You are on page 1of 29

อาณาจักรอยุธยา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
"กรุ งศรี อยุธยา" เปลียนทางมาทีนี สําหรั บธนาคาร ดูที ธนาคารกรุ งศรี อยุธยา
สําหรั บความหมายอืน ดูที อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา

อาณาจักรอยุธยา

ราชอาณาจักร


1893[1]–2310 →

ธงค้าขาย ตราแผ่นดิน
แผนทีอุษาคเนย์ประมาณคริ สต์ศตวรรษที 15:
สีม่วงนําเงิน: อยุธยา
สีเขียวเข้ ม: ล้านช้าง
สีม่วง: ล้านนา
สีส้ม: สุโขทัย
สีแดง: จักรวรรดิขะแมร์
สีเหลือง: จามปา
สีนําเงิน: ไดเวียด

เมืองหลวง - กรุ งเทพทวารดีศรี


อยุธยา

- พิษณุโลก (2006-
2031) [2]
- ลพบุรี (2209-2231)

ภาษา ไทย
รัฐบาล สมบูรณาญาสิ ทธิราชย์
แบบศักดินา
พระมหากษัตริย์
- 1893 - 1952 ราชวงศ์อ่ทู อง
- 1952 - 2112 ราชวงศ์สุพรรณภูมิ
- 2112 - 2172 ราชวงศ์สุโขทัย
- 2172 - 2231 ราชวงศ์ปราสาททอง
- 2231 - 2310 ราชวงศ์บา้ นพลูหลวง

ยุคประวัตศิ าสตร์ ยุคกลาง และยุคเรอเน


ซองส์
- สถาปนา 1893[1]
- รัฐร่ วมประมุขกับ
อาณาจักรสุโขทัย 2011
- เริ มติดต่อกับโปรตุเกส 2054
- เสี ยกรุ งครังทีหนึง 2112
- ประกาศอิสรภาพ 2127
- การยึดอํานาจของ
สมเด็จพระเพทราชา 2231
- เสี ยกรุ งครังทีสอง 7 เมษายน 2310

ปัจจุบันเป็ นส่ วนหนึง ไทย


ของ ลาว
กัมพูชา
มาเลเซีย
พม่า

อาณาจักรอยุธยา เป็ นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่นาเจ้ ํ าพระยาในช่วง พ.ศ. ถึง พ.ศ. มีกรุ งศรี อยุธยา
เป็ นศูนย์กลางอํานาจหรื อราชธานี ทังยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้วา่ เป็ นศูนย์กลางการค้าในระดับ
นานาชาติ[ ] เช่น จีน เวียดนาม อินเดียญีปุ่ น เปอร์เซีย รวมทังชาติตะวันตก
เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรังเศส ซึงในช่วงเวลาหนึงเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราช
ถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบนั [ ]
เนือหา
[ซ่อน]

 กรุ งศรี อยุธยา


 ประวัติ
o . การกําเนิด
o . การขยายอาณาเขต
o . การเสี ยกรุ งศรี อยุธยาครังทีหนึง
o . การฟื นตัว
o . การล่มสลาย
 พระมหากษัตริ ย ์
o . รายพระนาม
 การปกครอง
 พัฒนาการ
 พัฒนาการทางสังคมและการเมือง
 ศิลปะและวัฒนธรรม
 ประชากรศาสตร์
o . กลุ่มชาติพนั ธุ์
o . ภาษา
 ความสัมพันธ์กบั ต่างประเทศ
 อ้างอิง
o . บรรณานุกรม
 แหล่งข้อมูลอืน
 ดูเพิม
 แหล่งข้อมูลอืน

กรุ งศรี อยุธยา[แก้]


กรุ งศรี อยุธยาเป็ นเกาะซึงมีแม่นาสามสายล้
ํ อมรอบ ได้แก่ แม่นาป่ํ าสักทางทิศตะวันออก, แม่นาเจ้
ํ าพระยาทางทิศ
ตะวันตกและทิศใต้ และแม่นาลพบุ ํ รีทางทิศเหนือ เดิมทีบริ เวณนีไม่ได้มีสภาพเป็ นเกาะ แต่สมเด็จพระเจ้าอูท่ องทรงดําริ ให้ขดุ คู
ํ งสามสาย เพือให้เป็ นปราการธรรมชาติป้องกันข้าศึก ทีตังกรุ งศรี อยุธยายังอยูห่ ่างจากอ่าวไทยไม่มากนัก ทําให้กรุ ง
เชือมแม่นาทั
ศรี อยุธยาเป็ นศูนย์กลางการค้ากับชาวต่างประเทศ และอาจถือว่าเป็ น "เมืองท่าตอนใน" เนืองจากเป็ นศูนย์กลางเศรษฐกิจของ
ภูมิภาค มีสินค้ากว่า ชนิดจากสงครามและรัฐบรรณาการ แม้วา่ ตัวเมืองจะไม่ติดทะเลก็ตาม
มีการประเมินว่า ราว พ.ศ. กรุ งศรี อยุธยามีประชากรประมาณ , คน และอาจสูงถึง ,000, คน ราว พ.ศ.
2243 บางครังมีผเู ้ รี ยกกรุ งศรี อยุธยาว่า "เวนิสแห่งตะวันออก"[ ][ ]
[5]

ปั จจุบนั บริ เวณนีเป็ นส่วนหนึงของอําเภอพระนครศรี อยุธยา จังหวัดพระนครศรี อยุธยา พืนทีทีเคยเป็ นเมืองหลวงของ


ไทยนัน คือ อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรี อยุธยา[ ]ตัวนครปัจจุบนั ถูกตังขึนใหม่ห่างจากกรุ งเก่าไปเพียงไม่กีกิโลเมตร

ประวัติ[แก้]
การกําเนิด[แก้]
การกําเนิดอาณาจักรอยุธยาทีได้รับการยอมรับกว้างขวางทีสุดนัน อธิบายว่า รัฐไทยซึงมีศูนย์กลางอยูท่ ีกรุ งศรี อยุธยาใน
ลุ่มแม่นาเจ้
ํ าพระยา เจริ ญขึนมาจากราชอาณาจักรละโว้ (ซึงขณะนันอยูใ่ ต้การควบคุมของขะแมร์) และอาณาจักรสุพรรณ
ภูมิ แหล่งข้อมูลหนึงระบุวา่ กลางคริ สต์ศตวรรษที เพราะภัยโรคระบาดคุกคาม สมเด็จพระเจ้าอู่ทองจึงทรงย้ายราชสํานักลง
ไปทางใต้ ยังทีราบลุ่มนําท่วมถึงอันอุดมสมบูรณ์ของแม่นาเจ้ ํ าพระยา บนเกาะทีล้อมรอบด้วยแม่นาํ ซึงในอดีตเคยเป็ นนครท่าเรื อ
เดินทะเล ชือ อโยธยา (Ayothaya) หรื อ อโยธยาศรี รามเทพนคร นครใหม่นีถูกขนานนามว่า กรุ งเทพทวารวดีศรี อยุธยา ซึง
ภายหลังมักเรี ยกว่า กรุ งศรี อยุธยา แปลว่า นครทีไม่อาจทําลายได้[ ]
พระบริ หารเทพธานี อธิบายว่า ชาวไทยเริ มตังถินฐานบริ เวณตอนกลาง และตอนล่างของลุ่มแม่นาเจ้
ํ าพระยามาตังแต่
พุทธศตวรรษที แล้ว ทังยังเคยเป็ นทีตังของเมืองสังขบุรี อโยธยา เสนาราชนคร และกัมโพชนคร[ ] ต่อมา ราวปลายพุทธ
ศตวรรษที อาณาจักรขอมและสุโขทัยเริ มเสื อมอํานาจลง พระเจ้าอู่ทองทรงดําริ จะย้ายเมืองและก่อสร้างเมืองขึนมาใหม่โดย
ส่งคณะช่างก่อสร้างไปยังอินเดียและได้ลอกเลียนแบบผังเมืองอโยธยามาสร้างและสถาปนาให้มีชือว่า กรุ งศรี อยุธยา[ต้องการอ้ างอิง]
การขยายอาณาเขต[แก้]

กรุ งศรี อยุธยา (พ.ศ. ) วาดโดยบริ ษทั อินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์


