม.

และสําหรับความเครีดยและแรงในเหล็กเสริมแตละชั้นเมื่อเปรียบเทียบกับความเครียดคราก
( ε y ) ซึ่งมีคาเทากับ

fy 4,000
εy = = = 0.00196 ซม./ซม.
Es 2.04 × 10 6

ไดแสดงไวในตารางที่ 5.2 ทั้งนี้เหล็กเสริมที่อยูในกลองรับแรงอัดจะหักลบพื้นที่ของคอนกรีต


ออกดวยเพื่อความละเอียด และคาโมเมนตของเหล็กเสริม ( M s ) ที่แสดงไวในหลักสุดทายเปน
คาโมเมนตที่พิจารณารอบจุดศูนยถวงพลาสติกเชนเดียวกับ M c (โดยเครื่องหมายบวกแสดง
การรับแรงอัดและเครื่องหมายลบแสดงการรับแรงดึง)

หมายเหตุ สัญลักษณ CI หมายถึงเหล็กรับแรงอัดและอยูภายในกลองรับแรงอัดและ CO หมายถึง


เหล็กเสริมรับแรงอัดแตอยูนอกกลองรับแรงอัดซึ่งจะไมหักลบพื้นที่ของคอนกรีตออก

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 70/84

ตารางที่ 5.2 ความเครียด หนวยแรง แรงและโมเมนตดัดในเหล็กเสริมสําหรับจุดที่ 2


i ลึก พื้นที่ ความเครียด ประเภท หนวยแรง แขน แรง โมเมนต
di As εs fs แรง Fs Ms
2 2
(ซม.) (ซม. ) (ซม./ซม.) (กก./ซม. ) (ซม.) (กก.) (กก.-ซม.)
1 5.00 12.56 0.00297 C 3796.00 275.00 4.77E+04 1.31E+07
2 21.67 10.30 0.00288 C 3796.00 258.33 3.91E+04 1.01E+07
3 38.33 10.30 0.00279 C 3796.00 241.67 3.91E+04 9.45E+06
4 55.00 12.56 0.00271 C 3796.00 225.00 4.77E+04 1.07E+07
5 65.18 4.02 0.00265 C 3796.00 214.82 1.53E+04 3.28E+06
6 92.03 4.02 0.00251 C 3796.00 187.97 1.53E+04 2.87E+06
7 118.89 4.02 0.00236 C 3796.00 161.11 1.53E+04 2.46E+06
8 145.74 4.02 0.00222 C 3796.00 134.26 1.53E+04 2.05E+06
9 172.59 4.02 0.00208 C 3796.00 107.41 1.53E+04 1.64E+06
10 199.44 4.02 0.00193 C 3736.40 80.56 1.50E+04 1.21E+06
11 226.29 4.02 0.00179 C 3442.95 53.71 1.38E+04 7.43E+05
12 253.14 4.02 0.00164 C 3149.49 26.86 1.27E+04 3.40E+05
13 280.00 4.02 0.00150 C 2856.04 0.00 1.15E+04 4.39E+01
14 306.85 4.02 0.00136 C 2562.59 -26.85 1.03E+04 -2.77E+05
15 333.70 4.02 0.00121 C 2269.14 -53.70 9.12E+03 -4.90E+05
16 360.55 4.02 0.00107 C 1975.69 -80.55 7.94E+03 -6.40E+05
17 387.40 4.02 0.00092 C 1682.23 -107.40 6.76E+03 -7.26E+05
18 414.26 4.02 0.00078 C 1388.78 -134.26 5.58E+03 -7.50E+05
19 441.11 4.02 0.00064 C 1095.33 -161.11 4.40E+03 -7.09E+05
20 467.96 4.02 0.00049 C 801.88 -187.96 3.22E+03 -6.06E+05
21 494.81 4.02 0.00035 C 712.43 -214.81 2.86E+03 -6.15E+05
22 505.00 12.56 0.00029 C 601.07 -225.00 7.55E+03 -1.70E+06
23 521.67 10.30 0.00021 C 418.89 -241.67 4.31E+03 -1.04E+06
24 538.33 10.30 0.00012 C 236.82 -258.33 2.44E+03 -6.30E+05
25 555.00 12.56 0.00003 C 54.64 -275.00 6.86E+02 -1.89E+05
รวม (กก. และ กก.-ซม.) 3.680E+05 4.960E+07
รวม (ตัน และ ตัน-ซม.) 368.05 49,601.95

แรงอัดทั้งหมด Pnto = C c + C s − Ts
เทากับ Pnt 0 = 2.43 × 10 6 + 3.68 × 10 5 − 0 = 2.80 × 10 6 กก.
หรือ φPnt 0 = 0.70 × 2,799.73 = 1,959.81 ตัน

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 71/84

นั่นคือ M nt 0 = M c + M s = 2.04 × 10 8 + 4.96 × 10 7 = 2.54 × 10 8 กก.-ซม.


