You are on page 1of 25

ลิลิตตะเลงพาย

สมาชิก หอง ๑๑๐๔


นายภู ครูทรงธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕/๔ เลขที่ ๙
นางสาวณธพรรณ สุนทรวรเศรษฐ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕/๔ เลขที่ ๑๙
นางสาวศุภรดา สุวรรณเลิศลํ้า ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕/๔ เลขที่ ๒๐
นางสาววิริยา อัญชลีวิลาวัณย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕/๔ เลขที่ ๒๔
เนื้อเรื่อง
เหตุการณทางกรุงหงสาวดีพระเจานันทบุเรงกษัตริยพมาทรงทราบขาววาพระมหาธรรมราชาสวรรคตจึงทรงคาดวา
กรุงศรีอยุธยาอาจมีการชิงบัลลังกกันระหวางพระนเรศวรกับพระเอกาทศรถจึงรับสั่งใหพระมหาอุปราชาผูเปนโอรสยก
ทัพมารุกรานไทยแตพระมหาอุปราชาไดกราบทูลพระราชบิดาวาโหรทํานายวาพระองคอาจมีเคราะหถึงตายพระมหา อุป
ราชาเกรงพระราชอาญาและทรงอับอายจึงยกทัพไปกรุงศรีอยุธยาโดยเกณฑพลจากเชียงใหมและเมืองขึ้นตางๆ มาชวย
และในศึกครั้งนี้ก็ไดมีการทํายุทธหัตถีระหวางพระนเรศวรกับพระมหาอุปราชาซึ่งพระนเรศวรเปนฝายชนะเชน เดียวกับ
ที่สมเด็จพระเอกาทศรถมีชัยเหนือมังจาชโรหลังจากที่กองทัพพมาแตกพายไปสมเด็จพระนเรศวรจึงไดมีพระ บัญชาให
สรางสถูปเจดียขึ้นที่นี่แลวยกกองทัพกลับกรุงศรีอยุธยา
โครงเรื่อง
โครงเรื่องของลิลิตตะเลงพายเปนเรื่องของการทําสงครามยุทธหัตถีและการลาอาณานิคม
ของกษัตริยในสมัยกอน
ตัวละคร
ฝายไทย ฝายพมา
1. สมเด็จพระนเรศวร 9. เจารามราฆพ 1. พระเจานันทบุเรงนอง
2. สมเด็จพระเอกาทศรถ 10. นายมหานุภาพ 2. พระมหาอุปราชา
3. พระมหาธรรมราชา 11. หลวงญาณโยคโลกทีป 3. พระยาจิดตอง
4. สมเด็จพระวันรัต 12. หลวงมหาวิชัย 4. สมิงอะคราน สมิงเปอ สมิงซายมวย
5. พระยาศรีไสยณรงค 5. เจาเมืองมลวน
6. พระราชฤทธานนท 6. มางจาชโร
7. เจาพระยาคลัง
8. เจาพระยาจักรี
ฉากทองเรื่อง
๑. หงสาวดี เมืองหลวงของพมา
๒. อยุธยา เมืองหลวงของไทย
๓. ดานเจดียสามองค เขตแดนระหวางไทยกับพมา อําเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี
๔. กาญจนบุรี เมืองหนาดานของไทยที่พระมหาอุปราชายกเขามา เปนเมืองแรก
๕. แมกษัตริย ชื่อแมนํ้าในจังหวัดกาญจนบุรีที่แมทัพนายกองเมือง กาญจนบุรีไปซุมสอดแนมเพื่อหาขาวของ
ขาศึก
๖. พนมทวน อําเภอหนึ่งในจังหวัดกาญจนบุรี เมื่อพระมหาอุปราชา ยกทัพมาถึงเกิดเวรัมภาพัดใหฉัตรของ
พระมหาอุปราชาหัก
๗. เมืองสิงห,เมืองสรรคบุรี,เมืองสุพรรณ
๘. ราชบุรี เมืองที่สมเด็จพระนเรศวรมีพระราชบัญชาใหเจาเมืองจัด ทหารหารอยคนไปทาลายสะพานไมไผ
เจาเมืองชื่อ พระอมรินทรฦาชัย
๙.วิเศษชัยชาญ เมืองที่พมา ใหกองลาดตระเวนขื่นมาหาขาว
๑๑.ปากโมก เปนตําบลที่สมเด็จพระนเรศวรยกพลขึ้นบกทรง พระสุบินวารบกับจระเขและไดชัยชนะกอนยก
ทัพออกจากปากโมก ทอดพระเนตรเห็นพระบรมสารริกธาตุ
๑๒.หนองสาหราย ที่ตั้งทัพหนาของไทย
มาเดี่ยวเปลี่ยวอกอา อายสู
สถิตอยูเอองคดู ละหอย
พิศโพนพฤกษพบู บากเบิน ใจนา
บทเจรจารําพึงรําพัน พลางคะนึงนุชนอย แนงเนื้อนวลสงวน