เมือถึงปลายคริ สต์ศตวรรษที อยุธยาก็ถูกพิจารณาว่าเป็ น ชาติมหาอํานาจแข็งแกร่ งทีสุดในอุษาคเนย์แผ่นดินใหญ่
และได้เริ มครองความเป็ นใหญ่โดยเริ มจากการพิชิตราชอาณาจักรและนครรัฐทางเหนือ อย่างสุโขทัย กําแพงเพชรและ
พิษณุโลก ก่อนสิ นสุดคริ สต์ศตวรรษที อยุธยาโจมตีเมืองพระนคร (อังกอร์) ซึงเป็ นมหาอํานาจของภูมิภาคในอดีต อิทธิพล
ของอังกอร์ค่อย ๆ จางหายไปจากลุ่มแม่นาเจ้
ํ าพระยา และอยุธยากลายมาเป็ นมหาอํานาจใหม่แทน
อย่างไรก็ดี ราชอาณาจักรอยุธยามิได้เป็ นรัฐทีรวมเป็ นหน่วยเดียวกัน หากเป็ นการปะติดปะต่อกันของอาณาเขต
(principality) ทีปกครองตนเอง และประเทศราชทีสวามิภกั ดิต่อพระมหากษัตริ ยก์ รุ งศรี อยุธยาภายใต้ปริ มณฑลแห่งอํานาจ
(Circle of Power) หรื อระบบมณฑล (mandala) ดังทีนักวิชาการบางฝ่ ายเสนอ[ ] อาณาเขตเหล่านีอาจปกครองโดยพระบรมวงศา
นุวงศ์กรุ งศรี อยุธยา หรื อผูป้ กครองท้องถินทีมีกองทัพอิสระของตนเอง ทีมีหน้าทีให้การสนับสนุนแก่เมืองหลวงยามสงคราม ก็
ได้ อย่างไรก็ดี มีหลักฐานว่า บางครังทีเกิดการกบฏท้องถินทีนําโดยเจ้าหรื อพระมหากษัตริ ยท์ อ้ งถินขึนเพือตังตนเป็ นเอกราช
อยุธยาก็จาํ ต้องปราบปราม
ด้วยไร้ซึงกฎการสื บราชสันติวงศ์และมโนทัศน์คุณธรรมนิยม (meritocracy) อันรุ นแรง ทําให้เมือใดก็ตามทีการสื บราช
สันติวงศ์เป็ นทีพิพาท เจ้าปกครองหัวเมืองหรื อผูส้ ูงศักดิ (dignitary) ทีทรงอํานาจจะอ้างคุณความดีของตนรวบรวมไพร่ พลและ
ยกทัพมายังเมืองหลวงเพือกดดันตามข้อเรี ยกร้อง จนลงเอยด้วยรัฐประหารอันนองเลือดหลายครัง[ ]
ตังแต่คริ สต์ศตวรรษที อยุธยาแสดงความสนใจในคาบสมุทรมลายู ทีซึงมะละกาเมืองท่าสําคัญ ประชันความเป็ น
ใหญ่ อยุธยาพยายามยกทัพไปตีมะละกาหลายครัง แต่ไร้ผล มะละกามีความเข้มแข็งทังทางการทูตและทางเศรษฐกิจ ด้วยได้รับ
การสนับสนุนทางทหารจากราชวงศ์หมิงของจีน ในต้นคริ สต์ศตวรรษที แม่ทพั เรื อเจิงเหอแห่งราชวงศ์หมิง ได้สถาปนาฐาน
ปฏิบตั ิการแห่งหนึงของเขาขึนทีมะละกา เป็ นเหตุให้จีนไม่อาจยอมสูญเสี ยตําแหน่งยุทธศาสตร์นีแก่รัฐอืน ๆ ภายใต้การคุม้ ครอง
นี มะละกาจึงเจริ ญรุ่ งเรื องขึนเป็ นหนึงในคู่แข่งทางการค้าทียิงใหญ่ของอยุธยา กระทังถูกโปรตุเกสพิชิตเมือ พ.ศ. [ ]
การเสียกรุงศรีอยุธยาครังทีหนึง[แก้]
เริ มตังแต่กลางคริ สต์ศตวรรษที ราชอาณาจักรอยุธยาถูกราชวงศ์ตองอูโจมตีหลายครัง สงครามครังแรกคือ สงคราม
พระเจ้าตะเบ็งชเวตี เมือ พ.ศ. - แต่ลม้ เหลว การรุ กรานครังทีสองของราชวงศ์ตองอู หรื อเรี ยกว่า "สงครามช้างเผือก"สมัย
พระมหาจักรพรรดิ เมือ พ.ศ. พระเจ้าบุเรงนองทรงบังคับให้สมเด็จพระมหาจักรพรรดิยอมจํานน พระบรมวงศานุวงศ์ทรง
ถูกพาไปยังกรุ งอังวะ และสมเด็จพระมหิ ทรา พระราชโอรสองค์โต ทรงได้รับแต่งตังเป็ นเจ้าประเทศราช[ ][ ] เมือ พ.ศ.
ราชวงศ์ตองอูรุกรานอีกเป็ นครังทีสาม และสามารถยึดกรุ งศรี อยุธยาได้ในปี ต่อมา หนนีพระเจ้าบุเรงนองทรงแต่งตังสมเด็จพระ
มหาธรรมราชาธิราชเป็ นเจ้าประเทศราช[ ]
การฟื นตัว[แก้]
หลังพระเจ้าบุเรงนองเสด็จสวรรคตเมือ พ.ศ. สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงประกาศเอกราชแก่กรุ งศรี อยุธยาอีก
สามปี ให้หลัง อยุธยาต่อสูป้ ้ องกันการรุ กรานของรัฐหงสาวดีหลายครัง จนในครังสุดท้าย สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงปลง
พระชนม์เมงจีสวา (Mingyi Swa) อุปราชาของราชวงศ์ตองอูได้ในสงครามยุทธหัตถีเมือ พ.ศ. จากนัน อยุธยากลับเป็ นฝ่ าย
บุกบ้าง โดยยึดชายฝังตะนาวศรี ทงหมดขึ
ั นไปจนถึงเมาะตะมะใน พ.ศ. และล้านนาใน พ.ศ. สมเด็จพระนเรศวร
มหาราชทรงถึงกับรุ กรานเข้าไปในพม่าลึกถึงตองอูใน พ.ศ. แต่ทรงถูกขับกลับมา หลังสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเสด็จ
สวรรคตเมือ พ.ศ. ตะนาวศรี ตอนเหนือและล้านนาก็ตกเป็ นของรัฐอังวะ อีกใน พ.ศ. [ ] อยุธยาพยายามยึดรัฐล้านนา
และตะนาวศรี ตอนเหนือกลับคืนระหว่าง พ.ศ. - แต่ลม้ เหลว[ ]
การค้าขายกับต่างชาติไม่เพียงแต่ให้อยุธยามีสินค้าฟุ่ มเฟื อยเท่านัน แต่ยงั ได้รับอาวุธยุทโธปกรณ์ใหม่ ๆ ด้วย กลาง
คริ สต์ศตวรรษที ระหว่างรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช อยุธยามีความเจริ ญรุ่ งเรื องมาก[ ] แต่ในคริ สต์ศตวรรษที
อยุธยาค่อย ๆ สูญเสี ยการควบคุมเหนือหัวเมืองรอบนอก ผูว้ า่ ราชการท้องถินใช้อาํ นาจของตนอย่างอิสระ และเริ มเกิดการกบฏ
ต่อเมืองหลวงขึน
การล่ มสลาย[แก้]
หลังจากยุคสมัยอันนองเลือดแห่งการต่อสูข้ องราชวงศ์ กรุ งศรี อยุธยาเข้าสู่ "ยุคทอง" สมัยทีค่อนข้างสงบในครึ งหลังของ
คริ สต์ศตวรรษที เมือศิลปะ วรรณกรรมและการเรี ยนรู ้เฟื องฟู ยังมีสงครามกับต่างชาติ กรุ งศรี อยุธยาสูร้ บกับเจ้าเหงียน
(Nguyễn Lords) ซึงเป็ นผูป้ กครองเวียดนามใต้ เพือการควบคุมกัมพูชา เริ มตังแต่ พ.ศ. แต่ภยั คุกคามทีใหญ่กว่ามาจาก
ราชวงศ์อลองพญาซึงได้ผนวกรัฐฉานเข้ามาอยูใ่ นอํานาจ
ช่วง ปี สุดท้ายของราชอาณาจักรมีการสูร้ บอันนองเลือดระหว่างเจ้านาย โดยมีพระราชบัลลังก์เป็ นเป้ าหมายหลัก เกิด
การกวาดล้างข้าราชสํานักและแม่ทพั นายกองทีมีความสามารถตามมา สมเด็จพระทีนังสุริยาศน์อมั ริ นทร์ (พระเจ้าเอกทัศ)
พระมหากษัตริ ยพ์ ระองค์สุดท้าย บังคับให้สมเด็จเจ้าฟ้าอุทุมพร พระอนุชา ซึงเป็ นพระมหากษัตริ ยอ์ ยูข่ ณะนัน สละราชสมบัติ
และขึนครองราชย์แทน
พ.ศ. พระเจ้าอลองพญา ทรงยกทัพรุ กรานอาณาจักรอยุธยา หลังจากอยุธยาว่างเว้นศึกภายนอกมานานกว่า ปี
จะมีก็เพียงการนําไพร่ พลเข้าต่อตีกนั เองเพือแย่งชิงอํานาจเท่านัน[ ] ซึงในขณะนัน อยุธยาเกิดการแย่งชิงบัลลังก์ระหว่างเจ้าฟ้า
เอกทัศกับเจ้าฟ้าอุทุมพร อย่างไรก็ดี พระเจ้าอลองพญาไม่อาจหักเอากรุ งศรี อยุธยาได้ในการทัพครังนัน
แต่ใน พ.ศ. พระเจ้ามังระ พระราชโอรสแห่งพระเจ้าอลองพญา ทรงแบ่งกําลังออกเป็ นสองส่วน และเตรี ยมการกว่า
สามปี มุ่งเข้าตีอาณาจักรอยุธยาพร้อมกันทังสองด้าน ฝ่ ายอยุธยาต้านทานการล้อมของทัพพม่าไว้ได้ เดือน แต่ก็ไม่อาจหยุดยัง
การกองทัพรัฐอังวะได้ เนืองจากมีกาํ ลังมาก และต้องการทําลายศูนย์อาํ นาจอย่างอยุธยาลงเพือป้ องกันการกลับมามีอาํ นาจ อีกทัง
กองทัพอังวะยังติดศึกกับจีนราชวงศ์ชิงอยูเ่ นือง ๆ หากปล่อยให้เกิดการสูร้ บยืดเยือต่อไปอีก ก็จะเป็ นภัยแก่องั วะ และมีสงคราม
ไม่จบสิ น ในทีสุดกองทัพอังวะสามารถหักเข้าพระนครได้ในวันที เมษายน พ.ศ.

พระมหากษัตริ ย[์ แก้]


พระมหากษัตริ ยก์ รุ งศรี อยุธยา มี ราชวงศ์ คือ

1. ราชวงศ์อ่ทู อง มีกษัตริ ย ์ พระองค์


2. ราชวงศ์สุพรรณภูมิ มีกษัตริ ย ์ พระองค์
3. ราชวงศ์สุโขทัย มีกษัตริ ย ์ พระองค์
4. ราชวงศ์ปราสาททอง มีกษัตริ ย ์ พระองค์
5. ราชวงศ์บา้ นพลูหลวง มีกษัตริ ย ์ พระองค์
รวมมีพระมหากษัตริ ยท์ งสิ
ั น พระองค์
รายพระนาม[แก้]
พระ
เริม
ลําดับ พระนาม ราช สินรัชกาล สวรรคต รวมปี ครองราชย์
ครองราชย์
สมภพ

ราชวงศ์อ่ทู อง (ครังที 1)

สมเด็จพระรามาธิบดีที 1 พ.ศ.
1 พ.ศ. 1893 พ.ศ. 1912 20 ปี
(พระเจ้าอู่ทอง) 1855

2 พ.ศ. พ.ศ.
สมเด็จพระราเมศวร พ.ศ. 1912 พ.ศ. 1913 ไม่ถึง 1 ปี
(1) 1885 1938

ราชวงศ์สุพรรณภูมิ (ครังที 1)

สมเด็จพระบรมราชาธิราชที 1 พ.ศ.
3 พ.ศ. 1913 พ.ศ. 1931 18 ปี
(ขุนหลวงพะงัว) 1853

สมเด็จพระเจ้าทองลัน พ.ศ.
4 พ.ศ. 1931 7 วัน
(เจ้าทองจันทร์) 1917

ราชวงศ์อ่ทู อง (ครังที 2)

2 พ.ศ.
สมเด็จพระราเมศวร พ.ศ. 1931 พ.ศ. 1938 7 ปี
(2) 1885

พ.ศ.
5 สมเด็จพระรามราชาธิราช พ.ศ. 1938 พ.ศ. 1952 ? 15 ปี
1899
ราชวงศ์สุพรรณภูมิ (ครังที 2)

สมเด็จพระอินทราชา พ.ศ.
6 พ.ศ. 1952 พ.ศ. 1967 15 ปี
(เจ้านครอินทร์) 1902

สมเด็จพระบรมราชาธิราชที 2 พ.ศ.
7 พ.ศ. 1967 พ.ศ. 1991 24 ปี
(เจ้าสามพระยา) 1929

พ.ศ.
8 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พ.ศ. 1991 พ.ศ. 2031 40 ปี
1974

พ.ศ.
9 สมเด็จพระบรมราชาธิราชที 3 พ.ศ. 2031 พ.ศ. 2034 3 ปี
2005

พ.ศ.
10 สมเด็จพระรามาธิบดีที 2 พ.ศ. 2034 พ.ศ. 2072 38 ปี
2015

สมเด็จพระบรมราชาธิราชที 4 พ.ศ.
11 พ.ศ. 2072 พ.ศ. 2076 4 ปี
(หน่อพุทธางกูร) 2040

พ.ศ.
12 พระรัษฎาธิราช พ.ศ. 2077 5 เดือน
2072

พ.ศ.
13 สมเด็จพระไชยราชาธิราช พ.ศ. 2077 พ.ศ. 2089 12 ปี
2045
พระยอดฟ้า พ.ศ.
14 พ.ศ. 2089 พ.ศ. 2091 2 ปี
(พระแก้วฟ้า) 2078

42 วัน
(ไม่ได้รับการยก
พ.ศ.
- ขุนวรวงศาธิราช พ.ศ. 2091 ย่อง แต่ผา่ นพระ
2049
ราชพิธีบรม
ราชาภิเษก)

สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พ.ศ.
15 พ.ศ. 2091 พ.ศ. 2111 20 ปี
(พระเจ้าช้างเผือก) 2048

พ.ศ.
16 สมเด็จพระมหิ นทราธิราช พ.ศ. 2111 7 สิ งหาคม พ.ศ. 2112 1 ปี
2082

เสียกรุ งครั งที 1

ราชวงศ์สุโขทัย

สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช พ.ศ.
17 พ.ศ. 2112 พ.ศ. 2133 21 ปี
(สมเด็จพระสรรเพชญ์ที 1) 2059

29
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พ.ศ.
18 กรกฎาคม 25 เมษายน พ.ศ. 2148 15 ปี
(สมเด็จพระสรรเพชญ์ที 2) 2098
พ.ศ. 2133
25
สมเด็จพระเอกาทศรถ พ.ศ.
19 เมษายน พ.ศ. 2153 5 ปี
(สมเด็จพระสรรเพชญ์ที 3) 2104
พ.ศ. 2148

พระศรี เสาวภาคย์
20 ? พ.ศ. 2153 2 เดือน
(สมเด็จพระสรรเพชญ์ที 4)

สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม พ.ศ.
21 พ.ศ. 2154 12 ธันวาคม พ.ศ. 2171 17 ปี
(สมเด็จพระบรมราชาที 1) 2125

พ.ศ.
22 สมเด็จพระเชษฐาธิราช พ.ศ. 2171 พ.ศ. 2173 1 ปี 8 เดือน
2156

พ.ศ. พ.ศ.
23 พระอาทิตยวงศ์ พ.ศ. 2173 พ.ศ. 2173 36 วัน
2161 2178

ราชวงศ์ปราสาททอง

สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง พ.ศ.
24 พ.ศ. 2173 พ.ศ. 2199 25 ปี
(สมเด็จพระสรรเพชญ์ที 5) 2143

สมเด็จเจ้าฟ้าไชย
25 ? พ.ศ. 2199 9 เดือน
(สมเด็จพระสรรเพชญ์ที 6)

สมเด็จพระศรี สุธรรมราชา
26 ? พ.ศ. 2199 2 เดือน 17 วัน
(พระสรรเพชญ์ที 7)
11
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช พ.ศ. กรกฎาคม
27 พ.ศ. 2199 พ.ศ. 2231 32 ปี
(สมเด็จพระรามาธิบดีที 3) 2175 พ.ศ.
2231

ราชวงศ์บา้ นพลูหลวง

พ.ศ.
28 สมเด็จพระเพทราชา พ.ศ. 2231 พ.ศ. 2246 15 ปี
2175

สมเด็จพระสรรเพชญ์ที 8
พ.ศ.
29 (สมเด็จพระสุริเยนทราธิบดี) พ.ศ. 2246 พ.ศ. 2251 5 ปี
2204
(พระเจ้าเสื อ)

สมเด็จพระสรรเพชญ์ที 9 พ.ศ.
30 พ.ศ. 2251 พ.ศ. 2275 24 ปี
(สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ท้ายสระ) 2221

พ.ศ.
31 สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั บรมโกศ พ.ศ. 2275 พ.ศ. 2301 26 ปี
2223

สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร พ.ศ. พ.ศ.