หรือ M nt 0 = 253,569.31 ตัน-ซม.
จะได φM nt 0 = 0.70 × 253,569.31 = 177,498.52 ตัน-ซม.
ซึ่งไดพิกัด (φM n , φPn ) = (177,498.52, 1,959.81) (5-49)

จุดที่ 3 ภาวะสมดุลหรือจุดที่ความเครียดในเหล็กเสริมรับแรงดึงเสนไกลสุดจากผิวรับแรงอัดมีคา ถึงจุด


คราก ( ε s = ε y ) พรอมกับความเครียดที่ผิวรับแรงอัดของคอนกรีตมีคาเทากับความเครียดบด
อัด ( εc = εcu = 0.003 ซม./ซม.) โดยจากความสัมพันธของสามเหลี่ยมคลาย (5-22) จะได

ε cu = 0.003

cb

dt =555 cm

ε y = 0.00196

รูปที่ 5.18 การกระจายตัวของความเครียดสําหรับภาวะสมดุล (หนวยเปน ซม.)

แทนคา dt = 555.00 ซม. ลงใน (5-24) จะได c b = 335.69 ซม. พรอมกับคํานวณความลึก


ของกลองรับแรงอัด นั่นคือ a b = β1c b = 0.85 × 335.69 = 285.33 ซม. ทําใหมีพื้นที่รับ
แรงอัด เทากับ
Acb = 60 × 60 + (335.69 − 60) × 20 = 8,106.60 ซม.

คิดเปนแรงอัดเทากับ C cb = 0.85 f c′ Ac = 1,653,746.40 กก.

และมีจุดศูนยถวงเมื่อวัดออกจากผิวรับแรงอัดเทากับ

60 ⎛ 335.69 − 60 ⎞
60 × 60 × + 20 × (335.69 − 60)⎜ 60 + ⎟
2 ⎝ 2 ⎠
y cb = = 109.31 ซม.
60 × 60 + 20 × (335.69 − 60)

เมื่อคํานวณโมเนตจากแรงอัดของคอนกรีตรอบจุดสูนยถวงพลาสติกของกําแพง (กึ่งกลาง) จะได


ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน
การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 72/84

M cb = C cb (y b − y cb ) = 1,653,746.40(280 − 109.31) = 2.82 × 10 8 กก.-ซม.

