You are on page 1of 6

เครื องดนตรี ไทย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

เครื องดนตรีไทย คือ เครื องดนตรี ทีสร้างสรรค์ขึนตามศิลปวัฒนธรรมดนตรี ของไทย ทีมีรูปแบบเอกลักษณ์ของความเป็ นไทย ซึง
สัมพันธ์กบั ชีวติ ความเป็ นอยูแ่ ละถือว่าเป็ นส่ วนหนึงของชีวติ ของคนไทย โดยนิยมแบ่งตามอากัปกิริยา ของการบรรเลง คือเครื องดีด เครื อง
สี เครื องตี เครื องเป่ า
เครื องดนตรี หลัก ๆ ได้แก่ ปี ซอ ซออู ้ ซอด้วง ระนาด ฆ้อง จะเข้ ฉิง ฉาบ กลองยาว โหม่ง และ กรับ กับข้าวครังกับข้าว

เนือหา
[ซ่อน]

 ประวัติ
o . สมัยสุ โขทัย
o . สมัยอยุธยา
o . สมัยธนบุรี
o . สมัยรัตนโกสิ นทร์
 เครื องดนตรี ไทยแบ่งตามภาคต่าง ๆ ของประเทศ
o . เครื องดนตรี ภาคกลาง
o . เครื องดนตรี ภาคเหนือ
o . เครื องดนตรี ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ
o . เครื องดนตรี ภาคใต้
 รายชือเครื องดนตรี ไทยแบ่งตามการบรรเลง
o . เครื องดีด
o . เครื องสี
o . เครื องเป่ า
o . เครื องตี
 อ้างอิง
 แหล่งข้อมูลอืน

ประวัติ[แก้]
เครื องดนตรี ไทยเกิดจากชนชาติไทยเองและการเลียนแบบชนชาติอืนๆ ทีอยุใ่ กล้ชิดโดยเริ มตังแต่สมัยโบราณทีไทยตังถินฐานอยูใ่ น
อาณาจักรฉ่องหวูด่ ินแดนของประเทศจีนในปั จจุบนั [ต้องการอ้างอิง]ทําให้เครื องดนตรี ไทยและจีนมีการแลกเปลียนเลียนแบบกัน นอกจากนียังมีเครื อง
ดนตรี อีกหลายชนิด ทีชนชาติไทยประดิษฐ์ขึนใช้ก่อนทีจะมาพบวัฒธรรมอินเดีย ซึงแพร่ หลายอยูท่ างตอนใต้ของแหลมอินโดจีน[ต้องการอ้างอิง] สําหรับ
ั มของไทยจะเรี ยนตามคําโดดในภาษาไทย เช่น เกราะ โกร่ ง กรับ ฉิง ฉาบ ขลุ่ย พิณเปี ยะ ซอ ฆ้องและกลอง ต่อมาได้มีการ
ชือเครื องดนตรี ดงเดิ
ประดิษฐ์เครื องดนตรี ให้พฒั นาขึน โดยนําไม้ทีทําเหมือนกรับหลายอันมาวางเรี ยงกันได้เครื องดนตรี ใหม่ เรี ยกว่าระนาดหรื อนําฆ้องหลาย ๆ ใบ
มาทําเป็ นวงเรี ยกว่า ฆ้องวง เป็ นต้น
นอกจากนียังมีการผสมผสานกับวัฒนธรรมทางดนตรี ของอินเดีย มอญ เขมร ในแหลมอินโดจีนทีไทยได้ยา้ ยไปตังถินฐานอยู่ ได้แก่
พิณ สังข์ ปี ไฉน บัณเฑาะว์ กระจับปี จะเข้ โทน(ทับ) เป็ นต้น ต่อมาเมือมีความสัมพันธ์กบั ประเทศเพือนบ้านมากขึน ไทยได้นาํ บทเพลงและ
เครื องดนตรี บางอย่างของประเทศเพือนบ้านมาบรรเลงในวงดนตรี ไทย เช่น กลองแขกของชวา กลองมลายูของมลายู เปิ งมางของมอญ และ
กลองยาวของไทยใหญ่ทีพม่านํามาใช้ รวมทังขิม ม้าล่อ และกลองจีน ซึงเป็ นเครื องดนตรี ของจีน เป็ นต้น ต่อมาไทยมีความสัมพันธ์ชาวกับ
ตะวันตกและอเมริ กา ก็ได้นาํ กลองฝรัง เช่นกลองอเมริ กนั และเครื องดนตรี อืน ๆ เช่น ไวโอลีน ออร์ แกน มาใช้บรรเลงในวงดนตรี ของไทย
จากประวัติเครื องดนตรี ไทยดังกล่าว สามารถแบ่งประวัติศาสตร์ ของเครื องดนตรี ไทยได้เป็ น สมัย ดังนี

