You are on page 1of 9

มานุษยดนตรี วทิ ยาภาคสนาม: แนวทางการทํางานของเจอรัลด์ ไดค์ (Gerald P.

Dyck) กับการปรับใช้ศึกษาดนตรี ในพืนทีอืน

ตุลาคม 1, 2017 archivistsบทความวิชาการ

ภายใต้กรอบคิดอรรถประโยชน์นิยม (Utilitarianism) งานทีดีจาํ เป็ นต้องนําไปสู่ประโยชน์แก่คนหมูม่ าก คือทําแล้วก่อเกิดสิ งที


จะช่วยให้สงั คมมีความสุขหรื อพึงพอใจ กรอบคิดดังกล่าวเป็ นพืนฐานการคิดในศาสตร์หลายแขนงรวมถึงมานุษยดนตรี วทิ ยา ที
หัวข้ออย่างประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับมุ่งตอบคําถามว่างานทีจะทําหรื อกําลังทําอยูน่ นนํ
ั าไปสู่สิงใดทีก่อให้เกิดประโยชน์แก่
ั ใ่ นกรอบคิด
สังคม ซึงหลายครัง การตอบคําถามในแง่อรรถประโยชน์นิยมนีเป็ นเรื องคิดไม่ตก เพราะผูท้ าํ งานไม่ได้ตงอยู
ดังกล่าว หรื ออาจมองการก่อให้เกิดประโยชน์ในแง่มุมทีต่างไป การตอบไม่ได้หรื อไม่พยายามตอบคําถามให้เป็ นไปตามกรอบ
คิดอรรถประโยชน์นิยมจึงมักถูกมองและตังคําถามจากคนในกรอบคิดนีว่าทําไปทําไม, ทําแล้วได้อะไร, รู ้ไปทําไม, รู ้แล้วได้
อะไร หรื ออาจไปไกลกระทังตัดสิ นว่าเป็ นเรื องไร้สาระไม่จาํ เป็ น

การใช้กรอบคิดอรรถประโยชน์นิยมเป็ นบรรทัดฐานตัดสิ นงานในระดับไร้สาระแง่หนึงก่อให้เสี ยประโยชน์ เพราะความไร้สาระ


อาจเกิดจากการขาดวิสยั ทัศน์เฉพาะตัวผูต้ ดั สิ น แต่ในสังคมทีกว้างออกไปอาจมีผอู ้ ืนทีสามารถนําไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อีก
นานับประการ โดยเฉพาะงานด้านการสังเคราะห์ความรู ้อย่างมานุษยดนตรี วทิ ยานัน ประโยชน์พนฐานของการได้
ื มาซึงความรู ้ก็
เพือทําความเข้าใจพฤติกรรมมนุษย์ผา่ นงานดนตรี ประโยชน์ในทางอืนๆ จึงเป็ นเรื องของการต่อยอดอันเกิดจากการนําความรู ้ไป
ปรับใช้

การปรับใช้ จึงเป็ นกระบวนการสําคัญในกรอบคิดอรรถประโยชน์นิยมสําหรับแสดงผลความรู ้จากการศึกษาให้ออกมาเป็ น


รู ปธรรม ซึงในการศึกษาทางมานุษยดนตรี วทิ ยาการปรับใช้ความรู ้นนเกิ
ั ดขึนหลากรู ปแบบ ตังแต่การปรับใช้ความรู ้ทีได้จาก
การศึกษาในด้านเศรษฐกิจ อาทิ การสร้างผลิตภัณฑ์ อาชีพ การส่งเสริ มความแพร่ หลาย ฯลฯ การมุ่งชีให้เห็นคุณค่าเพือการ
อนุรักษ์ อาทิ การสร้างหอจดหมายเหตุ พิพิธภัณฑ์ แหล่งรวบรวมข้อมูลชุมชน ฯลฯ ไปจนกระทังการปรับใช้หลักวิชา แนวทาง
และวิธีการได้มาซึงความรู ้จากนักมานุษยดนตรี วทิ ยารุ่ นก่อนมาสร้างความรู ้ใหม่ โดยการปรับใช้อย่างหลังนีเป็ นส่วนสําคัญหนึง
ในกระบวนการเรี ยนรู ้และทํางานทางมานุษยดนตรี วทิ ยา

การศึกษางานและการนํางานของนักมานุษยดนตรี วทิ ยารุ่ นก่อนไปปรับใช้ในการงานของคนยุคหลังเป็ นแนวทางการเรี ยนรู ้ที


กระทํากันมาอย่างต่อเนือง โดยเฉพาะอย่างยิงในการทํางานภาคสนามทีต้องอาศัยทักษะหลายด้านประกอบกัน การศึกษาเรี ยนรู ้
จากประสบการณ์ของผูท้ ีเคยผ่านงานมาก่อนคือความจําเป็ นพืนฐานในการเตรี ยมความพร้อมก่อนออกสู่พนที ื จริ ง งานของคาร์ล
สตุม๊ ฟ์ (Carl Stumpf), จ๊าป คุน้ (Jaap Kunt), อลัน โลแม็ก (Alan Lomax), อลัน พี. เมอเรี ยม (Alan P. Merriam), แมนเทิล ฮูด
(Mantle Hood), โจเซ่ มาเซด้า (José Maceda) ฯลฯ จึงยังคงนํามาให้นกั มานุษยดนตรี วทิ ยารุ่ นหลังได้ศึกษาทําความเข้าใจอยู่
เสมอมา ในฐานะแบบอย่างการทํางานมานุษยดนตรี วทิ ยา