32 พ.ศ. 2301 2 เดือน
(ขุนหลวงหาวัด) 2265 2339

26
7
สมเด็จพระทีนังสุริยาศน์อมั ริ นทร์ พ.ศ. เมษายน
33 พ.ศ. 2301 เมษายน พ.ศ. 9 ปี
(พระเจ้าเอกทัศ) 2252 พ.ศ.
2310
2311
เสียกรุ งครั งที 2

การปกครอง[แก้]

ประวัตศิ าสตร์ ไทย

ยุคก่ อนประวัตศิ าสตร์


บ้ านเชียง ประมาณ 2500 ปี ก่อน พ.ศ.
บ้ านเก่ า ประมาณ 2000 ปี ก่อน พ.ศ.
ยุคอาณาจักร
สุ วรรณภูมิ
ก่อนพุทธศตวรรษที 3- พุทธศตวรรษที 5
โจฬะ
พุทธศตวรรษที 2-17
สุ วรรณโคมคํา
พุทธศตวรรษที 4-5
ทวารวดี-นครชัยศรี-ศรีจนาศะ
ประมาณ พุทธศตวรรษที 5-15
โยนกนาคพันธุ์
พ.ศ. 638-1088
คันธุลี เวียงปรึกษา
พ.ศ. 994-1202 1090-1181
ศรีวชิ ัย หิรัญเงิน
พ.ศ. 1202-1758 ละโว้ ยางฯ
1191 -1470 1181 -
1805
หริภุญชัย
1206-
1835
สงครามสามนคร พ.ศ. 1467-1470
สุ พรรณภูมิ
ละโว้
ตามพรลิงค์
ลังกาสุ กะ
พริบพรี สุ โขทัย พะเยา เชียงราย
นครศรีธรรมราช 1792- 1190- 1805-
1981 2011 1835
ล้ านนา
1835-2101
อยุธยา (1)
พ.ศ. 1893-2112
สค.ตะเบ็งชเวตี
สค.ช้างเผือก พิษณุโลก ล้ านนาของพม่ า
เสียกรุงครังที 1 2106- 2101-2317
พ.ศ. 2112 2112 แคว้นล้านนา
กรุงศรีอยุธยา (2) แคว้นเชียงใหม่
พ.ศ. 2112-2310
เสียกรุงครังที 2
สภาพจลาจล
กรุงธนบุรี ล้ านนาของสยาม
พ.ศ. 2310-2325 2317-2442
กรุงรัตนโกสินทร์ นครเชียงใหม่
พ.ศ. 2325-ปัจจุบนั
สงครามเก้าทัพ
อานามสยามยุทธ
การเสี ยดินแดน
มณฑลเทศาภิบาล
สงครามโลก: ครังที 1 - ครัง
ที 2
ยุครัฐประชาชาติ
ประเทศไทย สหรัฐไทยเดิม
ปฏิวตั ิ พ.ศ. 2475 พ.ศ. 2485-2489
เปลียนแปลงชือประเทศ
พ.ศ. 2475–2516
พ.ศ. 2516–ปัจจุบนั
This box:
 ดู
 คุย
 แก้

ช่วงแรกมีการปกครองคล้ายคลึงกับในสมัยสุโขทัย พระมหากษัตริ ยม์ ีสิทธิปกครองโดยตรงในราชธานี หากทรงใช้


อํานาจผ่านข้าราชการและขุนนางเช่นกัน นอกจากนียังมีระบบการปกครองภายในราชธานีทีเรี ยกว่า จตุสดมภ์ ตามการเรี ยกของ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดํารงราชานุภาพ[ ] อันได้แก่ กรมเวียง กรมวัง กรมคลัง และกรมนา
การปกครองนอกราชธานี ประกอบด้วย เมืองหน้าด่าน เมืองชันใน เมืองพระยามหานคร และเมืองประเทศราช โดยมี
รู ปแบบกระจายอํานาจออกจากศูนย์กลางค่อนข้างมาก[ ] เมืองหน้าด่าน ได้แก่ ลพบุรี นครนายก พระประแดง และสุพรรณบุรี
ตังอยูร่ อบราชธานีทงสี
ั ทิศ ระยะเดินทางจากราชธานีสองวัน พระมหากษัตริ ยท์ รงส่งเชือพระวงศ์ทีไว้วางพระทัยไปปกครอง แต่
รู ปแบบนีนํามาซึงปั ญหาการแย่งชิงราชสมบัติอยูบ่ ่อยครัง เมืองชันในทรงปกครองโดยผูร้ ัง ถัดออกไปเป็ นเมืองพระยามหานคร
หรื อหัวเมืองชันนอก ปกครองโดยเจ้าเมืองทีสื บเชือสายมาแต่เดิม มีหน้าทีจ่ายภาษีและเกณฑ์ผคู ้ นในราชการสงคราม[ ] และ
สุดท้ายคือเมืองประเทศราช พระมหากษัตริ ยป์ ล่อยให้ปกครองกันเอง เพียงแต่ตอ้ งส่งเครื องบรรณาการมาให้ราชธานีทุกปี
ต่อมา สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (ครองราชย์ พ.ศ. - ) ทรงยกเลิกระบบเมืองหน้าด่านเพือขจัดปั ญหาการแย่ง
ชิงราชสมบัติ และขยายอํานาจของราชธานีโดยการกลืนเมืองรอบข้างเข้าเป็ นส่วนหนึงของราชธานี[ ] สําหรับระบบจตุสดมภ์
ทรงแยกกิจการพลเรื อนออกจากกิจการทหารอย่างชัดเจน ให้อยูภ่ ายใต้ความรับผิดชอบของสมุหนายกและสมุหกลาโหม
ตามลําดับ นอกจากนียังมีการเปลียนชือกรมและชือตําแหน่งเสนาบดี แต่ยงั คงไว้ซึงหน้าทีความรับผิดชอบเดิม
ส่วนการปกครองส่วนภูมิภาคมีลกั ษณะเปลียนไปในทางการรวมอํานาจเข้าสู่ศูนย์กลางให้มากทีสุด โดยให้เมืองชันนอก
เข้ามาอยูภ่ ายใต้อาํ นาจของราชธานี มีระบบการปกครองทีลอกมาจากราชธานี[ ] มีการลําดับความสําคัญของหัวเมืองออกเป็ นชัน
เอก โท ตรี สําหรับหัวเมืองประเทศราชนันส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีการเปลียนแปลงการปกครองมากนัก หากแต่พระมหากษัตริ ยจ์ ะมี
วิธีการควบคุมความจงรักภักดีต่อราชธานีหลายวิธี เช่น การเรี ยกเจ้าเมืองประเทศราชมาปรึ กษาราชการ หรื อมาร่ วมพระราชพิธี
บรมราชาภิเษกหรื อถวายพระเพลิงพระบรมศพในราชธานี การอภิเษกสมรสโดยการให้ส่งราชธิดามาเป็ นสนม และการส่ง
ข้าราชการไปปกครองเมืองใกล้เคียงกับเมืองประเทศราชเพือคอยส่งข่าว ซึงเมืองทีมีหน้าทีดังกล่าว เช่น พิษณุโลกและ
นครศรี ธรรมราช[ ]
ในรัชสมัยสมเด็จพระเพทราชา (ครองราชย์ พ.ศ. - ) ทรงกระจายอํานาจทางทหารซึงเดิมขึนอยูก่ บั สมุหกลา
โหมแต่ผเู ้ ดียวออกเป็ นสามส่วน โดยให้สมุหกลาโหมเปลียนไปควบคุมกิจการทหารในราชธานี กิจการทหารและพลเรื อนของ
หัวเมืองทางใต้ ให้สมุหนายกควบคุมกิจการพลเรื อนในราชธานี กิจการทหารและพลเรื อนของหัวเมืองทางเหนือ และพระ
โกษาธิบดี ให้ดูแลกิจการทหารและพลเรื อนของหัวเมืองตะวันออก ต่อมา สมัยสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั บรมโกศ ( - ) ทรง
ลดอํานาจของสมุหกลาโหมเหลือเพียงทีปรึ กษาราชการ และให้หวั เมืองทางใต้ไปขึนกับพระโกษาธิบดีดว้ ย[ ]
นอกจากนี ในสมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช (ครองราชย์ พ.ศ. - ) ยังได้จดั กําลังป้ องกันราชธานีออกเป็ น
สามวัง ได้แก่ วังหลวง มีหน้าทีป้องกันพระนครทางเหนือ วังหน้า มีหน้าทีป้ องกันพระนครทางตะวันออก และวังหลัง มีหน้าที
ป้ องกันพระนครทางตะวันตก ระบบดังกล่าวใช้มาจนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั [ ]

พัฒนาการ[แก้]
คนไทยไม่เคยขาดแคลนเสบียงอาหารอันอุดมสมบูรณ์ ชาวนาปลูกข้าวเพือการบริ โภคของตนเองและเพือจ่ายภาษี
ผลผลิตส่วนทีเหลืออยูใ่ ช้สนับสนุนสถาบันศาสนา อย่างไรก็ดี ตังแต่คริ สต์ศตวรรษที ถึง มีการเปลียนแปลงทีน่าสังเกตใน
การปลูกข้าวของไทย บนทีสูง ซึงปริ มาณฝนไม่เพียงพอ ต้องได้รับนําเพิมจากระบบชลประทานทีควบคุมระดับนําในทีนานํา
ท่วม คนไทยหว่านเมล็ดข้าวเหนียวทียังเป็ นสิ นค้าโภคภัณฑ์หลักในภาคเหนือและตะวันออกเฉี ยงเหนือปัจจุบนั แต่ในทีราบนํา
ท่วมถึงเจ้าพระยา ชาวนาหันมาปลูกข้าวล้ายชนิด ทีเรี ยกว่า ข้าวขึนนําหรื อข้าวนาเมือง (floating rice) ซึงเป็ นสายพันธุ์ยาวเรี ยว
ไม่เหนียวทีรับมาจากเบงกอล ซึงจะเติบโตอย่างรวดเร็ วทันพร้อมกับการเพิมขึนของระดับนําในทีลุ่ม[ ]
สายพันธุ์ใหม่นีเติบโตอย่างง่ายดายและอุดมสมบูรณ์ ทําให้มีผลผลิตส่วนเกินทีสามารถขายต่างประเทศได้ในราคาถูก
ฉะนัน กรุ งศรี อยุธยา ซึงตังอยูใ่ ต้สุดของทีราบนําท่วมถึง จึงกลายเป็ นศูนย์กลางกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ภายใต้การอุปถัมภ์ของ
พระมหากษัตริ ย ์ แรงงานกอร์เวขุดคลองซึงจะมีการนําข้าวจากนาไปยังเรื อของหลวงเพือส่งออกไปยังจีน ในขบวนการ
นี สามเหลียมปากแม่นาเจ้ํ าพระยา หาดโคลนระหว่างทะเลและดินแน่นซึงถูกมองว่าไม่เหมาะแก่การอยูอ่ าศัย ถูกถมและเตรี ยม
ดินสําหรับเพาะปลูก ตามประเพณี พระมหากษัตริ ยม์ ีหน้าทีประกอบพิธีกรรมทางศาสนาเพือประสาทพรการปลูกข้าว[ ]
แม้ขา้ วจะอุดมสมบูรณ์ในกรุ งศรี อยุธยา แต่การส่งออกข้าวก็ถูกห้ามเป็ นบางครังเมือเกิดทุพภิกขภัย เพราะภัยพิบตั ิ
ธรรมชาติหรื อสงคราม โดยปกติขาวถูกแลกเปลียนกับสิ นค้าฟุ่ มเฟื อยและอาวุธยุทธภัณฑ์จากชาวตะวันตก แต่การปลูกข้าวนันมี
เพือตลาดภายในประเทศเป็ นหลัก และการส่งออกข้าวนันเชือถือไม่ได้อย่างชัดเจน การค้ากับชาวยุโรปคึกคักในคริ สต์ศตวรรษที
อันทีจริ ง พ่อค้ายุโรปขายสิ นค้าของตน ซึงเป็ นอาวุธสมัยใหม่ เช่น ไรเฟิ ลและปื นใหญ่ เป็ นหลัก กับผลิตภัณฑ์ทอ้ งถินจากป่ า
ในแผ่นดิน เช่น ไม้สะพาน หนังกวางและข้าว โทเม ปิ เรส นักเดินเรื อชาวโปรตุเกส กล่าวถึงในคริ สต์ศตวรรษที ว่า กรุ งศรี
อยุธยานัน "อุดมไปด้วยสิ นค้าดี ๆ" พ่อค้าต่างชาติส่วนมากทีมายังกรุ งศรี อยุธยาเป็ นชาวยุโรปและชาวจีน และถูกทางการเก็บ
ภาษี ราชอาณาจักรมีขา้ ว เกลือ ปลาแห้ง เหล้าโรง (arrack) และพืชผักอยูด่ าษดืน[ ]
การค้ากับชาวต่างชาติ ซึงเป็ นชาวฮอลันดาเป็ นหลัก ถึงระดับสูงสุดในคริ สต์ศตวรรษที กรุ งศรี อยุธยากลายมาเป็ น
จุดหมายปลายทางหลักสําหรับพ่อค้าจากจีนและญีปุ่ น ชัดเจนว่า ชาวต่างชาติเริ มเข้ามามีส่วนในการเมืองของราชอาณาจักร
พระมหากษัตริ ยก์ รุ งศรี อยุธยาวางกําลังทหารรับจ้างต่างด้าวซึงบางครังก็เข้าร่ วมรบกับอริ ราชศัตรู ในศึกสงคราม อย่างไรก็ดี
หลังจากการกวาดล้างชาวฝรังเศสในปลายคริ สต์ศตวรรษที ผูค้ า้ หลักของกรุ งศรี อยุธยาเป็ นชาวจีน ฮอลันดาจากบริ ษทั อินเดีย
ตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ยงั มีการค้าขายอยู่ เศรษฐกิจของอาณาจักรเสื อมลงอย่างรวดเร็ วในคริ สต์ศตวรรษที [26]