โมเมนตดัดและแรงจากเหล็กเสริม สําหรับจุดสมดุลไดแสดงไวในตารางที่ 5.3 ดังนี้

ตารางที่ 5.2 ความเครียด หนวยแรง แรงและโมเมนตดัดในเหล็กเสริมสําหรับจุดที่ 3


i ลึก พื้นที่ ความเครียด ประเภท หนวยแรง แขน แรง โมเมนต
di As εs fs แรง Fs Ms
2 2
(ซม.) (ซม. ) (ซม./ซม.) (กก./ซม. ) (ซม.) (กก.) (กก.-ซม.)
1 5.00 12.56 0.00296 CI 3796.00 275.00 4.77E+04 1.31E+07
2 21.67 10.30 0.00281 CI 3796.00 258.33 3.91E+04 1.01E+07
3 38.33 10.30 0.00266 CI 3796.00 241.67 3.91E+04 9.45E+06
4 55.00 12.56 0.00251 CI 3796.00 225.00 4.77E+04 1.07E+07
5 65.18 4.02 0.00242 CI 3796.00 214.82 1.53E+04 3.28E+06
6 92.03 4.02 0.00218 CI 3796.00 187.97 1.53E+04 2.87E+06
7 118.89 4.02 0.00194 CI 3748.56 161.11 1.51E+04 2.43E+06
8 145.74 4.02 0.00170 CI 3259.01 134.26 1.31E+04 1.76E+06
9 172.59 4.02 0.00146 CI 2769.47 107.41 1.11E+04 1.20E+06
10 199.44 4.02 0.00122 CI 2279.93 80.56 9.17E+03 7.38E+05
11 226.29 4.02 0.00098 CI 1790.38 53.71 7.20E+03 3.87E+05
12 253.14 4.02 0.00074 CI 1300.84 26.86 5.23E+03 1.40E+05
13 280.00 4.02 0.00050 CI 811.29 0.00 3.26E+03 1.25E+01
14 306.85 4.02 0.00026 CO 525.75 -26.85 2.11E+03 -5.67E+04
15 333.70 4.02 0.00002 CO 36.20 -53.70 1.46E+02 -7.82E+03
16 360.55 4.02 -0.00022 T -453.34 -80.55 -1.82E+03 1.47E+05
17 387.40 4.02 -0.00046 T -942.89 -107.40 -3.79E+03 4.07E+05
18 414.26 4.02 -0.00070 T -1432.43 -134.26 -5.76E+03 7.73E+05
19 441.11 4.02 -0.00094 T -1921.98 -161.11 -7.73E+03 1.24E+06
20 467.96 4.02 -0.00118 T -2411.52 -187.96 -9.69E+03 1.82E+06
21 494.81 4.02 -0.00142 T -2901.07 -214.81 -1.17E+04 2.51E+06
22 505.00 12.56 -0.00151 T -3086.83 -225.00 -3.88E+04 8.72E+06
23 521.67 10.30 -0.00166 T -3390.75 -241.67 -3.49E+04 8.44E+06
24 538.33 10.30 -0.00181 T -3694.48 -258.33 -3.81E+04 9.83E+06
25 555.00 12.56 -0.00196 T -3998.40 -275.00 -5.02E+04 1.38E+07
รวม (กก. และ กก.-ซม.) 6.807E+04 1.038E+08
รวม (ตัน และ ตัน-ซม.) 68.07 103,821.72

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 73/84

แรงอัดทั้งหมด Pnb = C cb + C sb − Tsb


เทากับ Pnb = 1.65 × 10 6 + 2.70 × 10 5 − 2.02 × 10 5 = 1.72 × 10 6 กก.
หรือ φPnb = 0.70 × 1,721.81 = 1,205.27 ตัน
นั่นคือ M nb = M cb + M sb = 2.82 × 10 + 1.04 × 10 = 3.86 × 10 8
8 8
กก.-ซม.
หรือ M nb = 386,099.76 ตัน-ซม.
จะได φM nb = 0.70 × 386,099.76 = 270,269.83 ตัน-ซม.
ซึ่งไดพิกัด (φM nb , φPnb ) = (270,269.83, 1,205.27) (5-50)

จุดที่ 4 จุดที่ปราศจากแรงอัดหรือพิจารณาเสาเปนคาน โดยสมมุติคา c = 39.47 ซม. พรอม


กับคํานวณความลึกของกลองรับแรงอัด นั่นคือ a b = β1c b = 0.85 × 39.47 = 33.55 ซม.
ทําใหมีพื้นที่รับแรงอัด เทากับ

Ac = 60 × 33.55 = 2,013.00 ซม.

คิดเปนแรงอัดเทากับ C c = 0.85 f c′ Ac = 410,652.00 กก.

จุดศูนยถวงเมือ่ วัดออกจากผิวรับแรงอัดเทากับ yc = 0.5 × a = 0.5 × 33.56 = 16.78 ซม.


เมื่อคํานวณโมเนตจากแรงอัดของคอนกรีตรอบจุดสูนยถวงพลาสติกของกําแพง (กึ่งกลาง) จะได

M c = C c (y b − y cb ) = 410,652.00(280 − 16.78) = 1.08 × 10 8 กก.-ซม.

ซึ่งเมื่อคํานวณแรงอัดตามแนวแกนจากแรงอัดของคอนกรีตและแรงจากเหล็กเสริมตามตารางที่
5.3 พบวา

คํานวณแรงอัด C = C c + C s = 4.11 × 10 5 + 7.58 × 10 4 = 486,476.90 กก.

คํานวณแรงดึง T = 486,431.07 กก.