สมัยสุ โขทัย[แก้]
ชาวไทยมีความสนุกสนานกับการเล่นดนครี และร้องเพลงกันมากดังทีปรากฏในหลักศิลาจารึ กพ่อขุนรามคําแหงหลักที ว่า "ดบงคม
กลอง ด้วยเสี ยงพาทย์ เสี ยงพิณ เสี ยงเลือน เสี ยงขับ ใครจักมักเล่น เล่น ใครจักมักหัว หัว ใครจักมักเลือน เลือน" ซึงแลดงถึงการบรรเลงเครื อง
ดนตรี ประเภทตี เป่ า ดีด และสี คือ กลอง ปี พิณ และเครื องดนตรี ทีมีสายไว้สีได้ นอกจากนียังมีหลักฐานของล้านนาไทยทีมีศิลปวัฒนธรรมร่ วม
สมัยกันในหลักศิลาจารึ กในวัดพระยืน จังหวัดลําพูน ทีจารึ กไว้วา่ "ให้ถือกระทงข้างตอกดอกไม้ไต้เทียน ตีพาทย์ดงั พิณฆ้องกลอง ปี สรไนพิส
เนญชัยทะเทียดกาหลแตรสังมาลย์กงั สดาล มรทงค์ดงเดือด เสี ยงเลิศเสี ยงก้อง อีกทังคนร้องโห่ออดาสรท้ ื านทังทังนครหริ ภุญชัย แล" ซึงแสดง
ถึงเครื องดนตรี บรรเลงในวงดนตรี และประชาชนนํามาเล่นเพือความสนุกสนานครึ กครื นกัน ดังนันจึงสามารถกล่าวถึงเครื องดนตรี ไทยในสมัย
สุ โขทัยได้จากวงดนตรี ไทยในสมัยนัน ได้แก่ วงแตรสังข์ ทีใช้บรรเลงในพระราชพิธีต่าง ๆ ประกอบด้วยเครื องดนตรี แตรฝรัง แตรงอน ปี ไฉน
แก้ว กลองชนะ บัณเฑาะว์ และมโหระทึก วงปี พาทย์เครื องห้าประกอบด้วย ปี ใน ฆ้องวง ตะโพน กลองทัด และฉิง นอกจากนียังมีเครื องดนตรี
เช่น พิณ และซอสามสาย อยูใ่ นสมัยนันอีกด้วย

สมัยอยุธยา[แก้]
เป็ นช่วงทีบ้านเมืองมีศึกสงครามอยูต่ ลอดเวลา จึงทําให้ดนตรี ไทยไม่เจริ ญก้าวหน้ามากนัก ยังคงมีเครื องดนตรี ในวงปี พาทย์ เครื องห้า
เท่าเดิม จนมาเพิมระนาดเอกภายหลังในตอนปลายสมัยอยุธยา ส่ วนวงดนตรี ทีเกิดขึนในสมัยนัน ได้แก่ วงมโหรี ทีบรรเลงโดยผูห้ ญิง เพือขับ
กล่อมถวายแด่พระมหากษัตริ ย ์ ประกอบด้วยเครื องดนตรี กระจับปี ซอสามสาย โทน(ทับ) กรับ รํามะนา ขลุ่ยและฉิง แต่ต่อมาได้นาํ จะเข้ซึงเป็ น
เครื องดนตรี ของมอญมาประสมแทนกระจับปี เพือให้ทาํ นองได้ละเอียดลออและไพเราะกว่า และวงเครื องสาย ประกอบด้วยเครื องดนตรี ซอ
ด้วง ซออู ้ จะเข้ ขลุ่ย โทน(ทับ) และฉิง