พัฒนาการทางสังคมและการเมือง[แก้]

ขุนนางสมัยอยุธยาสวมลอมพอก
นับแต่การปฏิรูปของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พระมหากษัตริ ยอ์ ยุธยาทรงอยู่ ณ ศูนย์กลางแห่งลําดับชันทางสังคม
และการเมืองทีจัดช่วงชันอย่างสูง ซึงแผ่ไปทัวราชอาณาจักร ด้วยขาดหลักฐาน จึงเชือกันว่า หน่วยพืนฐานของการจัดระเบียบ
สังคมในราชอาณาจักรอยุธยา คือ ชุมชนหมู่บา้ น ทีประกอบด้วยครัวเรื อนครอบครัวขยาย กรรมสิ ทธิในทีดินอยูก่ บั ผูน้ าํ ทีถือไว้
ในนามของชุมชน แม้ชาวนาเจ้าของทรัพย์สินจะพอใจการใช้ทีดินเฉพาะเท่าทีใช้เพาะปลูกเท่านัน[ ] ขุนนางค่อย ๆ กลายไปเป็ น
ข้าราชสํานัก (หรื ออํามาตย์) และผูป้ กครองบรรณาการ (tributary ruler) ในนครทีสําคัญรองลงมา ท้ายทีสุด พระมหากษัตริ ยท์ รง
ได้รับการยอมรับว่าเป็ นพระศิวะ (หรื อพระวิษณุ) ลงมาจุติบนโลก และทรงกลายมาเป็ นสิ งมงคลแก่พิธีปฏิบตั ิในทางการเมือง-
ศาสนา ทีมีพราหมณ์เป็ นผูป้ ระกอบพิธี ซึงเป็ นข้าราชบริ พารในราชสํานัก ในบริ บทศาสนาพุทธ เทวราชาเป็ นพระ
โพธิสตั ว์ ความเชือในเทวราชย์ (divine kingship) คงอยูถ่ ึงคริ สต์ศตวรรษที แม้ถึงขณะนัน นัยทางศาสนาของมันจะมี
ผลกระทบจํากัดก็ตาม
เมือมีทีดินสํารองเพียงพอสําหรับการกสิ กรรม ราชอาณาจักรจึงอาศัยการได้มาและการควบคุมกําลังคนอย่างพอเพียงเพือ
เป็ นผูใ้ ช้แรงงานในไร่ นาและการป้ องกันประเทศ การเติบโตอย่างรวดเร็ วของอยุธยานํามาซึงการสงครามอย่างต่อเนือง และ
เนืองจากไม่มีแว่นแคว้นใดในภูมิภาคมีความได้เปรี ยบทางเทคโนโลยี ผลแห่งยุทธการจึงมักตัดสิ นด้วยขนาดของกองทัพ
หลังจากการทัพทีได้รับชัยชนะในแต่ละครัง อยุธยาได้กวาดต้อนผูค้ นทีถูกพิชิตกลับมายังราชอาณาจักรจํานวนหนึง ทีซึงพวกเขา
จะถูกกลืนและเพิมเข้าไปในกําลังแรงงาน สมเด็จพระรามาธิบดีที ทรงสถาปนาระบบกอร์เว (Corvée) แบบไทยขึน ซึงเสรี ชน
ทุกคนจําต้องขึนทะเบียนเป็ นข้า (หรื อไพร่ ) กับเจ้านายท้องถิน เป็ นการใช้แรงงานโดยไม่ได้รับค่าตอบแทนใด ๆ ไพร่ ชายต้องถูก
เกณฑ์ในยามเกิดศึกสงคราม เหนือกว่าไพร่ คือนาย ผูร้ ับผิดชอบต่อราชการทหาร แรงงานกอร์เวในการโยธาสาธารณะ และบน
ทีดินของข้าราชการทีเขาสังกัด ไพร่ ส่วยจ่ายภาษีแทนการใช้แรงงาน หากเขาเกลียดการใช้แรงงานแบบบังคับภายใต้นาย เขา
สามารถขายตัวเป็ นทาสแก่นายหรื อเจ้าทีน่าดึงดูดกว่า ผูจ้ ะจ่ายค่าตอบแทนแก่การสูญเสี ยแรงงานกอร์เว จนถึงคริ สต์ศตวรรษที
กําลังคนกว่าหนึงในสามเป็ นไพร่ [ ]
ระบบไพร่ เป็ นการลิดรอนสิ ทธิเสรี ภาพของประชาชนอย่างมากเมือเทียบกับสมัยสุโขทัย[ ] โดยกําหนดให้ชายทุกคนที
สูงตังแต่ . เมตรขึนไปต้องลงทะเบียนไพร่ [ ] ระบบไพร่ มีความสําคัญต่อการรักษาอํานาจทางการเมืองของพระมหากษัตริ ย ์
เพราะหากเจ้านายหรื อขุนนางเบียดบังไพร่ ไว้เป็ นจํานวนมากแล้ว ย่อมส่งผลต่อเสถียรภาพของราชบัลลังก์ ตลอดจนส่งผลให้
กําลังในการป้ องกันอาณาจักรอ่อนแอ ไม่เป็ นปึ กแผ่น นอกจากนี ระบบไพร่ ยงั เป็ นการเกณฑ์แรงงานเพือใช้ประโยชน์ใน
โครงการก่อสร้างต่าง ๆ ซึงล้วนแต่เกียวข้องกับมาตรฐานชีวติ และความมันคงของอาณาจักร[ ]
ความมังคัง สถานภาพ และอิทธิพลทางการเมืองสัมพันธ์ร่วมกัน พระมหากษัตริ ยท์ รงแบ่งสรรนาข้าวให้แก่ขา้ ราชสํานัก
ผูว้ า่ ราชการท้องถิน ผูบ้ ญั ชาการทหาร เป็ นการตอบแทนความดีความชอบทีมีต่อพระองค์ ตามระบบศักดินา ขนาดของการแบ่ง
สรรแก่ขา้ ราชการแต่ละคนนันตัดสิ นจากจํานวนไพร่ หรื อสามัญชนทีเขาสามารถบัญชาให้ทาํ งานได้ จํานวนกําลังคนทีผูน้ าํ หรื อ
ข้าราชการสามารถบัญชาได้นนั ขึนอยูก่ บั สถานภาพของผูน้ นเที ั ยบกับผูอ้ ืนในลําดับขันและความมังคังของเขา ทียอดของลําดับ
ขัน พระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นเสมือนผูถ้ ือครองทีดินรายใหญ่ทีสุดในราชอาณาจักร ตามทฤษฎีแล้วทรงบัญชาไพร่ จาํ นวนมากทีสุด
เรี ยกว่า ไพร่ หลวง ทีมีหน้าทีจ่ายภาษี รับราชการในกองทัพ และทํางานบนทีดินของพระมหากษัตริ ย[์ ]
อย่างไรก็ดี การเกณฑ์กองทัพขึนอยูก่ บั มูลนาย ทีบังคับบัญชาไพร่ สมของตนเอง มูลนายเหล่านีจําต้องส่งไพร่ สมให้อยู่
ภายใต้บงั คับบัญชาของพระมหากษัตริ ยใ์ นยามศึกสงคราม ฉะนัน มูลนายจึงเป็ นบุคคลสําคัญในการเมืองของอยุธยา มีมูลนาย
อย่างน้อยสองคนก่อรัฐประหารยึดราชบัลลังก์มาเป็ นของตน ขณะทีการสูร้ บนองเลือดระหว่างพระมหากษัตริ ยก์ บั มูลนาย
หลังจากการกวาดล้างข้าราชสํานัก พบเห็นได้บ่อยครัง[ ]
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงกําหนดการแบ่งสรรทีดินและไพร่ ทีแน่นอนให้แก่ขา้ ราชการแต่ละขันในลําดับชัน
บังคับบัญชา ซึงกําหนดโครงสร้างสังคมของประเทศกระทังมีการนําระบบเงินเดือนมาใช้แก่ขา้ ราชการในสมัยรัตนโกสิ นทร์[ ]

พระสงฆ์อยูน่ อกระบบนี ซึงชายไทยทุกชนชันสามารถเข้าสู่ชนชันนีได้ รวมถึงชาวจีนด้วย วัดกลายมาเป็ นศูนย์กลาง