การศึกษางานของนักมานุษยดนตรี วทิ ยาแต่ละคนให้แง่มุมของการทํางานภาคสนามต่างกันจากพืนฐานแนวคิด วิธีการ และพืนที


สนามตลอดมา ตังแต่ ดนตรี วทิ ยาเปรี ยบเทียบ (Comparative Musicology) กระทังเป็ นมานุษยดนตรี วทิ ยา ประสบการณ์ทาํ งาน
ภาคสนามของผูศ้ ึกษายุคก่อนถูกส่งต่อเป็ นพืนฐานความรู ้สาํ หรับการสร้างงานยุคต่อๆ มา งานในอดีตจึงเป็ นประโยชน์ในฐานะ
ของแนวทางให้คนยุคหลังได้ปรับใช้สาํ หรับศึกษาดนตรี ในพืนทีและช่วงเวลาทีต่างกัน

การทํางานมานุษยดนตรีวทิ ยาของ เจอรัล พี. ไดค์

สําหรับวิชามานุษยดนตรี วทิ ยาในประเทศไทยได้เริ มลงหลักปั กฐานในสถาบันการศึกษาชัดเจนตังแต่ พ.ศ. ๒๕๓๒ เมือ


สถาบันวิจยั ภาษาและวัฒนธรรมเพือพัฒนาชนบท[1] มหาวิทยาลัยมหิ ดล เปิ ดสอนหลักสูตรนีในระดับปริ ญญาโท ความรู ้
เกียวกับดนตรี ต่างๆ ในประเทศไทยจากผูท้ ีเคยทํางานในช่วงก่อนหน้านีจึงเริ มถูกจัดเข้าระบบของหลักสูตรการเรี ยนรู ้
ประสบการณ์และแนวทางการทํางานภาคสนามในฐานะของนักมานุษยดนตรี วทิ ยาเริ มถูกส่งต่อ พร้อมๆ กับความสนใจศึกษา
งานของนักมานุษยดนตรี วทิ ยาต่างชาติ ทีเคยเข้ามาศึกษาดนตรี ในพืนทีประเทศไทยยุคก่อน เพือสื บค้นความรู ้และแนวทางการ
ทํางานมาปรับใช้ศึกษาดนตรี เพิมเติม ซึงนักมานุษยดนตรี วทิ ยาทีลงพืนทีภาคสนามศึกษาดนตรี ไทยยุคแรกๆ อย่างเดวิด มอร์ตนั
(David Morton), เทอรี มิลเลอร์ (Terry E. Miller) คือคนทีมักถูกกล่าวถึงอยูบ่ ่อยครัง

กระนัน ในช่วงเวลาคาบเกียวกับการทํางานภาคสนามในประเทศไทยของเดวิด มอร์ตนั , อาจารย์ดนตรี แห่งวิทยาลัยพระคริ สต


ธรรม จ.เชียงใหม่ นามว่า เจอรัลด์ ไดค์ ได้เริ มลงพืนทีภาคเหนือของประเทศไทยเก็บรวบรวมดนตรี ลา้ นนาในช่วงทศวรรษ
๒๕๑๐ จากความสนใจส่วนตัว และจริ งจังมากยิงขึนภายหลังการกลับมาประเทศไทยครังที ใน พ.ศ. ๒๕๑๐ พร้อมดีกรี ปริ ญญา
โทด้านดนตรี ศาสนาจาก Union Theology และความรู ้ดา้ นมานุษยดนตรี วทิ ยาจากการศึกษาเพิมเติมทีมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ช่วง
นีเจอรัลด์ ไดค์ เดินทางรวบรวมข้อมูลและศึกษาดนตรี จากสนามในพืนทีเชียงใหม่ – ลําพูน – เชียงราย พร้อมอุปกรณ์
บันทึกเสี ยง
และภาพเคลือนไหว ขณะเดียวกันก็ผลิตบทความวิชาการเกียวกับดนตรี ลา้ นนาเผยแพร่ อยูเ่ นืองๆ บทความสําคัญอย่างเช่นเรื อง
“The Vanishing Phia: An Ethnomusicological Photo – Story” มีบทบาทในการผลักดันให้สงั คมดนตรี ลา้ นนาหันมาสนใจศึกษา
พิณเปี ยะมากขึน[2]
เจอรัลด์ ไดค์ ลงภาคสนามศึกษาและเก็บข้อมูลดนตรี ลา้ น กระทังเดินทางกลับไปสหรัฐอเมริ กาในปี พ.ศ. ๒๕๑๔ ได้ขอ้ มูล
สําคัญของดนตรี ลา้ นในช่วงเวลาแห่งการเปลียนแปลงจํานวนหนึง ซึงหลังจากเจอรัลด์. ไดค์ เดินทางกลับไปข้อมูลบางส่วน
ยังคงถูกเก็บรักษาไว้ทีมหาวิทยาลัยพายัพด้วย อย่างไรก็ตาม ชือเจอรัลด์ ไดค์ นันยังไม่เป็ นทีรู ้จกั แพร่ หลายนักสําหรับแวดวง
การศึกษามานุษยดนตรี วทิ ยาในประเทศไทยยุคก่อน กระทังไม่นานมานีเจอรัลด์ ไดค์ ในฐานนะของนักมานุษยดนตรี วทิ ยาผู ้
ศึกษาดนตรี ลา้ นนาคนแรก เริ มเป็ นทีรู ้จกั กว้างขวางมาขึนผ่านการนําเสนองานของสงกรานต์ สมจันทร์ ทีเผยให้เห็นแง่มุมและ
กระบวนการทํางานศึกษาดนตรี ภาคสนามของเจอรัลด์ ไดค์ อันเต็มไปด้วยประสบการณ์น่าสนใจ ด้วยการเป็ นนักมานุษยดนตรี
วิทยาผูเ้ คยทํางานภาคสนามดนตรี ลา้ นนายุคแรกทีส่งผลอย่างสําคัญต่อวงการ งานของเจอรัลด์ ไดค์ จึงแฝงไว้ดว้ ยความรู ้ ความ
เข้าใจ และประสบการณ์ทาํ งานภาคสนามทีสามารถเป็ นแนวทางสําหรับนักมานุษยดนตรี วทิ ยารุ่ นหลังนําไปปรับใช้ศึกษาดนตรี
อืนๆ ต่อไปได้