สมัยธนบุรี[แก้]
มีวงดนตรี ประเภท เช่นเดียวกับสมัยอยุธยา คือ วงปี พาทย์ วงมโหรี และวงเครื องสาย แต่มีเครื องดนตรี ของชาติต่างๆ เข้ามาใน
ประเทศไทยหลายชนิด ดังปรากฏในหมายกําหนดการของพระมหากษัตริ ยใ์ นสมัยนันว่า “ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้พณ ิ พาทย์ไทย พิณ
พาทย์รามัญ มโหรี ไทย ฝรัง มโหรี ญวน เขมร ผลัดเปลียนกันสมโภช เดือนกับ วัน” ในงานสมโภชพระแก้วมรกตเป็ นต้น
เนืองจากในสมัยนีเป็ นช่วงระยะเวลาอันสันเพียงแค่ ปี และประกอบกับเป็ นสมัยแห่งการก่อร่ างสร้างเมือง และการป้องกันประเทศ
เสี ยโดยมาก วงดนตรี ไทยในสมัยนีจึงไม่ปรากฏหลักฐานไว้วา่ ได้มีการพัฒนาเปลียนแปลงขึน สันนิษฐานว่า ยังคงเป็ นลักษณะและรู ปแบบของ
ดนตรี ไทย ในสมัยกรุ งศรี อยุธยานันเอง

สมัยรัตนโกสิ นทร์ [แก้]