การศึกษาและวัฒนธรรม ระหว่างช่วงนี ชาวจีนเริ มเข้ามาตังถินฐานในอยุธยา และไม่นานก็เริ มควบคุมชีวติ เศรษฐกิจของ
ประเทศ อันเป็ นปั ญหาสังคมทีเกิดขึนช้านานอีกประการหนึง[ ]
สมเด็จพระรามาธิบดีที ทรงเป็ นผูร้ วบรวมธรรมศาสตร์ (Dharmashastra) ประมวลกฎหมายทีอิงทีมาในภาษาฮินดูและ
ธรรมเนียมไทยแต่โบราณ ธรรมศาสตรายังเป็ นเครื องมือสําหรับกฎหมายไทยกระทังปลายคริ สต์ศตวรรษที มีการนําระบบ
ข้าราชการประจําทีอิงลําดับชันบังคับบัญชาของข้าราชการทีมีชนยศและบรรดาศั
ั กดิมาใช้ และมีการจัดระเบียบสังคมในแบบที
สอดคล้องกัน แต่ไม่มีการนําระบบวรรณะในศาสนาฮินดูมาใช้[ ]
หลังสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงประกาศอิสรภาพจากราชวงศ์ตองอู พระองค์ทรงจัดการรวมการปกครองประเทศ
อยูใ่ ต้ราชสํานักทีกรุ งศรี อยุธยาโดยตรง เพือป้ องกันมิให้ซารอยพระราชบิ
ํ ดาทีแปรพักตร์เข้ากับฝ่ ายราชวงศ์ตองอูเมือครังการเสี ย
กรุ งศรี อยุธยาครังทีหนึง พระองค์ทรงยุติการเสนอชือเจ้านายไปปกครองหัวเมืองของราชอาณาจักร แต่แต่งตังข้าราชสํานักทีคาด
ว่าจะดําเนินนโยบายทีพระมหากษัตริ ยส์ ่งไป ฉะนัน เจ้านายทังหลายจึงถูกจํากัดอยูใ่ นพระนคร การช่วงชิงอํานาจยังคงมีต่อไป
แต่อยูใ่ ต้สายพระเนตรทีคอยระวังของพระมหากษัตริ ย[์ ]
เพือประกันการควบคุมของพระองค์เหนือชนชันผูว้ า่ ราชการใหม่นี สมเด็จพระนเรศวรมหาราชมีกฤษฎีกาให้เสรี ชนทุก
คนทีอยูใ่ นระบบไพร่ มาเป็ นไพร่ หลวง ขึนตรงต่อพระมหากษัตริ ยโ์ ดยตรง ซึงจะเป็ นผูแ้ จกจ่ายการใช้งานแก่ขา้ ราชการ วิธีการนี
ให้พระมหากษัตริ ยผ์ ขู ้ าดแรงงานทังหมดในทางทฤษฎี และเนืองจากพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นเจ้าของกําลังของทุกคน พระองค์ก็
ทรงครอบครองทีดินทังหมดด้วย ตําแหน่งรัฐมนตรี และผูว้ า่ ราชการ และศักดินาทีอยูก่ บั พวกเขา โดยปกติเป็ นตําแหน่งทีตกทอด
ถึงทายาทในไม่กีตระกูลทีมักมีความสัมพันธ์กบั พระมหากษัตริ ยโ์ ดยการแต่งงาน อันทีจริ ง พระมหากษัตริ ยไ์ ทยใช้การแต่งงาน
บ่อยครังเพือเชือมพันธมิตรระหว่างพระองค์กบั ตระกูลทีทรงอํานาจ ซึงเป็ นธรรมเนียมทีปฏิบตั ิสืบต่อมาถึงสมัยรัตนโกสิ นทร์
ผลของนโยบายนีทําให้พระมเหสีในพระมหากษัตริ ยม์ กั มีหลายสิ บพระองค์[ ]
หากแม้จะมีการปฏิรูปโดยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชก็ตาม ประสิ ทธิภาพของรัฐบาลอีก ปี ถัดมาก็ยงั ไม่มนคง ั พระ
ราชอํานาจนอกทีดินของพระมหากษัตริ ย ์ แม้จะเด็ดขาดในทางทฤษฎี แต่ในทางปฏิบตั ิถูกจํากัดโดยความหละหลวมของการ
ปกครองพลเรื อน อิทธิพลของรัฐบาลกลางและพระมหากษัตริ ยอ์ ยูไ่ ม่เกินพระนคร เมือเกิดสงครามกับพม่า หัวเมืองต่าง ๆ ทิง
พระนครอย่างง่ายดาย เนืองจากกําลังทีบังคับใช้ไม่สามารถเกณฑ์มาป้ องกันพระนครได้โดยง่าย กรุ งศรี อยุธยาจึงไม่อาจต้านทาน
ผูร้ ุ กรานได้[ ]

ศิลปะและวัฒนธรรม[แก้]
การแสดงโขน และศิลปะนาฏศิลป์ สยามประเภทต่างๆนันมีหลักฐานอย่างชัดเจนว่า มีการให้จดั แสดงขึนในพระราชวัง
หลวงของกรุ งศรี อยุธยาในลักษณะทีกล่าวได้วา่ เกือบจะเหมือนกับรู ปแบบของนาฏศิลป์ ไทยทีปรากฏอยูใ่ นประเทศไทยใน
ปั จจุบนั และทีแพร่ หลายไปยังประเทศเพือนบ้าน ทําให้สนั นิษฐานได้วา่ ศิลปะการละครของไทยน่าจะต้องถูกพัฒนาขึนจน
สมบูรณ์ มาตังแต่ศตวรรษที ตามสมัยคริ สตกาลเป็ นอย่างน้อย โดยในระหว่างทีราชอาณาจักรอยุธยายังมีสมั พันธ์ทางการทูต
โดยตรงกับฝรังเศส พระเจ้าหลุยส์ที สุริยะกษัตริ ย ์ (Sun King) แห่งราชอาณาจักรฝรังเศส ได้ส่งราชทูต ชือ ซีมง เดอ ลาลู
แบร์ มายังประเทศสยาม ในปี ค.ศ. และพํานักอยูใ่ นกรุ งศรี อยุธยาเป็ นเวลา เดือน เพือให้จดบันทึกทุกอย่างเกียวกับ
ประเทศสยาม ตังแต่การปกครอง ภาษา ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณี โดย ลา ลูแบร์ ได้มีโอกาสได้สังเกตการแสดงนาฏศิลป์
ประเภทต่างๆในราชสํานักไทย และจดบันทึกไว้โดยละเอียดดังนี:

"ชาวสยามมีศิลปะการเวทีอยูส่ ามประเภท: ประเภททีเรี ยกว่า "โขน" นัน เป็ นการร่ ายรําเข้า ๆ ออก ๆ หลายคํารบ ตาม
จังหวะซอและเครื องดนตรี อย่างอืนอีก ผูแ้ สดงนันสวมหน้ากาก และถืออาวุธ แสดงบทหนักไปในทางสูร้ บกันมากกว่า
จะเป็ นการร่ ายรํา และมาตรว่าการแสดงส่วนใหญ่จะหนักไปในทางโลดเต้นเผ่นโผนโจนทะยาน และวางท่าอย่างเกิน
สมควร แต่ก็มีการหยุดเจรจาออกมาสักคําสองคําอยูไ่ ม่ได้ขาด หน้ากาก (หัวโขน) ส่วนใหญ่นนน่ ั าเกลียด เป็ นหน้าสัตว์
ทีมีรูปพรรณวิตถาร หรื อไม่เป็ นหน้าอสูรปี ศาจ " ส่วนการแสดงประเภททีเรี ยกว่า "ละคร" นันเป็ นบทกวีทีผสมผสาน
กัน ระหว่างมหากาพย์ และบทละครพูด ซึงแสดงกันยืดยาวไปสามวันเต็มๆ ตังแต่ ๘ โมงเช้า จนถึง ๑ ทุ่ม ละครเหล่านี
เป็ น ประวัติศาสตร์ทีร้อยเรี ยงเป็ นบทกลอนทีเคร่ งครึ ม และขับร้องโดยผูแ้ สดงหลายคนทีอยูใ่ นฉากพร้อมๆกัน และ
เพียงแต่ร้องโต้ตอบกันเท่านัน โดยมีคนหนึงขับร้องในส่วนเนือเรื อง ส่วนทีเหลือจะกล่าวบทพูด แต่ทงหมดที ั ขับร้อง
ล้วนเป็ นผูช้ าย ไม่มีผหู ้ ญิงเลย ... ส่วน "ระบํา" นันเป็ นการรําคูข่ องหญิงชาย ซึงแสดงออกอย่างอาจหาญ ... นักเต้นทัง
หญิงและชายจะสวมเล็บปลอมซึงยาวมาก และทําจากทองแดง นักแสดงจะขับร้องไปด้วยรําไปด้วย พวกเขาสามารถรํา
ได้โดยไม่เข้าพัวพันกัน เพราะลักษณะการเต้นเป็ นการเดินไปรอบๆ อย่างช้าๆ โดยไม่มีการเคลือนไหวทีรวดเร็ ว แต่เต็ม
ไปด้วยการบิดและดัดลําตัว และท่อนแขน"

— ซีมง เดอ ลาลูแบร์ ,


จดหมายเหตุวา่ ด้วยราชอาณาจักรสยาม (ค.ศ.1693), หน้า 49[33]

ในส่วนทีเกียวกับการแต่งกายของนักแสดงโขน ลา ลูแบร์ ได้บนั ทึกไว้วา่ : "นักเต้นใน "ระบํา" และ "โขน" จะสวมชฎา


ปลายแหลมทําด้วยกระดาษมีลวดลายสี ทอง ซึงดูคล้ายๆหมวกของพวกข้าราชการสยามทีใส่ในงานพิธี แต่จะหุม้ ตลอดศีรษะ
ด้านข้างไปจนถึงใต้หู และตกแต่งด้วยหิ นอัญมณี เลียนแบบ โดยมีหอ้ ยพูส่ องข้างเป็ นไม้ฉาบสี ทอง"[ ]
เนืองจากในสมัยอยุธยามีการสร้างสรรค์วรรณคดีไว้มาก วัตถุดิบวรรณคดีเหล่านันส่งผลให้การนาฏศิลป์ และการละคร
ของสยาม ได้รับพัฒนาขึนจนมีความสมบูรณ์แบบทังในการแต่งกาย และการแสดงออกในระดับสูง และมีอิทธิพลต่ออาณาจักร
ข้างเคียงมาก ดังที กัปตันเจมส์ โลว์ นักวิชาการอังกฤษผูเ้ ชียวชาญด้านวัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ได้บนั ทึกไว้ในช่วงต้น
รัตนโกสิ นทร์:
"พวกชาวสยามได้พฒั นาศิลปะการแสดงละครของตนจนเข้าถึงความสมบูรณ์แบบในระดับสูง -- และในแง่นีศิลปะของ
สยามจึงเผยแพร่ ไปสู่ประเทศเพือนบ้าน ทังในพม่า ลาว และกัมพูชา ซึงล้วนแต่เสาะหานักรําละครของสยามทังสิ น"[ ]