ตรวจสอบสมดุลระหวางแรงอัดและดึง จะได 486,476.90 ≅ 486,431.07 ใกลเคียง O.K.
รวมโมเมนตรอบจุดศูนยถวงพลาสติก (กลางหนาตัด) ของหนาตัด
นั่นคือ M 0 = M c + M s = 1.08 × 10 8 + 5.93 × 10 7 = 1.67 × 10 8 กก.-ซม.
หรือ M 0 = 167,371.60 ตัน-ซม.
จะได φM 0, = 0.90 × 167,371.60 = 150,634.44 ตัน-ซม.

ซึ่งไดพิกัด (φM n , φPn ) = (150,634.44, 0) (5-51)

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 74/84

ตารางที่ 5.3 ความเครียด หนวยแรง แรงและโมเมนตดัดในเหล็กเสริมสําหรับจุดที่ 4


i ลึก พื้นที่ ความเครียด ประเภท หนวยแรง แขน แรง โมเมนต
di As εs fs แรง Fs Ms
2 2
(ซม.) (ซม. ) (ซม./ซม.) (กก./ซม. ) (ซม.) (กก.) (กก.-ซม.)
1 5.00 12.56 0.00262 CI 3796.00 275.00 4.77E+04 1.31E+07
2 21.67 10.30 0.00135 CI 2555.97 258.33 2.63E+04 6.80E+06
3 38.33 10.30 0.00009 CO 176.76 241.67 1.82E+03 4.40E+05
4 55.00 12.56 -0.00118 T -2408.00 225.00 -3.02E+04 -6.80E+06
5 65.18 4.02 -0.00195 T -3986.73 214.82 -1.60E+04 -3.44E+06
6 92.03 4.02 -0.00400 T -4000.00 187.97 -1.61E+04 -3.02E+06
7 118.89 4.02 -0.00604 T -4000.00 161.11 -1.61E+04 -2.59E+06
8 145.74 4.02 -0.00808 T -4000.00 134.26 -1.61E+04 -2.16E+06
9 172.59 4.02 -0.01012 T -4000.00 107.41 -1.61E+04 -1.73E+06
10 199.44 4.02 -0.01216 T -4000.00 80.56 -1.61E+04 -1.30E+06
11 226.29 4.02 -0.01420 T -4000.00 53.71 -1.61E+04 -8.64E+05
12 253.14 4.02 -0.01624 T -4000.00 26.86 -1.61E+04 -4.32E+05
13 280.00 4.02 -0.01828 T -4000.00 0.00 -1.61E+04 -6.14E+01
14 306.85 4.02 -0.02032 T -4000.00 -26.85 -1.61E+04 4.32E+05
15 333.70 4.02 -0.02236 T -4000.00 -53.70 -1.61E+04 8.63E+05
16 360.55 4.02 -0.02440 T -4000.00 -80.55 -1.61E+04 1.30E+06
17 387.40 4.02 -0.02645 T -4000.00 -107.40 -1.61E+04 1.73E+06
18 414.26 4.02 -0.02849 T -4000.00 -134.26 -1.61E+04 2.16E+06
19 441.11 4.02 -0.03053 T -4000.00 -161.11 -1.61E+04 2.59E+06
20 467.96 4.02 -0.03257 T -4000.00 -187.96 -1.61E+04 3.02E+06
21 494.81 4.02 -0.03461 T -4000.00 -214.81 -1.61E+04 3.45E+06
22 505.00 12.56 -0.03538 T -4000.00 -225.00 -5.02E+04 1.13E+07
23 521.67 10.30 -0.03665 T -4000.00 -241.67 -4.12E+04 9.96E+06
24 538.33 10.30 -0.03792 T -4000.00 -258.33 -4.12E+04 1.06E+07
25 555.00 12.56 -0.03918 T -4000.00 -275.00 -5.02E+04 1.38E+07
รวม (กก. และ กก.-ซม.) -4.105E+05 5.929E+07
รวม (ตัน และ ตัน-ซม.) -410.54 59,292.05

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 75/84

จุดที่ 5 จุดที่เสามีกําลังรับแรงอัดตามทฤษฎี ตามมาตรฐาน สําหรับเสาปลอกเดี่ยว จาก (5-27)

นั่นคือ Pn (max) = 0.80 × 3,870.52 = 3,096.42 ตัน


จะได φPn (max) = 0.70 × 3,096.42 = 2,167.49 ตัน
ซึ่งไดพิกัด (φM n , φPn ) = (0, 2,167.49) (5-52)