คณะละครและวงปี พาทย์ไทยสมัยรัตนโกสิ นทร์


มีความก้าวหน้าทางดนตรี มาก เริ มจากสมัยรัชกาลที ได้เพิมกลองทัดขึนในวงปี พาทย์เป็ น ลูก และเพิมระนาดในวงมโหรี ปีพาทย์
อีก ราง ต่อมาในสมัยรัชกาลที เริ มมีปีพาทย์บรรเลงประกอบเสภา จึงได้นาํ เปิ งมางมาติดข้างสุ กถ่วงเสี ยงให้ตาลง ํ เรี ยกว่าสองหน้า ใช้
ประกอบการบรรเลงประกอบเสภา และได้เพิมฆ้องวงในวงมโหรี ดว้ ย ในสมัยรัชกาลที มีผสู ้ ร้างระนาดทุม้ และฆ้องวงเล็กขึนมา ทําให้เกิดวงปี
พาทย์เครื องคู่ขนในสมั
ึ ยนัน ซึงประกอบด้วยเครื องดนตรี ระนาดทีเปลียนชือเป็ นระนาดเอก เพือให้เข้าคู่กบั ระนาดแบบใหม่ ทีเพิมราง ราง
และสร้างขนาดใหญ่เรี ยกว่า ระนาดทุม้ และฆ้องวงใหญ่ เพือให้เข้าคู่กบั ฆ้องวงเล็กทีสร้าง ขนาดเล็กลงเรี ยกว่า ฆ้องวงเล็ก นอกจากนียังมีการนํา
ปี นอกเข้ามาผสมเข้าคู่กบั ปี ใน และเครื องดนตรี เดิม คือ ตะโพน กลองทัดและฉิงเช่นเดิม รวมทังมีวงมโหรี เครื องคู่เกิดขึน โดยมีการนําระนาด
ทุม้ ฆ้องวงเล็ก และขลุ่ยหลีบ ให้เข้าคู่กบั เครื องดนตรี ทีมีอยูเ่ ดิม ในสมัยรัชกาลที วงปี พาทย์มีความเจริ ญมาก โดยเจ้านาย ขุนนาง ข้าราชการ
ต่างก็มีวงปี พาทย์ประจําบ้านกัน และพระบาทสมเด็จพระปิ นเกล้าเจ้าอยูห่ วั ยังทรงพระราชดําริ ให้นาํ ลวดเหล็กเล็ก ๆ ทีทอดพระเนตรจากนาฬิกา
ตังโต๊ะทีกลไกข้างในมีลวดเส้น เล็ก ๆ สันบ้างยาวบ้าง ปั กเรี ยงกันถี ๆ เป็ นวงกลมคล้ายหวีตรงกลางมีแกนหมุนและเหล็กเขียเส้นลวดเหล็ก
เหล่านันผ่านไปโดยรอบทีพระองค์ทรงเรี ยกว่า นาฬิกาเขียหวี ซึงมีเสี ยงดังกังวานมาสร้าง เป็ นระนาดทุม้ เหล็ก และระนาดเหล็กทีเล็กกว่าและมี
เสี ยงสู งกว่า มาเพิมเข้าในวงปี พาทย์ และเรี ยกวงปี พาทย์นีว่า วงปี พาทย์เครื องใหญ่ นอกจากนียังมีการเพิมเครื องดนตรี ระนาดทุม้ เหล็กและ
ระนาดเอกเหล็กทีทําด้วยทองเหลืองเรี ยกว่า ระนาดทอง และนําซอด้วงและซออูม้ าผสมในวงมโหรี ดว้ ยเรี ยกว่า มโหรี เครื องใหญ่ ในสมัยรัชกาล
ที ได้เกิดวงปี พาทย์ดึกดําบรรพ์ ทีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริ ศรานุวดั ติวงศ์ เป็ นผูท้ รงปรับปรุ งขึนเพือบรรเลงประกอบ
ละครวงปี พาทย์นีมีชือเสี ยงไพเราะนุ่มนวลกว่า เพราะได้ดดั เครื องดนตรี ทีมีเสี ยงดังมาก เสี ยงสูงและเสี ยงเล็กแหลมออกจนหมด และระนาดเอก
ก็ตีดว้ ยไม้นวม รวมทังยังนําฆ้องชัยหรื อฆ้องหุ่ยมา ลูก เทียบเสี ยงเรี ยงลําดับตีห่างๆ คล้ายกับ เบสของฝรัง เพิมเข้ามา ในสมัยรัชกาลที การ
ดนตรี มีความเจริ ญขึนมาก โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงตังกรมมหรสพ กรมบัญชาการ กรมโขนหลวง กรมพิณพาทย์หลวง
กลองเครื องสายฝรังหลวง และกรมช่างมหาดเล็ก สําหรับสร้างและซ่อมสิ งทีเป็ นศิลปะต่าง ๆ และพระองค์ยงั โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเครื องปี
พาทย์ประดับมุกและประดับงาขึน ชุด ประดับเป็ นลวดลายวิจิตร มีอกั ษรพระปรมาภิไธย ม.ว. ซึงงดงามมีค่ายิง ในสมัยรัชกาลที
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงตังวงเครื องสาย ส่ วนพระองค์ขนึ โดยพระองค์ทรงซอด้วง และพระบรมราชินีทรงซออู ้ พร้อมทัง
เจ้านายอีกหลายพระองค์ อยูใ่ นวงนัน นอกจากนี พระองค์ยงั ทรงพระราชนิพนธ์ เพลงราตรี ประดับดาว เถา เพลงเขมรละออองค์ เถา และเพลง
คลืนกระทบฝัง ชัน ต่อมาเมือหลังการเปลียนแปลงการปกครอง ในปี พ.ศ. การดนตรี ไทยได้ค่อย ๆ เสื อมลง จนมาถึงหลังสงครามโลก
ครังที ไปแล้ว จึงได้มีการฟื นฟูดนตรี ไทยขึนใหม่ จนมาถึงปั จจุบนั นีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ก็ทรงพระปรี ชาสามารถทาง
ดนตรี สากล และพระราชนิพนธ์เพลงขึนหลายเพลงด้วย แต่พระองค์ยงั ทรงสนพระทัยการดนตรี ไทย โดยพระราชทานทุน ให้พมิ พ์เพลงไทย
เป็ นโน้ตสากลออกจําหน่ายจนเป็ นทีนิยมของวงการดนตรี ทวไป ั

เครื องดนตรี ไทยแบ่งตามภาคต่าง ๆ ของประเทศ[แก้]