“สนาม” ทางมานุษยดนตรีวทิ ยาในงานของ เจอรัลด์ ไดค์

นักมานุษยดนตรี วทิ ยามักอธิบายแนวทางการศึกษาของตนเองว่าจุดเด่นอยูท่ ีการปฏิบตั ิงานในพืนที “สนาม”[3] ทีซึงดนตรี ต่าง ๆ


ปรากฏขึนจริ ง นักมานุษยดนตรี วทิ ยาสามารถเรี ยนรู ้แง่มุมหลากหลายทีเกียวข้องกับดนตรี ได้จากเหตุการณ์ ณ ขณะนัน โดย
ศรัณย์ นักรบ กล่าวถึงการทํางานภาคสนามว่าคือหัวใจของมานุษยดนตรี วทิ ยา[4] ขณะทีณรงค์ชยั ปิ ฎกรัชต์ กล่าวว่า “สนาม
ดนตรี นับเป็ นพืนทีปฏิ บัติงานทีดีทีสุด เป็ นแหล่ งจริ งของความรู้ ”[5] แนวคิดว่าด้วยความสําคัญของการลงพืนทีภาคสนามใน
งานมานุษยดนตรี วทิ ยาไม่ต่างกันนีปรากฏในการทํางานของเจอรัลด์ ไดค์ ทีเห็นได้จากการออกเดินทางลงพืนทีเพือเก็บข้อมูล
ดนตรี ลา้ นนา
ตลอดช่วงทีพํานักอยูใ่ นประเทศไทย

การออกเก็บข้อมูลดนตรี จากพืนทีสนามอย่างจริ งจังทีปรากฏผ่านบทความวิชาการและงานบันทึกข้อมูลของเจอรัลด์ ไดค์


นอกจากเน้นยําให้เห็นถึงแนวทางการทํางานมานุษยดนตรี วทิ ยาว่าสนามคือแหล่งความรู ้ทีสําคัญเพียงใดแล้ว ยังแสดงให้เห็น
มุมมองความเข้าใจทีมีต่อสนาม และกระบวนการทํางานทีประณี ตเอาใจใส่อีกด้วย

“สนาม” โดยทัวไปหมายถึง ลาน ทีว่าง ทีโล่ง หรื อทีเล่น[6] นัยความหมายแสดงให้เห็นพืนทีใดๆ อันมีองค์ประกอบสําคัญที


ความเป็ นสาธารณะ สนามจึงเป็ นแหล่งสําหรับรวมตัวเพือกิจกรรมหนึงๆ ของกลุ่มชน งานของเจอรัลด์ ไดค์ อย่าง “Musical
Journey in Northern Thailand” ชีให้เห็นการให้ความหมาย “สนาม” ในแง่ของมานุษยดนตรี วทิ ยาทีเป็ นมากกว่าลานสาธารณะ
เชิงรู ปธรรมของกลุ่มชน แต่สนามคือพืนทีทางสังคมทีเกิดขึนจากการดําเนินกิจกรรมดนตรี หรื อมีดนตรี เป็ นส่วนหนึงของ
กิจกรรม โดยความเข้าใจดังกล่าวแสดงให้เห็นผ่านการบรรยายแบบชาติพนั ธุ์วรรณา (Ethnography) ทีฉายภาพดนตรี ลา้ นนาที
เชือมโยงและเคลือนทีไปกับวิถีชีวติ ของผูค้ นในสังคม สนามของ เจอรัลด์ ไดค์ จึงมีพนที
ื กว้างไกลและเต็มไปด้วยมิติทีทับซ้อน
ระหว่างปัจเจกชน สังคม ดนตรี และบริ บททางวัฒนธรรมแวดล้อมอีกมากมาย

แนวทางการทํางานจากพืนฐานทีเข้าใจความหมายของสนามในแง่มานุษยดนตรี วทิ ยา ยังส่งผลสื บเนืองในเรื องของกระบวนการ


ทํางานทีประณี ตและรอบคอบ ด้วยความตระหนักถึงคุณค่าของรายละเอียดเล็กน้อยทีอาจเป็ นบริ บทส่งถึงตัวดนตรี หรื อเสนอให้
เห็นแง่มุมแปลกต่างไปได้ การพรรณนาโดยละเอียดตังแต่การเดินทาง
วิธีเข้าถึงสนาม สภาพแวดล้อมของสนาม ช่วงเวลา รายละเอียดด้านดนตรี กระทังเรื องราวเกียวกับการปฏิบตั ิงานร่ วมกับผูอ้ ืน
[7] จึงพบได้ทวไปในงานของเจอรั
ั ลด์ ไดค์

การทําความเข้ าใจวัฒนธรรมของสนาม

ความเข้าใจนิยามสนามทางมานุษยดนตรี วทิ ยาของเจอรัลด์ ไดค์ ทีแสดงผ่านงานยังมีผลต่อเนืองถึงกระบวนการทํางานที