ประชากรศาสตร์[แก้]
กลุ่มชาติพนั ธุ์[แก้]
ภาพชาวสยามจากจดหมายเหตุลาลูแบร์ พ.ศ.
ในช่วงปลายพุทธศตวรรษที อาณาจักรอยุธยามีประชากรประมาณ ,900, คน ซึงนับชายหญิงและเด็กอย่าง
ครบถ้วน[ ] แต่ลาลูแบร์กล่าวว่า ตังเลขดังกล่าวน่าจะไม่ถูกต้องเนืองจากมีผหู ้ นีการเสี ยภาษีอากรไปอยูต่ ามป่ าตามดงอีกมาก
[37]
แอนโธนี เรด นักวิชาการด้านอุษาคเนย์เทียบหลักฐานจากคําบอกเล่าต่างๆ แล้วประมาณว่า กรุ งศรี อยุธยามีประชากร ในช่วง
คริ สต์ศตวรรษ ที ราว , ถึง , คน[ ] มีกลุ่มชาติพนั ธุ์หลักคือไทยสยาม ซึงเป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์ในตระกูลภาษาไท-
กะได ซึงบรรพบุรุษของไทยสยามปรากฏหลักแหล่งของกลุ่มคนทีใช้ภาษาตระกูลไท-กะไดเก่าแก่ทีสุดอายุกว่า , ปี ซึงมี
หลักแหล่งแถบกวางสี คาบเกียวไปถึงกวางตุง้ และแถบลุ่มแม่นาดํ ํ า-แดงในเวียดนามตอนบน ซึงกลุ่มชนนีมีความเคลือนไหวไป
มากับดินแดนไทยในปั จจุบนั ทังทางบกและทางทะเลและมีการเคลือนไหวไปมาอย่างไม่ขาดสาย[ ] ในยุคอาณาจักรทวารวดีใน
แถบลุ่มแม่นาเจ้
ํ าพระยาช่วงหลังปี พ.ศ. ก็มีประชากรตระกูลไทย-ลาว เป็ นประชากรพืนฐานรวมอยูด่ ว้ ย[ ] ซึงเป็ นกลุ่มชน
อพยพลงมาจากบริ เวณสองฝังโขงลงทางลุ่มนําน่านแล้วลงสู่ล่มุ แม่นาเจ้ํ าพระยาฟากตะวันตกแถบสุพรรณบุรี ราชบุรี ถึงเพชรบุรี
และเกียวข้องไปถึงเมืองนครศรี ธรรมราช[ ] ซึงในส่วนนีลาลูแบร์ เอกอัครราชทูตฝรังเศสในรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์
มหาราช ได้ให้ความเห็นส่วนตัวว่า ชาวลาวกับชาวสยามเกือบจะเป็ นชาติเดียวกัน[ ] นอกจากนีลาลูแบร์ยงั อธิบายเพิมว่าตาม
ธรรมเนียมแต่โบราณแล้ว ทังสองฝ่ ายอ้างว่าตนรับกฎหมายของตนมาจากอีกฝ่ าย กล่าวคือฝ่ ายสยามเชือว่ากฎหมาย และเชือสาย
กษัตริ ยข์ องตนมาจากลาว และฝ่ ายลาวก็เชือว่ากฎหมาย และกษัตริ ยข์ องตนมาจากสยาม[ ] นอกจากนีลาลูแบร์สงั เกตเห็นว่า
สังคมอยุธยานันมีคนปะปนกันหลายชนชาติ และ "เป็ นทีแน่วา่ สายเลือดสยามนันผสมกับของชาติอืน"[ ] เนืองจากมีคนต่างชาติ
ต่างภาษาจํานวนมากอพยบเข้ามาอยูใ่ นอยุธยาเพราะทราบถึงชือเสี ยงเรื องเสรี ภาพทางการค้า[ ]
เอกสารจีนทีบันทึกโดยหม่าฮวนได้กล่าวไว้วา่ ชาวเมืองพระนครศรี อยุธยาพูดจาด้วยภาษาอย่างเดียวกับกลุ่มชนทาง
ตะวันออกเฉี ยงใต้ของจีน[ ] คือพวกทีอยูใ่ นมณฑลกวางตุง้ กับกวางสี และด้วยความทีดินแดนแถบอุษาคเนย์เป็ นดินแดนทีอุดม
สมบูรณ์จึงมีกลุ่มชาติพนั ธุ์หลากหลายตังหลักแหล่งอยูป่ ะปนกันจึงเกิดการประสมประสานทางเผ่าพันธุ์ วัฒนธรรม และภาษา
จนไม่อาจแยกออกจากกันได้อย่างชัดเจน[ ] และด้วยการผลักดันของรัฐละโว้ ทําให้เกิดรัฐอโยธยาศรี รามเทพนคร ภายหลัง
ปี พ.ศ. ก็ได้มีการเปลียนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมหลายอย่าง[ ]
ด้วยเหตุทีกรุ งศรี อยุธยาเป็ นอาณาจักรทีมีความเจริ ญรุ่ งเรื อง กลุ่มชาติพนั ธุ์กลุ่มอืน ๆ ได้อพยพเข้ามาพึงพระบรมโพธิ
สมภาร เชลยทีถูกกวาดต้อน ตลอดจนถึงชาวเอเชียและชาวตะวันตกทีเข้ามาเพือการค้าขาย ในกฎมนเทียรบาลยุคต้นกรุ งศรี
อยุธยาได้เรี ยกชือชนพืนเมืองต่าง ๆ ได้แก่ "แขกขอมลาวพม่ าเมงมอญมสุมแสงจีนจามชวา..."[ ] ซึงมีการเรี ยกชนพืนเมืองที
อาศัยปะปนกันโดยไม่จาํ แนกว่า ชาวสยาม[ ] ในจํานวนนีมีชาวมอญอพยพเข้ามาในสมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชา, สมเด็จพระ
นเรศวรมหาราช, สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง, สมเด็จพระนารายณ์มหาราช และสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั บรมโกศ เนืองจากชาวมอญ
ไม่สามารถทนการบีบคันจากการปกครองของพม่าในช่วงราชวงศ์ตองอู จนในปี พ.ศ. พม่าได้ปราบชาวมอญอย่างรุ นแรง
จึงมีการลีภัยเข้ามาในกรุ งศรี อยุธยาจํานวนมาก โดยชาวมอญในกรุ งศรี อยุธยาตังถินฐานอยูร่ ิ มแม่นาํ เช่น บ้านขมินริ มวัดขุน
[ ]

แสน ตําบลบ้านหลังวัดนก ตําบลสามโคก และวัดท่าหอย[ ] ชาวเขมรอยูว่ ดั ค้างคาว[ ] ชาวพม่าอยูข่ า้ งวัดมณเฑียร[ ] ส่วนชาว


ตังเกียและชาวโคชินไชน่า (ญวน) ก็มีหมู่บา้ นเช่นกัน[ ] เรี ยกว่าหมู่บา้ นโคชินไชน่า[ ] นอกจากนีชาวลาว หรื อไทยวนก็มีจาํ นวน
มากเช่นกัน โดยในรัชสมัยของสมเด็จพระราเมศวรครองราชย์ครังทีสอง ได้กวาดต้อนครัวไทยวนจากเชียงใหม่ส่งไปไว้ยงั
จังหวัดพัทลุง, สงขลา, นครศรี ธรรมราช และจันทบุรี[ ] และในรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทีทรงยกทัพไปตีลา้ นนา
ในปี พ.ศ. ได้เมืองลําปาง, ลําพูน, เชียงใหม่, เชียงแสน และได้กวาดต้อนมาจํานวนหนึง[ ]เป็ นต้น โดยเหตุผลทีกวาดต้อน
เข้ามา ก็เพือวัตถุประสงค์ทางด้านเศรษฐกิจและการทหาร[ ] และนอกจากกลุ่มประชาชนแล้วกลุ่มเชือพระวงศ์ทีเป็ นเชลย
สงครามและผูท้ ีเข้ามาพึงพระบรมโพธิสมภาร มีทงเชื ั อพระวงศ์ลาว, เชือพระวงศ์เชียงใหม่ (Chiamay), เชือพระวงศ์พะโค
(Banca), และเชือพระวงศ์กมั พูชา[ ]
นอกจากชุมชนชาวเอเชียทีถูกกวาดต้อนมาแล้วก็ยงั มีชุมชนของกลุ่มผูค้ า้ ขายและผูเ้ ผยแผ่ศาสนาทังชาวเอเชียจากส่วน
อืนและชาวตะวันตก เช่น ชุมชนชาวฝรังเศสทีบ้านปลาเห็ด[ ] ปัจจุบนั อยูท่ างทิศใต้นอกเกาะอยุธยาใกล้กบั วัดพุทไธสวรรย์ ซึง
ภายหลังบ้านปลาเห็ตได้เปลียนชือเป็ นบ้านเซนต์โยเซฟ[ ] หมู่บา้ นญีปุ่ นอยูร่ ิ มแม่นาระหว่
ํ างหมู่บา้ นชาวมอญและโรงกลันสุรา
ของชาวจีน ถัดไปเป็ นชุมชนชาวฮอลันดา ทางใต้ของชุมชนฮอลันดาเป็ นถินพํานักของชาวอังกฤษ, มลายู และมอญจากพะโค
[ ]

[60]
นอกจากนีก็ยงั มีชุมชนของชาวอาหรับ เปอร์เซีย และกลิงก์ (คนจากแคว้นกลิงคราษฎร์จากอินเดีย)[ ] ส่วนชุมชนชาว
โปรตุเกสตังอยูต่ รงข้ามชุมชนญีปุ่ น ชาวโปรตุเกสส่วนใหญ่มกั สมรสข้ามชาติพนั ธุ์กบั ชาวสยาม จีน และมอญ[ ] ส่วนชุมชนชาว
จาม มีหลักแหล่งแถบคลองตะเคียนทางใต้ของเกาะเมืองพระนครศรี อยุธยาเรี ยกว่า ปทาคูจาม มีบทบาทสําคัญด้านการค้าทาง
ทะเล และตําแหน่งในกองทัพเรื อ เรี ยกว่า อาษาจาม และเรี ยกตําแหน่งหัวหน้าว่า พระราชวังสัน[ ]
นักวิชาการด้านอุษาเคนย์ ให้ขอ้ สังเกตว่า ในขณะทีอยุธยามีความหลายหลายทางเชือชาติสูงด้วยเหตุผลทางการค้าขาย
และการเทครัวประชากรจากภูมิภาคอืน แต่ประชากรทังในและรอบนอกอยุธยาก็แสดงออกว่ามีใจฝักใฝ่ และสวามิภกั ดิต่อ
อยุธยาสูง[ ] อยุธยาจึงมิได้มีปัญหาความขัดแย้งทางชาติพนั ธุ์เหมือนอย่างในแถบลุ่มแม่นาอิ
ํ รวดี เอกสารจากฝังพม่าในคริ สต์ ศ.
ที อ้างถึงผูค้ นทางตอนใต้ล่มุ แม่นาเจ้
ํ าพระยารวมๆว่า "ชาวอยุธยา" หรื อ "ทหารอยุธยา"[ ] นอกจากนีสํานึกในความเป็ นชาติ
หรื อความเป็ นสยาม ก็ได้เริ มปรากฏรู ปร่ างแล้วตังแต่สมัยอยุธยา ในบันทึกของ วันวลิต (ฟาน วลีต) พ่อค้าชาวเนเธอร์แลนด์ ที
เข้ามาค้าขายในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททองระบุวา่ ชาวสยามมีความโดดเด่นในเรื องความภาคภูมิใจในชาติของตน โดย
ชาวสยาม "เชื อว่ าไม่ มชี าติอืนทีจะเทียบกับตนได้ และเห็นว่ ากฎหมาย ขนบธรรมเนียม และความรู้ ของตนนันดีกว่ าทีไหนทุก
แห่ งในโลก"[ ] วิกเตอร์ ลีเบอร์แมน เชือว่าสาเหตุทีราชอาณาจักรอยุธยา มีความขัดแย้งระหว่างชาติพนั ธุ์ค่อนข้างน้อยนัน ก็
เนืองมาจากมูลเหตุ ประการ[ ] ได้แก่

1. สัดส่วนของจํานวนประชากรชาวสยาม ต่อประชากรชาติพนั ธุ์อืนนันค่อนข้างตํา


2. ชาวสยามมีชนชาติอืนทีอพยพเข้ามาเพราะสงครามในพม่า เช่น ชาวมอญ และชาวไทยวนซึงมีใจฝักใฝ่ สยามมากกว่า
พม่า
3. ความเป็ นนานาชาติพนั ธุ์ของบรรยากาศการค้าขายในอยุธยา ทําให้การเลือกปฏิบตั ิทางชาติพนั ธุ์มีความเบาบางลง
นอกจากนียังมีคนต่างชาติรับราชการในกรุ งศรี อยุธยาอยูเ่ ป็ นจํานวนมาก
4. สงครามระหว่างสยามกับชาติเพือนบ้าน ไม่ยดื เยือยาวนานเท่าฝังพม่า ทําให้แนวคิดขัดแย้งทางชาติพนั ธุ์ไม่ฝังรากลึก ใน
สมัยพระเจ้าอลองพญาแม้จะตีเอาเมืองท่าสําคัญของมอญ เช่น นครย่างกุง้ ได้ แต่ก็ปกครองเมืองท่าเหล่านีอยูห่ ่างๆ ไม่
ย้ายเมืองหลวงลงมา เนืองจากอาจเป็ นจุดล่อแหลมต่อการถูกโจมตีจากทางทะเล[ ]