ื านทีถ่ายทอดกันมาด้วยวาจาซึงเรี ยนรู ้ผา่ นการฟังมากกว่าการอ่าน และเป็ นสิ งทีพูดต่อกันมาแบบ
เครื องดนตรี แต่ละภาคเป็ นดนตรี พนบ้
ปากต่อปากโดยไม่มีการจดบันทึกไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษร จึงเป็ นลักษณะการสื บทอดทางวัฒนธรรมของชาวบ้านตังแต่อดีตเรื อยมาจนถึง
ปั จจุบนั ซึงเป็ นกิจกรรมการดนตรี เพือผ่อนคลายความตึงเครี ยดจากการทํางาน และช่วยสร้างสรรค์ความรื นเริ งบันทิงเป็ นหมู่คณะและชาวบ้าน
ในท้องถินนัน ซึงจะทําให้เกิดความรักสามัคคีกนั ในท้องถินและปฏิบตั ิสืบทอดต่อมายังรุ่ นลูกรุ่ นหลาน จนกลายเป็ นเอกลักษณ์ทางพืนบ้านของ
ท้องถินนัน ๆ สื บต่อไป
เครื องดนตรี ของไทย สามารถแบ่งออกตามภูมิภาคต่าง ๆ ของไทยได้ ดังนี

เครื องดนตรีภาคกลาง[แก้]
ประกอบด้วยเครื องดนตรี ประเภท ดีด สี ตี เป่ า โดยเครื องดีด ได้แก่ จะเข้และจ้องหน่อง เครื องสี ได้แก่ ซอด้วงและซออู ้ เครื องตีได้แก่
ระนาดเอก ระนาดทุม้ ระนาดทอง ระนาดทุม้ เล็ก ฆ้อง โหม่ง ฉิง ฉาบและกรับ เครื องเป่ า ได้แก่ ขลุ่ยและปี ลักษณะเด่นของเครื องดนตรี ภาค
กลาง คือ วงปี พาทย์ของภาคกลางจะมีการพัฒนาในลักษณะผสมผสานกับดนตรี หลวง โดยมีการพัฒนาจากดนตรี ปีและกลองเป็ นหลักมาเป็ น
ระนาดและฆ้องวงพร้อมทังเพิมเครื องดนตรี มากขึนจนเป็ นวงดนตรี ทีมีขนาดใหญ่ รวมทังยังมีการขับร้องทีคล้ายคลึงกับปี พาทย์ของหลวง ซึง
เป็ นผลมาจากการถ่ายโยงทางวัฒนธรรมระหว่างวัฒนธรรมราษฎร์ และหลวง

เครื องดนตรีภาคเหนือ[แก้]

วงดนตรี สะล้อซอซึ งเมืองลับแล

ในยุคแรกจะเป็ นเครื องดนตรี ประเภทตี ได้แก่ ท่อนไม้กลวง ทีใช้ประกอบพิธีกรรม ในเรื องภูตผีปีศาจและเจ้าป่ า เจ้าเขา จากนัน ได้มี
การพัฒนาโดยนําหนังสัตว์มาขึงทีปากท่อนไม้กลวงไว้กลายเป็ นเครื องดนตรี ทีเรี ยกว่ากลอง ต่อมามีการพัฒนารู ปแบบของกลองให้แตกต่าง
ออกไป เช่น กลองทีขึงปิ ดด้วยหนังสัตว์เพียงหน้าเดียว ได้แก่ กลองรํามะนา กลองยาว กลองแอว และกลองทีขึงด้วยหนังสัตว์ทงสองหน้ ั า ได้แก่
กลองมองเซิง กลองสองหน้า และตะโพนมอญ นอกจากนียังมีเครื องตีทีทําด้วยโลหะ เช่น ฆ้อง ฉิง ฉาบ ส่ วนเครื องดนตรี ประเภทเป่ า ได้แก่
ขลุ่ย ย่ะเอ้ ปี แน ปี มอญ ปี สรไน และเครื องสี ได้แก่ สะล้อลูก สะล้อลูก และ สะล้อ สาย และเครื องดีด ได้แก่ พิณเปี ยะ และซึง ขนาด คือ
ซึงน้อย ซึงกลาง และซึงใหญ่ สําหรับลักษณะเด่นของเครื องดนตรี ภาคเหนือ คือ มีการนําเครื องดนตรี ประเภท ดีด สี ตี เป่ า มาผสมวงกันให้มี
ความสมบูรณ์และไพเราะ โดยเฉพาะในด้านสําเนียงและทํานองทีพลิวไหวตามบรรยากาศ ความนุ่มนวลอ่อนละมุนของธรรมชาติ นอกจากนียัง
มีการผสมทางวัฒนธรรมของชนเผ่าต่าง ๆ และยังเชือมโยงกับวัฒนธรรมในราชสํานักทําให้เกิดการถ่ายโยง และการบรรเลงดนตรี ได้ทงในแบบ ั
ราชสํานักของคุม้ และวัง และแบบพืนบ้านมีเอกลักษณ์เฉพาะถิน