จุดที่ 6 จุดที่มีคาโมเมนตดัดที่สอดคลองกับจุดที่ 5 บนเสนโคงปฏิสัมพันธ ซึ่งคํานวณจากการประมาณ


คาเชิงเสนระหวางจุดที่ 1 และจุดที่ 2 จาก (5-31) นั่นคือ

⎛ 3,870.52 − 3,096.42 ⎞
M n (max) = ⎜⎜ ⎟⎟(253,569.31) = 183,311.39 ตัน-ซม.
⎝ 3,870.52 − 2,799.73 ⎠
หรือ φM n (max) = 0.70 × 183,311.39 = 128,317.97 ตัน-ซม.
ซึ่งไดพิกัด (φM n , φPn ) = (128,317.97, 2,167.49) (5-53)

หมายเหตุ สมการ (5-31) ใชไดในกรณีที่ Pn (max) > Pnt 0 แตหาก Pn (max) < Pnt 0 ใหใช (5-29) .
ในการคํานวณคา M n (max)

จุดที่ 7 จุดที่เริ่มเปลี่ยนคาตัวคูณลดกําลังจาก 0.70 ไปเปน 0.90 ตามมาตรฐาน ACI318-99 ซึ่งจาก


การพิจารณาจุดตัดบนเสนโคงปฏิสัมพันธและกําลังรับแรงอัด จาก (5-32)

จะได Pnφ = 0.10 × 16,000 × 240 /0.7 = 548,571.43 กก.


หรือ Pnφ = 548.57 ตัน ( φPnφ = 0.10 × 16,000 × 0.24 = 384.00 ตัน)
และหากใชสมมุติฐานวาพิกัด ( M n , Pn ) แปรผันเปนเสนตรงจาก ( M nb , Pnb ) ไปยัง
( M 0 , 0 ) และใชการประมาณคาเชิงเสน จาก (5-33)

⎛ 1,721.81 − 548.57 ⎞
นั่นคือ M nφ = 386,099.76 − ⎜⎜ ⎟⎟(386,099.76 − 167,371.60)
⎝ 1,721.81 ⎠
จะได M nφ = 237,058.56 ตัน.-ซม.
หรือ φM nφ = 0.70 × 237,058.56 = 165,940.99 ตัน-ซม.
ซึ่งไดพิกัด (φM n , φPn ) = (165,940.99, 384.00) (5-54)

นําพิกัดจาก (5-48) - (5-54) มาเขียน เสนโคงปฏิสัมพันธสําหรับกําแพงรับแรงเฉือน จะไดดัง


แสดงรูปที่ 5.19

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 76/84

φPn (ตัน)
3,000

2,500

2,000

1,500

1,000

500
φMn (ตัน-ซม.)
0
0 50,000 100,000 150,000 200,000 250,000 300,000

รูปที่ 5.19 เสนโคงปฏิสัมพันธของกําแพงรับแรงเฉือน

จากรูปที่ 5.19 พบวาหนาตัดสามารถรับภาระของน้ําหนักบรรทุกภายนอกได (จุดอยูในเสนโคง)


ดังนั้นแสดงวากําแพงสามารถดัดแรงดัดและแรงอัดรวมกันได

ขั้นตอนตอมาเปนการคํานวณกําลังรับแรงเฉือนและเหล็กเสริมรับแรงเฉือนของกําแพงรับแรงเฉือน
ซึ่งออกแบบขอแนะนําของมาตรฐาน ACI ซึ่งในทางปฏิบัติจะพิจารณาเฉพาะสวนของกําแพงโดยไมรวมสวน
ของเสาทําใหหนาตัดที่ใชออกแบบมีลักษณะเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง 20 ซม. ยาว 5.60 ม. ดังนี้

• ความลึกประสิทธิผล, l w = 500 + 30 + 30 = 560.00 ซม.