รอบคอบรัดกุมด้วย เมือสนามคือพืนทีทางสังคม การเข้าสนามจึงเป็ นการเข้าสังคมอย่างหนึงเช่นกัน การเข้าสังคมแต่ละแห่งนัน
ย่อมมีขอ้ กําหนด กฎ ระเบียบ และจังหวะวิธีการทีจําเพาะต่างกันไป การจะเข้าสู่สนามและนําความรู ้ออกมาได้จึงต้องการความ
ยอมรับและความไว้วางใจจากคนในสนามด้วย ขณะเดียวกันข้อควรตระหนักของนักมานุษยดนตรี วทิ ยาก็ยาเตื ํ อนเสมอถึงการไม่
แทรกแซง หรื อกระทําให้สนามเกิดการเปลียนแปลงจากตัวนักมานุษยดนตรี วทิ ยา เหล่านีคือโจทย์ใหญ่ทีต้องคิดล่วงหน้าก่อน
การเดินทางไปยังพืนทีสนาม ซึงการทํางานของเจอรัลด์ ไดค์ ได้แสดงให้เห็นว่าทังหมดนีเป็ นสิ งทีเขาตระหนักอยูต่ ลอด และมี
การเตรี ยมตัวด้วยการศึกษาทําความเข้าใจข้อมูลเบืองต้นของสนามก่อนเข้าสู่พนที
ื จริ ง

ผมไม่แน่ใจนักว่าเจอรัลด์ ไดค์ ทําความเข้าใจขนบ ธรรมเนียม ประเพณี อันเป็ นพืนฐานวัฒนธรรมล้านด้วยวิธีการใดบ้าง เพราะ


ยังไม่มีโอกาสได้สอบถามโดยตรง แต่จากงานทีบอกเล่าเรื องราวอย่างละเอียดนันชีว่าเจอรัลด์ ไดค์ มีความเข้าใจสังคมและ
วัฒนธรรมล้านอยูม่ าก จากการมาใช้ชีวติ และทํางานอยูใ่ นพืนทีจริ งระยะเวลาหนึง[8] เชือว่าวิธีนีเป็ นหนึงในการเตรี ยมความ
พร้อมเรี ยนรู ้ธรรมเนียมประเพณี ต่างๆ ของท้องถิน ก่อนจะลงไปสู่สนามดนตรี ทีห่างไกลในชนบท เจอรัลด์ ไดค์ เรี ยนรู ้ภาษา
ล้านและใช้สือสารได้ ซึงการเรี ยนรู ้ภาษานีเป็ นวิธีเพือการสื อสารทีสะดวก ช่วยให้ทาํ ความเข้าใจเรื องอืนๆ ได้ง่ายขึน อีกทังการ
พูดภาษาเดียวกันนัน
ยังทําให้เกิดความรู ้สึกเป็ นพวกเดียวกัน (มากขึน) ข้อนีมีส่วนนําไปสู่การยอมรับของสังคมด้วย ดังทีสงกรานต์ สมจันทร์ เล่าไว้
ว่า “ด้ วยความสามารถนีเองทีทําให้ เจอรั ลด์ ได้ ฝากตัวเป็ นศิษย์ กบั พ่ อครู อินหล่ อและแม่ ครู พลอยสี สรรพศรี อดีตนักดนตรี และ
ช่ างฟ้อนในคุ้มพระชายา เจ้ าดารารั ศมี”[9]

จากการเข้ามาอยูเ่ รี ยนรู ้วถิ ีชีวติ ภาษา กระทังฝากตัวเป็ นศิษย์ ลําดับเหตุการณ์นีบ่งบอกถึงการเตรี ยมความพร้อมและเรี ยนรู ้สนาม
อย่างค่อยเป็ นค่อยไป ทีสําคัญคือดําเนินไปตามขนบทีการเรี ยนรู ้นนต้ ั อง “มีครู ” ซึงนอกจากการฝากตัวเป็ นศิษย์มีครู เรี ยนรู ้วชิ า
ดนตรี โดยตรงแล้ว แง่หนึงครู กค็ ือบุคคลข้อมูล (Key information) สําหรับงานเป็ นทังแหล่งความรู ้ ผูช้ ีแนวทาง – แหล่งข้อมูลอืน
และแหล่งอ้างอิงถึงทีมาทีไปในการอธิบายตัวตนในการเข้าพืนทีสนาม โดยการอธิบายตัวตนว่าเป็ นศิษย์ใครเป็ นเสมือนการมี
บุคคลท้องถินรับรอง การได้รับความไว้วางใจเข้าสู่พนที ื สนามก็จะเป็ นไปได้ง่ายและสะดวกมากขึนด้วย

ความสําคัญของการจัดกระทําข้ อมูล

แม้วา่ การจัดกระทําข้อมูลไม่ใช้การทํางานในพืนทีทํางานภาคสนามโดยตรง แต่การก็ปฏิเสธไม่ได้วา่ ไม่มีส่วนเกียวข้องกับสนาม