เครื องดนตรีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ[แก้]
มีววิ ฒั นาการมายาวนานนับพันปี เริ มจากในระยะต้น มีการใช้วสั ดุทอ้ งถินมาทําเลียนเสี ยงจากธรรมชาติ ป่ าเขา เสี ยงลมพัดใบไม้ไหว
เสี ยงนําตก เสี ยงฝนตก ซึงส่ วนใหญ่จะเป็ นเสี ยงสันไม่กอ้ ง ในระยะต่อมาได้ใช้วสั ดุพนเมื
ื องจากธรรมชาติมาเป่ า เช่น ใบไม้ ผิวไม้ ต้นหญ้า
ปล้องไม้ไผ่ ทําให้เสี ยงมีความพลิวยาวขึน จนในระยะที ได้นาํ หนังสัตว์และเครื องหนังมาใช้เป็ นวัสดุสร้างเครื องดนตรี ทีมีความไพเราะและ
รู ปร่ างสวยงามขึน เช่น กรับ เกราะ ระนาด ฆ้อง กลอง โปง โหวด ปี พิณ โปงลาง แคน เป็ นต้น โดยนํามาผสมผสานเป็ นวงดนตรี พนบ้ ื านภาค
อีสานทีมีลกั ษณะเฉพาะตามพืนที กลุ่ม คือ กลุ่มอีสานเหนือ และอีสานกลางจะนิยมดนตรี หมอลําทีมีการเป่ าแคนและดีดพิณประสานเสี ยง
ร่ วมกับการขับร้อง ส่ วนกลุ่มอีสานใต้จะนิยมดนตรี กนั ตรึ มซึงเป็ นดนตรี บรรเลงทีไพเราะของชาวอีสานใต้ทีมีเชือสายเขมร นอกจากนียังมีวง
พิณพาทย์และวงมโหรี ดว้ ยชาวบ้านแต่ละกลุ่มก็จะบรรเลงดนตรี เหล่านีกันเพือ ความสนุกสนานครื นเครง ใช้ประกอบการละเล่น การแสดง และ
พิธีกรรมต่าง ๆ เช่น ลําผีฟ้า ทีใช้แคนเป่ าในการรักษาโรค และงามศพแบบอีสานทีใช้วงตุม้ โมงบรรเลง นับเป็ นลักษณะเด่นของดนตรี พนบ้ ื าน
อีสานทีแตกต่างจากภาคอืน ๆ

เครื องดนตรีภาคใต้ [แก้]