• ความสูงกําแพง, h w = 2900.00 ซม.
• ความลึกประสิทธผล, d = 0.80l w = 0.80 × 560 = 448.00 ซม.
• แรงเฉือนประลัย, V u = 134.2 ตัน
• โมเมนตดัดประลัย, M u = 1,674 ตัน-ม.
• กําลังรับแรงเฉือนออกแบบทัง้ หมด, φVn = 2.70φ f c′ bd
2.70 × 0.85 240 × 20 × 448.0
=
1,000
= 318.56 ตัน > V u O.K.
ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน
การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 77/84

• กําลังรับแรงเฉือนออกแบบโดยคอนกรีต, φV c = 0.53φ f c′ bd
0.53 × 0.85 240 × 20 × 448.0
=
1,000
= 62.53 ตัน

• แรงในเหล็กเสริมรับแรงเฉือน, V s = V u / φ − Vc
= (134.2 − 62.53)/ 0.85
= 84.35 ตัน

• เลือกใชเหล็ก DB12 มม. ซึ่งมีพื้นที่หนาตัด (2 ขา) เทากับ 2.26 ซม.2

Av f y d
• คํานวณระยะเรียงที่ตองการตามทฤษฎี, s=
Vs
2.26 × 4,000 × 448
=
84.35 × 1,000
= 48.10 ซม.

• โดยทั้งนี้ระยะเรียงตองไมนอยกวา s 2 = Min { l w /5, 3t , 45 }


= Min { 560 /5, 3 × 20, 45 }
= Min {112, 60, 45 } = 45 ซม.

• ใชระยะเรียงเทากับ 30 ซม. < Min { 48.10, 45.00 } = 45.0 ซม. O.K.

• นั่นคือใชเหล็ก DB12 @ 30 ซม.


2.26
• ซึง่ มีอัตราสวนเหล็กเสริมตามขวางเทากับ, ρh = = 0.0038 มากกวา 0.0025 O.K.
20 × 30
• ทั้งนี้มาตรฐานกําหนดใหเหล็กเสริมที่กระจายในบริเวณตัวกําแพงตองมีปริมาณไมนอยไปกวา

⎛ h ⎞
ρn = 0.0025 + 0.5⎜⎜ 2.5 − w ⎟(ρh − 0.0025)

⎝ lw ⎠

• หรือ 0.0025 ดังนั้นจาก

⎛ 2900 ⎞
ρn ,require = 0.0025 + 0.5⎜ 2.5 − ⎟(0.0038 − 0.0025) = 0.00076
⎝ 560 ⎠

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 78/84

ดังนั้นเหล็กเสริมกระจายทั้งหมดตองมีปริมาณไมต่ํากวา 0.0025 ซึ่งสําหรับในตัวอยางนี้มี


ปริมาณเหล็กเสริมดังกลาวมีคาเทากับ

42 × 2.01
ρ n , provide = = 0.0075 มากกวา 0.0025 O.K.
560 × 20

• อีกทั้งระยะเรียงของเหล็กเสริมดังกลาวตองมีคาไมเกินไปกวา

s l = Min { l w / 3, 3t , 45 }

นั่นคือ s l = Min { 560 / 3, 3 × 20, 45 } = 45.00 ซม. มากกวา 26.85 ซม. O.K.

รายละเอียดเหล็กเสริมแสดงไวในรูปที่ 5.20

0.60

12-DB20 0.60
3-RB9 -stirrup

42-DB16 or
2-DB16 @ 0.26

2-DB12 @ 0.30

0.20

รูปที่ 5.20 รายละเอียดเหล็กเสริมในกําแพงรับแรงเฉือน

กรณีที่ตองการออกแบบกําแพงรับแรงเฉือนใหมีความเหนียวสามารถทําไดเชนกัน สําหรับ
ตัวอยางนี้จะใชวิธีการคํานวณของ ACI เพื่อทําใหกําแพงมีรายละเอียดการเสริมเหล็กที่เหนียว ซึ่ง

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 79/84

ประกอบดวยกัน 3 ขั้นตอนหลัก ๆ คือ การออกแบบรับแรงอัด การออกแบบรับแรงเฉือน และการ


ออกแบบรับโมเมนตดัดรวมกับแรงตามแนวแกน
ขอมูลที่ใชไดแกความสูงทั้งหมด hw = 29 ม. โมเมนตดัดเพิ่มคาที่ฐานกําแพง M u = 1,674
ตัน-ม. แรงตามแนวแกนเพิ่มคา N u = 441 ตัน และ แรงเฉือนเพิ่มคา V u = 134.2 ตัน (นําขอมูลมา
จากตารางที่ 4.3 โดยเลือกกรณี 3 อาคารเอียงไปทางซาย เนื่องจากมีแรงอัดที่นอย และมีโมเมนตกระทํา
มาก ซึ่งเปนกรณีที่เลวรายที่สุด) กําลังรับแรงอัดของคอนกรีตที่ใช f c′ = 240 กก./ซม.2 และ กําลังคราก
ของเหล็ก f y = 4,000 กก./ซม.2 ความยาวกําแพง l w = 5.60 ม. ความหนาของกําแพง = 0.20 ม.