โขนต้องเจรจาด้วยเสี ยงเหน่อ ซึงถือเป็ นสําเนียงหลวงเมือครังกรุ งศรี อยุธยา


ภาษา[แก้]
สําเนียงดังเดิมของกรุ งศรี อยุธยามีความเชือมโยงกับชนพืนเมืองตังแต่ล่มุ นํายมทีเมืองสุโขทัยลงมาทางลุ่มนําเจ้าพระยา
ฝังตะวันตกในแถบสุพรรณบุรี, ราชบุรี, เพชรบุรี ซึงสําเนียงดังกล่าวมีความใกล้ชิดกับสําเนียงหลวงพระบาง โดยเฉพาะสําเนียง
เหน่อของสุพรรณบุรีมีความใกล้เคียงกับสําเนียงหลวงพระบาง[ ]ซึงสําเนียงเหน่อดังกล่าวเป็ นสําเนียงหลวงของกรุ งศรี อยุธยา
ประชาชนชาวกรุ งศรี อยุธยาทังพระเจ้าแผ่นดินจนถึงไพร่ ฟ้าราษฏรก็ลว้ นตรัสและพูดจาในชีวติ ประจําวัน ซึงปั จจุบนั เป็ นขนบอยู่
ในการละเล่นโขนทีต้องใช้สาํ เนียงเหน่อ โดยหากเปรี ยบเทียบกับสําเนียงกรุ งเทพฯ ในปั จจุบนั นี ทีในสมัยนันถือว่าเป็ นสําเนียง
บ้านนอกถินเล็ก ๆ ของราชธานีทีแปร่ งและเยืองจากสําเนียงมาตรฐานของกรุ งศรี อยุธยา[ ] และถือว่าผิดขนบ[ ]
ภาษาดังเดิมของกรุ งศรี อยุธยาปรากฏอยูใ่ นโองการแช่งนํา ซึงเป็ นร้อยกรองทีเต็มไปด้วยฉันทลักษณ์ทีแพร่ หลายแถบ
แว่นแคว้นสองฝังลุ่มแม่นาโขงมาแต่
ํ ดึกดําบรรพ์[ ] และภายหลังได้พากันเรี ยกว่า โคลงมณฑกคติ เนืองจากเข้าใจว่าได้รับแบบ
แผนมาจากอินเดีย[ ] ซึงแท้จริ งคือโคลงลาว หรื อ โคลงห้า ทีเป็ นต้นแบบของโคลงดันและโคลงสี สุภาพ[ ] โดยในโองการแช่ง
นําเต็มไปด้วยศัพท์แสงพืนเมืองของไทย-ลาว ส่วนคําทีมาจากบาลี-สันสกฤต และเขมรอยูน่ อ้ ย[ ] โดยหากอ่านเปรี ยบเทียบก็จะ
พบว่าสํานวนภาษาใกล้เคียงกับข้อความในจารึ กสมัยสุโขทัย และพงศาวดารล้านช้าง[ ]
ด้วยเหตุทีกรุ งศรี อยุธยาตังอยูใ่ กล้ทะเลและเป็ นศูนย์กลางการค้านานาชาติทาํ ให้สงั คมและวัฒนธรรมเปลียนไปอย่าง
รวดเร็ ว ต่างกับบ้านเมืองแถบสองฝังโขงทีห่างทะเล อันเป็ นเหตุทีทําให้มีลกั ษณะทีล้าหลังกว่าจึงสืบทอดสําเนียงและระบบ
ความเชือแบบดังเดิมไว้ได้เกือบทังหมด[ ] ส่วนภาษาในกรุ งศรี อยุธยาก็ได้รับอิทธิพลของภาษาจากต่างประเทศจึงรับคําในภาษา
ต่าง ๆ มาใช้ เช่นคําว่า กุหลาบ ทียืมมาจากคําว่า กุล้อบ ในภาษาเปอร์เซีย ทีมีความหมายเดิมว่า นําดอกไม้ [ ]และยืมคํา
ว่า ปาดรื (Padre) จากภาษาโปรตุเกส แล้วออกเสี ยงเรี ยกเป็ น บาทหลวง[ ] เป็ นต้น

ความสัมพันธ์กบั ต่างประเทศ[แก้]
อาณาจักรอยุธยามักส่งเครื องราชบรรณาการไปถวายจักรพรรดิจีนเป็ นประจําทุกสามปี เครื องบรรณาการนีเรี ยกว่า
"จิมก้อง" นักประวัติศาสตร์เชือว่าการส่งเครื องราชบรรณาการดังกล่าวแฝงจุดประสงค์ทางธุรกิจไว้ดว้ ย คือ เมืออาณาจักรอยุธยา
ได้ส่งเครื องราชบรรณาการไปถวายแล้วก็จะได้เครื องราชบรรณาการกลับมาเป็ นมูลค่าสองเท่า[ ] ทังยังเป็ นธุรกิจทีไม่มีความ
เสี ยง จึงมักจะมีขนุ นางและพ่อค้าเดินทางไปพร้อมกับการนําเครื องราชบรรณาการไปถวายด้วย
พ.ศ. ทันทีหลังจากทียึดครองมะละกา โปรตุเกสได้ส่งผูแ้ ทนทางการทูต นําโดย ดูอาร์เต เฟอร์นนั เดส (Duarte
Fernandes) มายังราชสํานักสมเด็จพระรามาธิบดีที หลังได้มีการสถาปนาความสัมพันธ์ฉนั ท์มิตรระหว่างราชอาณาจักร
โปรตุเกสและราชอาณาจักรอยุธยาแล้ว ผูแ้ ทนทางการทูตโปรตุเกสก็ได้กลับประเทศแม่ไปพร้อมกับผูแ้ ทนทางทูตของอยุธยา ซึง
มีของกํานัลและพระราชสาส์นถึงพระเจ้าโปรตุเกสด้วย[ ] ผูแ้ ทนทางการทูตโปรตุเกสชุดนีอาจเป็ นชาวยุโรปกลุ่มแรกทีเดิน
ทางเข้ามาในประเทศไทยก็เป็ นได้ ห้าปี ให้หลังการติดต่อครังแรก ทังสองได้บรรลุสนธิสญั ญาซึงอนุญาตให้โปรตุเกสเข้ามา
ค้าขายในราชอาณาจักรอยุธยา สนธิสญ ั ญาทีคล้ายกันใน พ.ศ. ได้ให้พวกดัตช์มีฐานะเอกสิ ทธิในการค้าข้าว
ชาวต่างชาติได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่นทีราชสํานักสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ผูท้ รงมีทศั นะสากลนิยม
(cosmopolitan) และทรงตระหนักถึงอิทธิพลจากภายนอก ได้มีการสถาปนาความสัมพันธ์เชิงพาณิ ชย์ทีสําคัญกับญีปุ่ น บริ ษทั
การค้าของเนเธอร์แลนด์และอังกฤษได้รับอนุญาตให้จดั ตังโรงงาน และมีการส่งคณะผูแ้ ทนทางการทูตของอยุธยาไปยังกรุ ง
ปารี สและกรุ งเฮก ด้วยการธํารงไว้ซึงความสัมพันธ์เหล่านี ราชสํานักอยุธยาได้ใช้เนเธอร์แลนด์คานอํานาจกับอังกฤษและ
ฝรังเศสอย่างชํานาญ ทําให้สามารถเลียงมิให้ชาติใดชาติหนึงเข้ามามีอิทธิพลมากเกินไป[ ]
ราชทูตไทยทีถูกส่งไปเข้าเฝ้าพระเจ้าหลุยส์ที เมือ พ.ศ.
อย่างไรก็ดี ใน พ.ศ. เนเธอร์แลนด์ใช้กาํ ลังบังคับเพือให้ได้สนธิสญ
ั ญาทีให้สิทธิสภาพนอกอาณาเขต เช่นเดียวกับ
การเข้าถึงการค้าอย่างเสรี คอนสแตนติน ฟอลคอน นักผจญภัยชาวกรี กผูเ้ ข้ามาเป็ นเสนาบดีต่างประเทศในราชสํานักสมเด็จพระ
นารายณ์มหาราช กราบทูลให้พระองค์หนั ไปพึงความช่วยเหลือจากฝรังเศส วิศวกรฝรังเศสก่อสร้างป้ อมค่ายแก่คนไทย และ
สร้างพระราชวังแห่งใหม่ทีลพบุรี นอกเหนือจากนี มิชชันนารี ชาวฝรังเศสเข้ามามีบทบาทในการศึกษาและการแพทย์ ตลอดจน
นําแท่นพิมพ์เครื องแรกเข้ามาในราชอาณาจักรด้วย พระเจ้าหลุยส์ที ทรงสนพระราชหฤทัยในรายงานจากมิชชันนารี ทีเสนอว่า
สมเด็จพระนารายณ์อาจเปลียนมานับถือศาสนาคริ สต์ได้[ ]
อาณาจักรอยุธยามีความสัมพันธ์กบั ชาติตะวันตกในด้านการค้าขายและการเผยแผ่ศาสนา โดยชาวตะวันตกได้นาํ เอา
วิทยาการใหม่ ๆ เข้ามาด้วย ต่อมา คอนสแตนติน ฟอลคอนได้เข้ามามีอิทธิพลและยัง บรรดาขุนนางจึงประหารฟอลคอนเสี ย
และลดระดับความสําคัญกับชาติตะวันตกตลอดช่วงเวลาทีเหลือของอาณาจักรอยุธยา
อย่างไรก็ดี การเข้ามาของฝรังเศสกระตุน้ ให้เกิดความแค้นและความหวาดระแวงแก่หมู่ชนชันสูงของไทยและนักบวช
ในศาสนาพุทธ ทังมีหลักฐานว่าคบคิดกับฝรังเศสจะยึดกรุ งศรี อยุธยา[ ] เมือข่าวสมเด็จพระนารายณ์กาํ ลังจะเสด็จสวรรคตแพร่
ออกไป พระเพทราชา ผูส้ าํ เร็ จราชการ ก็ได้สงั หารรัชทายาททีทรงได้รับแต่งตัง คริ สเตียนคนหนึง และสังประหารชีวติ ฟอลคอน
และมิชชันนารี อีกจํานวนหนึง การมาถึงของเรื อรบอังกฤษยิงยัวยุให้เกิดการสังหารหมู่ชาวยุโรปมากขึนไปอีก พระเพทราชาเมือ
ปราบดาภิเษกเป็ นพระมหากษัตริ ยแ์ ล้ว ทรงขับชาวต่างชาติออกจากราชอาณาจักร รายงานการศึกษาบางส่วนระบุวา่ อยุธยา
เริ มต้นสมัยแห่งการตีตวั ออกห่างพ่อค้ายุโรป ขณะทีต้อนรับวาณิ ชจีนมากขึน แต่ในการศึกษาปั จจุบนั อืน ๆ เสนอว่า สงครามและ
ความขัดแย้งในยุโรปช่วงคริ สต์ศตวรรษที เป็ นเหตุให้พอ่ ค้ายุโรปลดกิจกรรมในทางตะวันออก อย่างไรก็ดี เป็ นทีประจักษ์
ว่า บริ ษทั อินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ยงั ทําธุรกิจกับอยุธยาอยู่ แม้จะประสบกับความยากลําบากทางการเมือง[ ]

อ้างอิง[แก้]