เลย การจัดกระทําข้อมูลมีความสัมพันธ์กบั สนามด้านกระบวนการทํางานทีเกียวเนืองกัน โดยข้อมูลทีเป็ นผลผลิตจากการเก็บ
ข้อมูลจากสนามในแต่ละครังนันมีจาํ นวนมากหลายรู ปแบบปะปนกัน การจัดกระทําข้อมูลจึงเป็ นการจัดระบบ – ระเบียบ ของ
ข้อมูลทีได้มาเพือเก็บรักษาและสืบค้นต่อไป
การจัดกระทําข้อมูลทีดีคือกระบวนการทีเป็ นไปอย่างเป็ นระบบ สมเหตุผล และถูกต้องตามวิธี[10] โดยการวางระบบทีสม
เหตุผลชัดเจนจะช่วยให้การสื บค้นข้อมูลทําได้ง่ายและสะดวกขึน ขณะทีการเก็บข้อมูลอย่างถูกวิธีจะช่วยให้ขอ้ มูลเหล่านันเสี ยง
ต่อการพังหรื อเสี ยหายน้อยทีสุด การจัดกระทําข้อมูลดนตรี ลา้ นนาของ เจอรัลด์ ไดค์ นัน แสดงชัดถึงระบบการจัดเก็บทีมีการวาง
แนวทางไว้อย่างดี ด้วยการแบ่งประเภทของข้อมูลรักษาแยกไว้เป็ นส่วนๆ โดยมีแบบบันทึกรายละเอียดไว้สาํ หรับระบุขอ้ มูล
เบืองต้นเพือความสะดวกในการค้นหา ซึงแบบบันทึกรายละเอียดดังกล่าวนีระบุขอ้ มูลทีจําเป็ นต่อการสื บค้นตังแต่รายละเอียดผู ้
บันทึก ผูถ้ ูกบันทึก สถานทีบันทึก เครื องดนตรี ภาษา ตําแหน่งทีจัดเก็บข้อมูลและข้อมูลอืน ๆ (หรื อประเภทอืน)
ทีเกียวข้อง ไปจนกระทังรายละเอียดเพิมเติมอืนๆ

การจัดกระทําข้อมูลอย่างเป็ นระเบียบและละเอียดสะท้อนการถึงการให้ความสําคัญกับงานส่วนนีไม่ยงหย่
ิ อนกว่าการทํางาน
อืนๆ ในสนามของเจอรัลด์ ไดค์ ซึงผลจากการจัดกระทําทีละเอียดและการเก็บรักษาทีดีนีแสดงให้เห็นแล้วว่าข้อมูลทังหมดยัง
สามารถสื บค้นและนํากลับมาใช้ประโยชน์ในด้านการศึกษาได้อย่างสะดวกแม้เวลาจะผ่านไปนานแล้วก็ตาม โดยการจัดระเบียบ
ดังกล่าวจะเป็ นพืนฐานสําหรับแนวทางเผยแพร่ และรักษาต่อไปอาทิ การทําหอจดหมายเหตุ พิพิธภัณฑ์ หรื อคลังข้อมูลรู ปแบบ
อืนๆ ในอนาคต

อุปกรณ์ คือโอกาส

เจอรัลด์ ไดค์เดินทางเข้ามาประเทศไทย ๒ ครัง คือช่วง พ.ศ. ๒๕๐๓-๒๕๐๖ และช่วง พ.ศ. ๒๕๑๐-๒๕๑๔ ปั จจุบนั มีขอ้ มูลทัง
ภาพถ่าย เสี ยง และภาพเคลือนไหวของดนตรี ลา้ นนาในช่วงเวลาดังกล่าวเป็ นจํานวนมาก ซึงได้จดั กระทําไว้อย่างเป็ นระเบียบ
ข้อมูลเหล่านีนอกจากเป็ นผลแห่งความทุ่มเทในการทํางานของเจอรัลด์ ไดค์ แล้ว ปั จจัยสําคัญอีกอย่างหนึงคือความพร้อมของ
อุปกรณ์สาํ หรับเก็บข้อมูล

อุปกรณ์เก็บข้อมูลเป็ นสิ งสําคัญในการลงพืนทีภาคสนามของนักมานุษยดนตรี วทิ ยาอันขาดไม่ได้ ในอดีตการบันทึกดนตรี


นอกจากบรรยายให้เห็นเครื องดนตรี วิธีบรรเลง รู ปแบบวง และบริ บทการใช้แล้ว ระบบการบันทึกโน้ตดูจะเป็ นแนวทางเดียวที
จะเก็บทํานองไว้ได้มากทีสุด กระทังปลายคริ สต์ศตวรรษที ๑๙ เมือโธมัส เอลวา เอดิสนั คิดเครื องบันทึกเสี ยงและถูกนําไป
พัฒนาต่อจนสามารถใช้งานได้สะดวกขึน[11]เทคโนโลยีเหล่านีเปลียนภาพลักษณ์ของการเก็บเสี ยงดนตรี ไปอย่างสิ นเชิง ทํานอง
เพลงยังถูกเก็บรักษาไว้ในอุปกรณ์และสามารถเปิ ดศึกษาได้ตามต้องการ นักมานุษยดนตรี วทิ ยายุคบุกเบิกทังคาร์ล สตุม๊ ฟ์ (Carl
Stumpf), อีริก เอ็ม. ฟาน ฮอลบอสเทล (Erich M. Von Hornbostel), เคิร์ต ซาคส์ (Curt Sachs) และคนอืนๆ เริ มใช้เครื อง
บันทึกเสี ยงในการศึกษาดนตรี แนวทางการบันทึกเสี ยงในงานสนามถูกส่งต่อและพัฒนาวิธีการมาจนถึงปัจจุบนั การเกิดขึนและ
พัฒนาของอุปกรณ์บนั ทึกคือส่วนสนับสนุนการเก็บข้อมูลเสี ยงในสนามอันเป็ นประโยชน์สาํ หรับการฟังทีต้องพิจารณาอย่าง
ละเอียด ฟังซํา บันทึกไว้เป็ นหลักฐาน และข้อมูลทางประวัติศาสตร์ อุปกรณ์บนั ทึกทีมีประสิทธิภาพจึงเป็ นโอกาสสําหรับงาน
ศึกษาดนตรี ให้มีความก้าวหน้ามากยิงขึนไป