1. การออกแบบรับแรงอัด
ตรวจสอบวาตองการ boundary element หรือไม

bh 3 20 × 560 3
I g= = = 292,693,333 ซม.4
12 12
A g = 20 × 560 = 11,200 ซม.2
P Mc
fc = ± เมื่อ c = 280 ซม.
A I

หนวยแรงอัดสูงสุดบนหนาตัดกําแพงเทากับ

441 × 1,000 1,674 × 1000 × 100 × 280


fc = + = 199.52 กก./ซม.2
11,200 292,693,333

เนื่องจากหนวยแรงอัดสูงสุดที่ยอมให = 0.2 f c′ = 0.2 × 240 = 48.00 กก./ซม.2 ดังนั้นตองใช boundary


element.

ออกแบบ Boundary element


ก.) ออกแบบเหล็กยืนใน boundary element
คํานวณแรงอัดเพิ่มคาที่กระทําตอ Boundary element โดยสมมุติขนาดของ boundary element เทากับ
2
60 × 60 ซม. ดังนั้นระยะระหวางศูนยถึงศูนยของ Boundary element (l) = 560 − 60 = 500 ซม.

Mu Nu
Pu = +
l 2
1,674 441
Pu = + = 555.30 ตัน
5.0 2

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 80/84

หาปริมาณเหล็กยืนที่ตองการใน boundary element

φPn = 0.80φ[0.85 f c′ (A g − Ast ) + f y Ast ]

สมมุติใช 16-DB20 Ast = 50.27 ซม.2

0.80 × 0.70 × [0.85 × 240 × (60 × 60 − 50.27) + 4,000 × 50.27]


φPn = = 606.60 ตัน
1,000

ซึ่งมากกวา Pu = 555.30 ตัน O.K.

50.27
อัตราสวนเหล็กเสริม = = 1.40% มากกวา 1% แตไมเกิน 6% O.K.
60 × 60

ระยะเรียงวาง = 8.75 ซม. (ดานตามยาว) > 1.5db = 1.5 × 2.0 = 3.0 ซม.
= 8.75 ซม. (ดานตามขวาง) > 1.5db = 1.5 × 2.0 = 3.0 ซม.

ข.) ออกแบบเหล็กปลอกโอบรัด

⎧ f′
⎪ 0.09sh c c
⎪ f yh
Ash > ⎨ ⎡ Ag ⎤ f′
⎪0.3sh ⎢ − 1⎥ c
c
⎪ ⎢⎣ Ach ⎥⎦ f y

สมมุติใชเหล็ก DB12 และใหมีระยะเรียง s = 12 ซม. ซึ่งนอยกวา 0.25c w = 0.25 × 60 = 15 ซม. และ


6db = 6 × 2.0 = 12.0 ซม.

ออกแบบดานตามขวาง

h c = 60 − 2 × (6.5 + 0.6) = 45.8 ซม.


bc = 60 − 2 × (6.5 + 0.6) = 45.8 ซม.
Ach = 45.8 × 45.8 = 2,097.64 ซม.2
240
Ash1 = 0.09 × 12 × 45.8 × = 2.97 ซม.2
4000
60 × 60 240
Ash 2 = 0.3 × 12 × 45.8 × [ − 1] × = 7.09 ซม.2
2,097.64 4000

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 81/84

ใช เหล็กปลอกขวาง DB12 จํานวน 3 เสน รวมกับ เหล็กปลอกโอบ 2-DB12


( Av = 7 × 1.13 = 7.92 > 7.09 ซม.2) ดูรูปที1 5.21 ประกอบ

ออกแบบดานตามยาว

h c = 60 − 2 × (6.5 + 0.6) = 45.8 ซม.2


bc = 60 − 2 × (6.5 + 0.6) = 45.8 ซม.2
Ach = 45.8 × 45.8 = 2,097.64 ซม.2
240
Ash1 = 0.09 × 12 × 45.8 × = 2.97 ซม.2
4000
60 × 60 240
Ash 2 = 0.3 × 12 × 45.8 × [ − 1] × = 7.09 ซม.2
2,097.64 4000