1. กระโดดขึน↑ http://www.ayutthaya.org/
2. กระโดดขึน↑ ดนัย ไชยโยธา. ( ). พัฒนาการของมนุษย์ กบั อารยธรรมในราชอาณาจักรไทย เล่ ม ๑. โอ.เอส. พริ นติง
เฮ้าส์. หน้า .
3. กระโดดขึน↑ ชนิดา ศักดิศิริสมั พันธ์. ( ). ท่ องเทียวไทย. บริ ษทั สํานักพิมพ์หน้าต่างสู่โลกกว้าง จํากัด. ISBN 974-
- - . หน้า .
4. กระโดดขึน↑ Hooker, Virginia Matheson (2003). A Short History of Malaysia: Linking East and West. St Leonards,
New South Wales, Australia: Allen and Unwin. p. 72. ISBN 1864489553. Retrieved 2009-07-05.
5. กระโดดขึน↑ George Modelski, World Cities: –3000 to 2000, Washington DC: FAROS 2000, 2003. ISBN 978-0-
9676230-1-6. See also Evolutionary World Politics Homepage.
6. กระโดดขึน↑ "Ayutthaya, Thailand's historic city". The Times Of India. 2008-07-31.
7. กระโดดขึน↑ Derick Garnier (2004). Ayutthaya: Venice of the East. River books. ISBN 974-8225-60-7.
8. กระโดดขึน↑ "Ayutthaya Historical Park". Asia's World Publishing
Limited. http://www.thailandsworld.com/ayutthaya/index.cfm. เรี ยกข้อมูลเมือ - - .
9. กระโดดขึน↑ "The Tai Kingdom of Ayutthaya". The Nation: Thailand's World.
2009. http://www.thailandsworld.com/index.cfm?p= . เรี ยกข้อมูลเมือ - - .
10. กระโดดขึน↑ พระบริ หารเทพธานี. ( ). ประวัตศิ าสตร์ ไทย เล่ ม ๒. โสภณการพิมพ์. หน้า .
11. กระโดดขึน↑ Higham 1989, p. 355
12. กระโดดขึน↑ "The Aytthaya Era, 1350–1767". U. S. Library of Congress. http://countrystudies.us/thailand/7.htm.
เรี ยกข้อมูลเมือ - - .
13. กระโดดขึน↑ Jin, Shaoqing (2005). Office of the People's Goverernment of Fujian Province, ed. Zheng He's voyages
down the western seas. Fujian, China: China Intercontinental Press. p. 58. Retrieved 2009-08-02.
14. กระโดดขึน↑ Lt. Gen. Sir Arthur P. Phayre (1883). History of Burma (1967 ed.). London: Susil Gupta. p. 111.
15. ↑ กระโดดขึนไป: . 15.1 GE Harvey (1925). History of Burma. London: Frank Cass & Co. Ltd. pp. 167–170.
16. กระโดดขึน↑ Phayre, pp. 127–130
17. กระโดดขึน↑ Phayre, p. 139
18. กระโดดขึน↑ Wyatt 2003, pp. 90–121
19. กระโดดขึน↑ Christopher John Baker, Pasuk PhongpaichitA history of Thailand. Cambridge University Press. สื บค้น
เมือ - - . p. 22
20. กระโดดขึน↑ โกวิท วงศ์สุรวัฒน์. หน้า .
21. ↑ กระโดดขึนไป: . 21.1 โกวิท วงศ์สุรวัฒน์. หน้า .
22. กระโดดขึน↑ โกวิท วงศ์สุรวัฒน์. หน้า .
23. กระโดดขึน↑ โกวิท วงศ์สุรวัฒน์. หน้า .
24. กระโดดขึน↑ โกวิท วงศ์สุรวัฒน์. หน้า .
25. ↑ กระโดดขึนไป: . 25.1 โกวิท วงศ์สุรวัฒน์. หน้า .
26. ↑ กระโดดขึนไป: . 26.1 26.2 "The Economy and Economic Changes". The Ayutthaya Administration. Department of
Provincial Administration. http://www.dopa.go.th/English/history/econ2.htm. เรี ยกข้อมูลเมือ - - .
27. กระโดดขึน↑ Tome Pires. The Suma Oriental of Tome Pires. London, The Hakluyt Society,1944, p.107
28. ↑ กระโดดขึนไป: . 28.1 28.2 28.3 28.4 28.5 "Ayutthaya". Mahidol University. November 1,
2002. http://www.mahidol.ac.th/thailand/ayutthaya.html. เรี ยกข้อมูลเมือ - - .
29. ↑ กระโดดขึนไป: . 29.1 โกวิท วงศ์สุรวัฒน์. หน้า .
30. กระโดดขึน↑ โกวิท วงศ์สุรวัฒน์. หน้า .
31. กระโดดขึน↑ "Background Note: Thailand". U.S. Department of State. July 2009. Archived from the original on 4
November 2009. http://www.state.gov/r/pa/ei/bgn/2814.htm. เรี ยกข้อมูลเมือ - - .
32. ↑ กระโดดขึนไป: . 32.1 32.2 สคริปต์ ลูอาผิดพลาด ใน มอดูล:Citation/CS บรรทัดที : bad argument #1 to 'pairs'
(table expected, got nil)
33. กระโดดขึน↑ Simon de La Loubère, "The Kingdom of Siam" (Oxford Univ Press, 1986) (1693), p. 49
34. กระโดดขึน↑ La Loubère (1693), at 49
35. กระโดดขึน↑ James Low, "On Siamese Literature" (1839), p. 177|url=http://www.siamese-
heritage.org/jsspdf/2001/JSS_095_0i_Smyth_JamesLowOnSiameseLiterature.pdf
36. กระโดดขึน↑ มร.เดอะ ลาลูแบรฺ . จดหมายเหตุลาลูแบรฺ ฉบับสมบูรณ์ , เล่มที , แปล สันต์ ท. โกมลบุตร. พระนคร:
ก้าวหน้า. , หน้า
37. กระโดดขึน↑ มร.เดอะ ลาลูแบรฺ . จดหมายเหตุลาลูแบรฺ ฉบับสมบูรณ์ , หน้า
38. กระโดดขึน↑ Anthony Reid, South East Asia in the Age of Commerce: Expansion and Crisis (1988), p.71-73
39. ↑ กระโดดขึนไป: . 39.1 39.2 สุจิตต์ วงษ์เทศ. อักษรไทยมาจากไหน?. หน้า
40. กระโดดขึน↑ สุจิตต์ วงษ์เทศ. อักษรไทยมาจากไหน?. หน้า
41. กระโดดขึน↑ มร.เดอะ ลาลูแบรฺ . จดหมายเหตุลาลูแบรฺ ฉบับสมบูรณ์, หน้า
42. กระโดดขึน↑ Simon de La Loubère, The Kingdom of Siam (Oxford Univ. Press 1986) (1693), at 9
43. กระโดดขึน↑ La Loubère (1693), p.10
44. กระโดดขึน↑ La Loubère (1693), p.10
45. ↑ กระโดดขึนไป: . 45.1 สุจิตต์ วงษ์เทศ. อักษรไทยมาจากไหน?. หน้า
46. ↑ กระโดดขึนไป: . 46.1 สุจิตต์ วงษ์เทศ. กรุ งเทพฯ มาจากไหน?. หน้า
47. กระโดดขึน↑ สุภรณ์ โอเจริ ญ. ชาวมอญในประเทศไทย:วิเคราะห์ ฐานะและบทบาทในสังคมไทยตังแต่ สมัยอยุธยา
ตอนกลางจนถึงสมัยรั ตนโกสิ นทร์ ตอนต้ น. (วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิตบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
พ.ศ. ), หน้า -
48. กระโดดขึน↑ พระราชพงศาวดารกรุ งศรี อยุธยาฉบับพันทานุมาศ (เจิ ม) กับพระจักรพรรดิพงศ์ (จาด) . พระนคร:คลัง
วิทยา, 2507, หน้า และ
49. กระโดดขึน↑ พระราชพงศาวดารกรุ งศรี อยุธยาฉบับพันทานุมาศ (เจิ ม) กับพระจักรพรรดิพงศ์ (จาด) , หน้า
50. กระโดดขึน↑ พระราชพงศาวดารกรุ งศรี อยุธยาฉบับพันทานุมาศ (เจิ ม) กับพระจักรพรรดิพงศ์ (จาด) , หน้า
51. กระโดดขึน↑ นิโกลาส์ แชรแวส. ประวัติศาสตร์ ธรรมชาติและการเมืองแห่ งราชอาณาจักรสยาม (ในแผ่ นดินสมเด็จพระ
นารายณ์ มหาราช) . แปลโดย สันต์ ท. โกมลบุตร. พระนคร:ก้าวหน้า, 2506, หน้า
52. กระโดดขึน↑ ประชุมพงศาวดารภาคที ฉบับหอสมุดแห่งชาติ, เล่ม . พระนคร:ก้าวหน้า, 2507, หน้า
53. กระโดดขึน↑ พระราชพงศาวดารกรุ งศรี อยุธยาฉบับพันทานุมาศ (เจิม) กับพระจักรพรรดิพงศ์ (จาด), หน้า -
54. กระโดดขึน↑ สมเด็จฯกรมพระยาดํารงราชานุภาพ. ไทยรบพม่า. พระนคร:คลังวิทยา, . หน้า -
55. กระโดดขึน↑ บังอร ปิ ยะพันธุ์, หน้า
56. กระโดดขึน↑ บาทหลวงตาชารด์, แปล สันต์ ท. โกมลบุตร. จดหมายเหตุการเดินทางสู่ประเทศสยามของบาทหลวงตา
ชาร์ ด. กรุ งเทพฯ:กรมศิลปากร, 2517, หน้า
57. กระโดดขึน↑ เซอร์จอห์น เบาริ ง แปล นันทนา ตันติเวสส์. หน้า
58. กระโดดขึน↑ พลับพลึง มูลศิลป์ . ความสัมพันธ์ไทย-ฝรังเศสสมัยกรุ งศรี อยุธยา, กรุ งเทพฯ:บรรณกิจ, . หน้า
59. กระโดดขึน↑ เซอร์จอห์น เบาริ ง แปล นันทนา ตันติเวสส์. หน้า -
60. กระโดดขึน↑ สุภตั รา ภูมิประภาส. นางออสุต:เมียลับผูท้ รงอิทธิพลแห่งการค้าเมืองสยาม. ในศิลปวัฒนธรรม ปี ที
ฉบับที กันยายน กรุ งเทพ:สํานักพิมพ์มติชน, . หน้า
61. กระโดดขึน↑ ภาสกร วงศ์ตาวัน. ไพร่ ขุนนาง เจ้า แย่งชิงบัลลังก์สมัยอยุธยา. กรุ งเทพฯ:ยิปซี, หน้า
62. กระโดดขึน↑ ไกรฤกษ์ นานา. ปี สายสัมพันธ์ สองแผ่ นดินไทย-โปรตุเกส. กรุ งเทพฯ : มติชน, หน้า
63. กระโดดขึน↑ สุจิตต์ วงษ์เทศ. กรุ งเทพฯ มาจากไหน?, หน้า
64. กระโดดขึน↑ Liberman (2003), "Strange Parallel Southeast Asia in Global Context c. 800 - 1830, Vol. 1", at 313-314
65. กระโดดขึน↑ Liberman (2003), Strange Parallel Southeast Asia in Global Context, at 324
66. กระโดดขึน↑ Van Vliet (1692), "Description of the Kingdom of Siam" (L.F. Van Ravenswaay trans.), at 82
67. กระโดดขึน↑ Liberman (2003), "Strange Parallel Southeast Asia in Global Context", at 329-330
68. กระโดดขึน↑ "สุเนตร ชุตินธรานนท์: ไขคติ "เบิกยุค" ของพม่า เหตุยา้ ยเมืองหลวงไป "เน
ปิ ดอว์"". https://prachatai.com/journal/2012/06/41272.
69. ↑ กระโดดขึนไป: . 69.1 69.2 69.3 69.4 สุจิตต์ วงษ์เทศ. อักษรไทยมาจากไหน?. หน้า
70. ↑ กระโดดขึนไป: . 70.1 สุจิตต์ วงษ์เทศ. อักษรไทยมาจากไหน?. หน้า
71. ↑ กระโดดขึนไป: . 71.1 สุจิตต์ วงษ์เทศ. อักษรไทยมาจากไหน?. หน้า
72. กระโดดขึน↑ สุดารา สุจฉายา. ประวัติศาสตร์เก็บตกทีอิหร่ านย้อนรอยสายสัมพันธ์ไทย-อิหร่ าน. กรุ่ นกลินอารยธรรม
เปอร์ เซียในเมืองสยาม. กรุ งเทพฯ : มติชน, . หน้า
73. กระโดดขึน↑ อาทิตย์ ทรงกลด. เรื องลับเขมรทีคนไทยควรรู้ . กรุ งเทพฯ:สยามบันทึก, 2552, หน้า
74. ↑ กระโดดขึนไป: . 74.1 โกวิท วงศ์สุรวัฒน์. หน้า .
75. กระโดดขึน↑ Donald Frederick Lach, Edwin J. Van Kley, "Asia in the making of Europe", pp. 520–521, University
of Chicago Press, 1994, ISBN 978-0-226-46731-3
76. กระโดดขึน↑ "The Beginning of Relations with Buropean Nations and Japan (sic)". Thai Ministry of Foreign Affairs.
2006. http://www.mfa.go.th/web/117.php. เรี ยกข้อมูลเมือ - - .
77. ↑ กระโดดขึนไป: . 77.1 Smithies, Michael (2002). Three military accounts of the 1688 "Revolution" in Siam. Bangkok:
Orchid Press. pp. 12, 100, 183. ISBN 974-524-005-2.
บรรณานุกรม[แก้]

 Van Vliet, Jeremias, "Description of the Kingdom of Siam" (L.F. Van Ravenswaay trans.) (1692).
 Liberman, Victor, "Strange Parallel Southeast Asia in Global Context c. 800 - 1830, Vol. 1: Integration on the
Mainland" (Cambridge Univ. Press, 2003).
 โกวิท วงศ์สุรวัฒน์. การเมืองการปกครองไทย: หลายมิต.ิ
 นิโกลาส์ แชรแวส. ประวัติศาสตร์ ธรรมชาติและการเมืองแห่ งราชอาณาจักรสยาม (ในแผ่ นดินสมเด็จพระนารายณ์
มหาราช) , แปลโดย สันต์ ท. โกมลบุตร. พระนคร:ก้าวหน้า, 2506
 พระราชพงศาวดารกรุ งศรี อยุธยาฉบับพันทานุมาศ (เจิ ม) กับพระจักรพรรดิพงศ์ (จาด).พระนคร:คลังวิทยา, 2507
 บาทหลวงตาชารด์, แปล สันต์ ท. โกมลบุตร. จดหมายเหตุการเดินทางสู่ประเทศสยามของบาทหลวงตาชาร์ ด.
กรุ งเทพฯ:กรมศิลปากร, 2517
 สุจิตต์ วงษ์เทศ. อักษรไทยมาจากไหน?. กรุ งเทพฯ:มติชน, 2548. ISBN 974-323-547-7
 เซอร์จอห์น เบาริ ง, แปล นันทนา ตันติเวสส์. ความสัมพันธ์ ระหว่ างประเทศสยามกับต่ างประเทศสมัยกรุ งศรี อยุธยา.
กรุ งเทพฯ:กรมศิลปากร, 2527
 บังอร ปิ ยะพันธุ์. ลาวในกรุ งรั ตนโกสิ นทร์ . กรุ งเทพฯ:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2541. ISBN 974-86304-7-1
 สุจิตต์ วงษ์เทศ. กรุ งเทพฯ มาจากไหน?. กรุ งเทพฯ:มติชน, 2548. ISBN 974-323-436-5

You might also like