ข้อมูลจากการทํางานของเจอรัลด์ ไดค์ แสดงให้เห็นว่าความพร้อมของอุปกรณ์ทงในแง่


ั ลกั ษณะการจัดเก็บและคุณภาพนันสําคัญ
เพียงใด ความพร้อมของอุปกรณ์บนั ทึกสร้างโอกาสการสังเคราะห์ความรู ้และการบันทึกประวัติศาสตร์ทีดีกว่า ในอดีตการ
บันทึกเรื องราวดนตรี ลา้ นนาปรากฏในบันทึกต่างๆ ด้วยรู ปแบบอักษรและภาพวาด ซึงแน่นอนว่าย่อมให้ภาพและมุมมองทีต่าง
จากการบันทึกเสี ยง ภาพถ่าย และภาพเคลือนไหวทีเสมือนจริ งมากกว่า เจอรัลด์ ไดค์ มีอุปกรณ์บนั ทึกทังกล้องถ่ายรู ป เครื อง
บันทึกเสี ยง และกล้องวีดีโอทีถือป็ นอุปกรณ์ทนั สมัยและมีราคาค่อนข้างสูงในยุคนัน สําหรับบันทึกเรื องราวดนตรี ลา้ นนา ซึงผล
จาการบันทึกด้วยอุปกรณ์เหล่านี ทําให้ปัจจุบนั ข้อมูลดนตรี ลา้ นนาในช่วงกลางคริ สต์วรรษที ๒๐ อันเป็ นช่วงเปลียนแปลงสําคัญ
ของดนตรี ลา้ นนายังคงมีหลักฐานให้สืบค้นและศึกษาอยูเ่ ป็ นจํานวนมาก

การปรับใช้ แนวทางการทํางานของเจอรัล พี. ไดค์ สําหรับศึกษาดนตรีในพืนทีอืน

ประเด็นต่างๆ ข้างต้นเป็ นเพียงรู ปแบบการทํางานบางส่วนทีแสดงผ่านตัวงานของเจอรัลด์ ไดค์ ซึงสะท้อนให้เห็นแนวทางการ


ทํางานเฉพาะบางแง่มุมเท่านัน การเข้าใจแนวทางทํางานของบุคคลหนึงๆ อย่างถ่องแท้จาํ เป็ นต้องศึกษาจากข้อมูลหลากหลาย
ด้านและยากจะแสดงได้ในพืนทีจํากัด อย่างไรก็ตาม หากมองการใช้งานด้วยกรอบคิดอรรถประโยชน์นิยมแล้วการทํางานของ
เจอรัลด์ ไดค์เหล่านี แม้จะเป็ นเพียงส่วนเล็กน้อยจากทังหมด แต่ยอ่ มเกิดประโยชน์ได้จากวิสยั ทัศน์ทีเห็นคุณค่าและรู ้จกั ปรับใช้
ประเด็นต่างๆ ทีนําเสนอตังแต่การทํางานมานุษยดนตรี วทิ ยาของ เจอรัลด์ ไดค์, “สนาม” ทางมานุษยดนตรี วทิ ยาในงานของ
เจอรัล พี. ไดค์, การทําความเข้าใจวัฒนธรรมของสนาม, ความสําคัญของการจัดกระทําข้อมูล และอุปกรณ์คือโอกาส จึงล้วนเป็ น
หนึงในภาพทีสะท้อนให้เห็นแนวทางการทํางานของเจอรัลด์ ไดค์ อันเป็ นไปตามหลักการศึกษาทางมานุษยดนตรี วทิ ยา ซึง
หลักการเหล่านีคือพืนฐานทีสามารถปรับใช้ศึกษาดนตรี ได้โดยกว้าง

แนวทางการทํางานประการหนึงคือพืนฐานจากความเข้าใจนิยามของสนามตามแนวทางมานุษยดนตรี วทิ ยาว่าเป็ นพืนทีทาง


สังคมทีมีขอบเขตและแง่มุมให้ศึกษาหลากหลาย นิยามสนามดนตรี นีเป็ นแนวคิดเบืองต้นทีจะอธิบายตําแหน่งแห่งทีของดนตรี
ในชีวติ มนุษย์ ซึงสารมารถปรับใช้ศึกษาได้กบั ทุกๆ สนามดนตรี ในการอธิบายความแปรเปลียนของสนามดนตรี อนั เกิดจากพืนที
และเวลาทีเชือมโยงกับบริ บททางสังคม

เมือสนามดนตรี เป็ นพืนทีทางสังคมลักษณะหนึงการเข้าสนามจึงไม่ต่างจากการเข้าสังคม การเข้าสูส้ นามดนตรี จาํ เป็ นต้องได้รับ