ื านดังเดิมของภาคใต้น่าจะมาจากพวกเงาะซา
มีลกั ษณะเรี ยบง่าย มีการประดิษฐ์เครื องดนตรี จากวัสดุใกล้ตวั ซึงสันนิษฐานว่าดนตรี พนบ้
ไก ทีใช้ไม้ไผ่ลาํ ขนาด ต่าง ๆ กันตัดออกมาเป็ นท่อนสันบ้างยาวบ้าง แลัวตัดปากของกระบอกไม้ไผ่ให้ตรงหรื อเฉียงพร้อมกับหุม้ ด้วยใบไม้หรื อ
กาบของต้นพืช ใช้ตีประกอบการขับร้องและเต้นรํา จากนันก็ได้มีการพัฒนาเป็ นเครื องดนตรี แตร กรับ กลองชนิดต่าง ๆ เช่น รํามะนา ทีได้รับ
อิทธิพลมาจากชาวมลายู กลองชาตรี หรื อกลองตุ๊กทีใช้บรรเลงประกอบการแสดงมโนรา ซึงได้รับอิทธิพลมาจากอินเดีย ตลอดจนเครื องเป่ าเช่น
ปี นอกและเครื องสี เช่น ซอด้วง ซออู ้ รวมทังความเจริ ญทางศิลปะการแสดงและดนตรี ของเมืองนครศรี ธรรมราช จนได้ชือว่าละคร ในสมัยกรุ ง
ธนบุรีนนล้
ั วนได้รับอิทธิพลมาจากภาคกลางนอกจากนียังมีการบรรเลงดนตรี พนบ้ ื านภาคใต้ ประกอบการละเล่นแสดงต่างๆ เช่น ดนตรี โนรา
ดนตรี หนังตะลุง ทีมีเครื องดนตรี หลักคือ กลอง โหม่ง ฉิง และเครื องดนตรี ประกอบผสมอืน ๆ ดนตรี ลิเกป่ าทีใช้เครื องดนตรี รํามะนา โหม่ง ฉิง
กรับ ปี และดนตรี รองเง็ง ทีได้รับแบบอย่างมาจากการเต้นรําของชาวสเปนหรื อโปรตุเกสมาตังแต่สมัยอยุธยา โดยมีการบรรเลงดนตรี ที
ประกอบด้วย ไวโอลิน รํามะนา ฆ้อง หรื อบางคณะก็เพิมกีตา้ ร์ เข้าไปด้วย ซึงดนตรี รองเง็งนีเป็ นทีนิยมในหมู่ชาวไทยมุสลิมตามจังหวัดชายแดน
ไทย- มาเลเซีย ดังนันลักษณะเด่นของดนตรี พนบ้ื านภาคใต้จะได้รับอิทธิพลมาจากดินแดนใกล้เคียงหลายเชือชาติ จนเกิดการผสมผสานเป็ น
เอกลักษณ์เฉพาะทีแตกต่างจากภาคอืน ๆ โดยเฉพาะในเรื องการเน้นจังหวะและลีลาทีเร่ งเร้า หนักแน่น และคึกคัก เป็ นต้นฯ

รายชือเครื องดนตรี ไทยแบ่งตามการบรรเลง[แก้]


เครื องดีด[แก้]

 กระจับปี
 จะเข้
 ซึง
 พิณเพียะ
 พิณนําเต้า
 ไหซอง
เครื องสี [แก้]

 ซอ
 สะล้อ
 รื อบับ
เครื องเป่ า[แก้]

 ขลุย่ ได้แก่ ขลุ่ยหลิบ ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยอู ้ ขลุ่ยกรวด ขลุ่ยโก้ ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยนก


 แคน
 ปี ได้แก่ ปี นอก ปี กลาง ปี ใน ปี ไฉน ปี ชวา ปี มอญ ปี อ้อ ปี จุม ปี ภูไท ปี มอญ
 โหวด
เครื องตี[แก้]

 กลองแขก
 กลองสะบัดชัย
 กลองสองหน้า
 กลองทัด
 กลองมลายู
 กลองยาว
 กลองมโหระทึก
 กลองมังคละ
 กรับ ได้แก่ กรับเสภา, กรับพวง, กรับไม้ไผ่
 ฆ้องวงเล็ก
 ฆ้องวงใหญ่
 ฉาบ ได้แก่ ฉาบเล็ก, ฉาบใหญ่ ฯลฯ
 ฉิง
 ตะโพน ได้แก่ ตะโพนไทย, ตะโพนมอญ
 โทน
 โปงลาง
 ระนาดทุม้
 ระนาดทุม้ เหล็ก
 ระนาดเอก
 ระนาดเอกเหล็ก
 ระนาดแก้ว
 รํามะนา
 อังกะลุง
 เปิ งมาง
 โหม่ง
 บัณเฑาะว์

อ้างอิง[แก้]
 เครื องดนตรี ไทยสี ภาค
 เครื องตีทีทําด้วยไม้
 รายละเอียดเครื องดนตรี ไทย จากเว็บโรงเรี ยนเบญจมราชานุสรณ์
 [1]
 [2]

https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%
AD%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B9%84%E0%B8%97
%E0%B8%A2

You might also like