ใช เหล็กปลอกขวาง DB12 จํานวน 3 เสน รวมกับ เหล็กปลอกโอบ 2-DB12


( Av = 7 × 1.13 = 7.92 > 7.09 cm 2 ) ดูรูปที่ 5.21 ประกอบ

2. การออกแบบรับแรงเฉือน
ออกแบบการเสริมเหล็กแนวนอนและแนวดิ่งในสวนกําแพง
ก) ตรวจสอบวาตองวางเหล็ก 2 ชั้น หรือไม

V u = 134.20 ตัน
Acv = 20 × 560 = 11,200 ซม.2
0.53Acv f c = 0.53 × 11,200 240 /1,000 = 91.96 ตัน < V u = 134.20 ตัน

ดังนั้นตองวางเหล็ก 2 ชั้น โดยอัตราสวนเหล็กเสริมที่วางตองไมนอยกวา 0.0025 และมีระยะเรียงไมเกิน


45 ซม. ในแตละทิศทาง

Asv
min ρv = = 0.0025
Acv

Acv ตอ ความยาวกําแพง 1 ม. = 20 × 100 = 2,000 ซม.2


A sv ที่ตองการในแตละทิศทาง = 0.0025 × 2,000 = 5 ซม.2/ม.

ใชเหล็ก DB12 @ 20 ซม. โดยจัดเรียง 2 ชัน้ ( Asv = 11.31 ซม.2/ม.) และ ระยะเรียง < 45 cm

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 82/84

ข.) ตรวจสอบกําลังรับแรงเฉือน
ตรวจสอบวาการวางเหล็กขางตนเพียงพอตอการตานทานแรงเฉือนหรือไม

h w 29.0
= = 5.18 > 2
lw 5.6
φV n = φAcv (0.53 f c + ρn f y )
2 × 1.13
φ = 0.6 , ρn = = 0.0057
20 × 20
0.6 × (11,200) × (0.53 240 + 0.0057 × 4,000)
φV n = = 208.39 ตัน > V u = 134.20 ตัน
1,000

ดังนั้นการวางเหล็ก 2 ชั้นขางตนพอเพียงตอการตานทานแรงเฉือน

ค.) ระยะฝงเหล็กใน boundary element

f y db 4,000 × 1.2
l dh = = = 18.23 ซม.
17 f c′ 17 × 240
ซึ่งมากกวา 8db = 8 × 1.2 = 9.6 ซม. และ 15 ซม.
l d = 3.5l dh = 3.5 × 18.23 = 63.81 cm

ในที่นี้จะฝงลึกเขาไปเปนระยะ 65 ซม.

3. การออกแบบรับโมเมนตดัดรวมกับแรงตามแนวแกน
ตรวจสอบหนาตัดกําแพงรับโมเมนตดัดรวมกับแรงตามแนวแกน
ใชโปรแกรม PCA column ในการตรวจสอบการรับโมเมนตดัดรวมกับแรงตามแนวแกน โดยใช
ขอมูล แรงอัดเพิ่มคาและโมเมนตเพิ่มคาจากตารางที่ 4.3 ผลการตรวจสอบโดยใชโปรแกรม PCA
column แสดงในรูปที่ 5.21 เมื่อใชตัวคูณลดกําลังของเสา = 0.7, ตัวคูณลดกําลังของคาน = 0.9
ซึ่งจะเห็นวาจุดที่ Plot อยูภายใน Interaction Diagram ซึ่งปลอดภัย ดังนั้นจัดรายละเอียดการเสริมเหล็ก
ดังรูปที่ 5.22

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 83/84

รูปที่ 5.21 ผลการตรวจสอบการรับโมเมนตดัดรวมกับแรงตามแนวแกนโดยโปรแกรม PCA Column

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น
SESSION 3-1 84/84

0.60

3-DB12 @0.12m
2-DB12 -Hoop 0.15
@0.12m

16-DB20
0.60
0.50 2-DB12 -Hoop
@0.12m

2-DB12 @ 0.20
3-DB12 @0.12m
2-DB12 @ 0.20

0.20

รูปที่ 5.22 รายละเอียดการเสริมเหล็กในกําแพงรับแรงเฉือนที่มีความเหนียว

ลิขสิทธิ์ของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใน


การออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวเทานั้น

You might also like