การยอมรับจากผูใ้ ห้ขอ้ มูลอันมีความไว้วางใจเป็ นพืนฐาน ส่วนนีการทํางานของเจอรัลด์ ไดค์ ชีให้เห็นแนวทางของการเข้าสนาม
ว่าการปฏิบตั ิตามขนบ จารี ต และประเพณี นนสํ ั าคัญต่อการได้รับข้อมูลในระดับลึก แบบอย่างการเข้าสู่สนามด้วยการทําความ
เข้าในวัฒนธรรมและปฏิบตั ิตามขนบนันเป็ นแนวทางทีสามารถปรับใช้ในสนามดนตรี พนที ื อืนๆ กล่าวคือการลงพืนทีศึกษา
ดนตรี ในสนามใดๆ จําเป็ นทีต้องศึกษาวัฒนธรรมและบริ บททีเกียวข้อง เพือเป็ นการเรี ยนรู ้ทาํ ความเข้าใจอันจะนําไปสู่การวาง
ตัวอย่างเหมาะสมและให้เกียรติกบั ผูท้ ีเรากําลังจะเข้าไปศึกษา

หลังจากได้ขอ้ มูลสนามแล้วการจัดกระทําข้อมูลเป็ นอีกหนึงกระบวนการสําคัญทีเจอรัลด์ ไดค์ แสดงให้เห็นผ่านงาน ซึงเป็ น


แบบอย่างทีดีในการปรับใช้จดั กระทําข้อมูลดนตรี จากสนามอย่างละเอียด การแบ่งของมูลตามประเภทเช่น ภาพถ่าย ฟิ ล์ม ม้วน
วีดีโอ ไฟล์คอมพิวเตอร์ เป็ นต้น แยกประเด็น และการทําแบบรายการสื บค้น คือแนวทางการจัดกระทําทีดี ข้อมูลจาการลงสนาม
ดนตรี ใดๆ ควรจัดกระทําอย่างเป็ นระเบียบและมีแผนจัดการข้อมูลเหล่านีในระยะยาวตังแต่แนวทางเก็บรักษาต้นฉบับ ทําสําเนา
เพือใช้งาน การแปลงสําเนาข้อมูลสําหรับใช้งานในอุปกรณ์ทีสะดวกตามช่วงเวลา ฯลฯ ซึงเป็ นประโยชน์สาํ หรับการใช้สืบค้น
รักษา และเผยแพร่

แนวทางการทํางานของเจอรัลด์ ไดค์ นอกจากแง่มุมความเข้าใจสนามและการจัดกระทําข้อมูลแล้ว เรื องมุมมองการใช้อุปกรณ์


บันทึกต่างๆ เป็ นอีกสิ งทีนักมานุษยดนตรี วทิ ยาจําเป็ นต้องให้ความสําคัญ การทํางานทีเคลือนทีตามการพัฒนาเทคโนโลยี
อุปกรณ์บนั ทึกชนิดต่างๆ นันคือโอกาสทีจะช่วยให้การเก็บข้อมูลมีประสิ ทธิภาพมากยิงขึน เจอรัลด์ ไดค์ แสดงให้เห็นมุมมอง
การตอบรับต่อเทคโนโลยีอปุ กรณ์บนั ทึกผ่านการนําเครื องบันทึกเสี ยง กล้องถ่ายภาพนิง และกล้องถ่ายวีดีโอเข้ามาใช้ศึกษา
ดนตรี ลา้ นนา ซึงพิสูจน์แล้วว่าข้อมูลจากการบันทึกนันยังคงใช้ประโยชน์ได้จนปัจจุบนั มุมมองแนวคิดทีดีต่อการพัฒนา
เทคโนโลยีอุปกรณ์บนั ทึกข้อมูลนีสามารถปรับใช้กบั การศึกษาดนตรี ในโลกปั จจุบนั อย่างดี การเปิ ดใจยอมรับ – เรี ยนรู ้การนํา
อุปกรณ์บนั ทึกข้อมูลแบบใหม่ๆ เข้ามาใช้นี ช่วยเพิมโอกาสในบันทึกและการรักษาข้อมูลมากยิงขึน โดยเฉพาะในปั จจุบนั ที
พัฒนาการเทคโนโลยีบนั ทึกข้อมูลก้าวหน้าอย่างรวดเร็ ว อุปกรณ์เหล่านีนอกเหนือจากช่วยการเก็บรักษาและบันทึกข้อมูลแล้ว
อุปกรณ์ในปัจจุบนั ยังสร้างโอกาสการเผยแพร่ งาน (แง่หนึงคือการช่วยกันรักษาข้อมูลจากคนจํานวนมากผ่านอุปกรณ์ทีเชือมต่อ
เข้าด้วยกัน) ไปจนกระทังการสร้างพืนทีสนามดนตรี ภายในอุปกรณ์อย่างสังคมเสมือน (Virtual Society) อีกด้วย มุมมองทีดี การ
เปิ ดใจพร้อมเรี ยนรู ้ และการรู ้จกั ใช้อุปกรณ์จึงเป็ นโอกาสทีจะช่วยการศึกษาและรักษาข้อมูลดนตรี มีประสิ ทธิภาพมากขึนในทุก
สนามดนตรี

อย่างไรก็ตาม แนวทางและการปรับใช้จากการทํางานของเจอรัลด์ ไดค์ ข้างต้นเป็ นเพียงเสี ยวเล็กๆ เท่านัน แง่มุมการศึกษาแนว


ทางการทํางานบุคคลและการปรับใช้ตามกรอบคิดอรรถประโยชน์นิยมสามารถเกิดขึนได้อีกนับไม่ถว้ น บทความนีเป็ นเพียงมุม
หนึงทีพยายามชีให้เห็นว่าการทํางานต่างพืนที – เวลาจะส่งประโยชน์ให้แก่กนั ได้อย่างไร ซึงแนวทางการทํางของเจอรัลด์ ไดค์
ได้แสดงให้เห็นแล้วว่าแนวคิดและหลักการในการศึกษาภาคสนามนันคือแก่นแกนความรู ้ทางมานุษยดนตรี วทิ ยาทีสามารถปรับ
ใช้ศึกษาดนตรี ต่างวัฒนธรรม พืนที และเวลาได้ ซึงการทําความเข้าใจแนวคิดและหลักการของเจอรัลด์ ไดค์ นี เป็ นไปใน
ลักษณะเดียวกัน
กับการศึกษาแนวทางของนักมานุษยดนตรี วทิ ยายุคก่อนอย่าง คาร์ล สตุม๊ ฟ์ (Carl Stumpf), จ๊าป คุน้ (Jaap Kunt), อลัน พี. เม
อเรี ยม (Alan P. Merriam) แมนเทิล ฮูด (Mantle Hood) ฯลฯ เพือทําความเข้าใจแนวคิดและหลักสําหรับปรับใช้ศึกษาดนตรี อืนๆ
ต่อไป

บรรณานุกรม

ณรงค์ชยั ปิ ฎกรัชต์. (๒๕๕๕). ดุริยางคศาสตร์ ชาติพันธ์ . ม.ป.ท.

ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๕๔). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว


เนืองในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔. กรุ งเทพฯ: ศิริวฒั นนาอินเตอร์พริ นท์.

พูนพิศ อมาตยกุล. (๒๕๔๐). ลํานําแห่ งสยาม. กรุ งเทพฯ: อมริ ทร์พริ นติง แอนด์พบั ลิชชิง.

ศรัณย์ นักรบ. (๒๕๕๗). ดนตรี ชาติพันธ์ วิทยา. กรุ งเทพฯ: สํานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สงกรานต์ สมจันทร์. (๒๕๕๖). Gerald P. Dyck นักดนตรี ชาติพนั ธุ์วทิ ยาผูศ้ ึกษา ดนตรี ลา้ นนาคนแรก. เพลงดนตรี Music
Journal, ๑๘(๗), ๑๒-๑๗.
Dyck, Gerald P. (2009). Musical Journey in Northern Thailand. Assonet, MA: Minuteman Press of Fall River.

Timothy Rice. (2014). Ethnomusicology: a very short introduction. Great Britain: Ashford Colour Press.

เชิงอรรถ:

[1] ชือในขณะนัน ปั จจุบนั เปลียนชือเป็ น สถาบันวิจยั ภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิ ดล

[2] สงกรานต์ สมจันทร์. (2556). Gerald P. Dyck นักดนตรี ชาติพนั ธุ์วทิ ยาผูศ้ ึกษาดนตรี ลา้ นนาคนแรก. วารสารเพลง
ดนตรี Music Journal, ปี ที18 ฉบับที 7 เดือนมีนาคม หน้า 12 – 17

[3] Timothy Rice. (2014). Ethnomusicology: a very short introduction. Great Britain. Ashford Colour Press Ltd. Page 27.

[4] ศรัณย์ นักรบ. (๒๕๕๗). ดนตรี ชาติพันธ์ วิทยา. กรุ งเทพฯ: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. หน้า ๒๒.

[5] ณรงค์ชยั ปิ ฎกรัชต์. (๒๕๕๕). ดุริยางคศาสตร์ ชาติพันธ์ . ม.ป.ท. หน้า ๗๘.

[6] ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๕๖). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระ


เจ้ าอยู่หัว เนืองในโอกาสพระราชพิธีมงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔. กรุ งเทพฯ: ศิริวฒั นนาอินเตอร์พ
ริ นท์.

[7] บทที 9 ในหนังสื อ “Musical Journey in Northern Thailand” ทีเล่าถึงการทํางานร่ วมกันกับ David Morton คือตัวอย่างเด่นชัด
ในข้อนี

[8] ช่วง พ.ศ. ๒๕๐๓ เจอรัล พี. ไดค์เข้ามาทํางานเป็ นครู อาสาทีฟาร์มสัมพันธกิจ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ส่วนในกลับมา
ครังที ๒ นันทํางานเป็ นครู ดนตรี ทีพระคริ สตธรรมแห่งสภาคริ สตจักรในประเทศไทย (ปัจจุบนั คือวิทยาลัยพระคริ สต์ธรรมแมค
กิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ)

[9] อ้างแล้วใน. สงกรานต์ สมจันทร์. (๒๕๕๖).

[10] “ถูกต้องตามวิธี” ในทีนีหมายถึง วิธีการเก็บทีเหมาะสมกับอุปกรณ์ทีใช้บนั ทึก เช่น ข้อมูลรู ปแบบไฟล์คอมพิวเตอร์ สมุด


บันทึก ฟิ ล์ม รู ปภาพ เป็ นต้น

[11]พูนพิศ อมาตยกุล. (๒๕๔๐). ลํานําแห่ งสยาม. กรุ งเทพฯ: อมริ ทร์พริ นติง แอนด์ พับลิชชิง. หน้า ๓๗.
ทีมา:

ทรงพล เลิศกอบกุล. (2559). มานุษยดนตรี วทิ ยาภาคสนาม: แนวทางการทํางานของเจอรัลด์ ไดค์ (Gerald P. Dyck) กับการปรับ
ใช้ศึกษาดนตรี ในพืนทีอืน. ดนตรี ล้านนาปิ กบ้ าน. เชียงใหม่: หอจดหมายเหตุดนตรี ลา้ นนาเจอรัลด์ ไดค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
เชียงใหม่.

หมายเหตุ:

ทรงพล เลิศกอบกุล อาจารย์ประจําภาควิชาดนตรี และศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ


เชียงใหม่

You might also like