สลัดใดใดสลัดนอง แหนงนอน ไพรฤา


เพราะเพื่อมาราญรอน เศิกไสร
สละสละสมร เสมอชื่อ ไมนา
นึกระกํานามไม แมนแมนทรวงเรียม

สายหยุดหยุดกลิ่นฟุง ยามสาย
สายบหยุดเสนหหาย หางเศรา
กี่คืนกี่วันวาย วางเทวษ ราแม
ถวิลทุกขวบคํ่าเชา หยุดไดฉันใด
จากบทรําพึงรําพันนี้สามารถถอดความไดวา:
“พระมหาอุปราชาตองเสด็จมาเพียงผูเดียวพรอมกัยความเหงา แตพระองคไดชมนกชมไมทําใหรูสึกเบิกบาน
พระทัยขึ้นไดแตก็ยังคิดถึงเหลานางสนมและกํานัลทั้งหลาย เมื่อเห็นตนสลัดพระองคก็นึกถึงวาเพราะตองทําสงคราม จึง
ตองจากนางมานอนในปาเมื่อเห็นตนสละก็นึกถึงวาตองสละนางมาอยูในปาเห็นตนระกําชางเหมือนพระองคแท เห็นตน
สายหยุดเมื่อตอนสายก็หมดกลิ่น แตไมเหมือนใจพระองคที่ไมหมดรักนางไมมีทางที่จะหยุดรักนาง”
แกนเรื่อง
● สะทอนประเทศไทยสมัยกอน
● การทําสงครามของกษัตริยเพื่อปกปองประเทศ
● ความกลาหาญ
● ความรักชาติ
● ความเสียสละ
● ปลุกใจใหคนไทยรักชาติ
การอานและพิจารณาการใชภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม

๑. การสรรคํา
๑.๑ เลือกใชคําใหเหมาะสมกับเรื่องและฐานะของบุคคลในเรื่อง

นฤนาค = กษัตริย พระหัตถ = มือ


ศัตราวุธอรินทร = อาวุธของขาศึก ขอทรง = ของสับสําหรับที่ใชบังคับชาง อยูใตคอชาง
องคเอย = แทนสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
สยามินทร = กษัตริยสยาม ในที่นี้จึงแปลไดวา กษัตรยิ์อยุธยา
๑.๒ การใชคําโดยคํานึงถึงเสียง

กวีคํานึงถึงความไพเราะของถอยคํารวมถึงความงามของถอยคํานั้นเพื่อใหสอดคลองกันภายในโค ลง
โดยโคลงขางตนมีการใชสัมผัสของสระดังนี้ สยบ-ทบ, ทบ-ซบ, ดิ้น-สิ้น
๑.๒ คําพองเสียงและคําซํ้า

กวีแตงโคลงบทนี้โดยใชหลักการเลนคําพองเสียงควบคูกับการพรรณนาทําใหมีความสวยงาม
มากยิ่งขึ้น โดยเห็นไดจากการใชพยัญชนะตนที่ซํ้ากันทําใหเกิดคําพองเสียงและคําซํ้าขึ้น ซึ่ง
ในบรรทัดที่สามจะมีความชัดเจนมากที่สุดดังนี้ สอง-สุริย, พาง-พัช-ไพ, ฤา-รา-เริ่ม-รณ-ฤทธิ์,
ทุก-เทศ-ทุก-ทิศ
๒. การเรียบเรียงคํา
๒.๑ เรียงคํา วลี หรือประโยคที่มีความสําคัญเทาๆกัน เคียงขนานกันไป

จากโคลงขางตนนักประพันธเล็งเห็นถึงความสําคัญในการเรียบเรียงความสําคัญใหเทาๆกันเพื่อ
อธิบายและบอกเลาถึงเหตุการณที่กําลังจะเกิดขึ้นดังเชนโคลงตัวอยาง เปนตน ทั้งนี้ในโคลงไดกลาวถึง
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงปลื้มปติจึงพระราชทานอภัยโทษแกแมทัพนายกองและยกใหทัพไปตี
เมืองตะนาวศรี ทะวาย และมะริด เปนการแกตัว
๒.๒ เรียบเรียงประโยคใหเนื้อหาเขมขนขึ้นไปตามลําดับ

เพื่อเพิ่มอรรธรสในการอานกวีจึงเรียบเรียงประโยคใหมีเนื้อหาที่เขมขนขึ้นไปตามลําดับดัง
เชนโคลงขางตนที่บรรยายถึงสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงเบี่ยงหลบคมอาวุธของพระมหาอุป
ราชาโดยเพิ่มคําสนับสนุนเพื่อใหมีความเขมขนขึ้นในแตละวรรคจนถึงวรรถสุดทายที่พระนเรศวร
มหาราชสามารถหลบไดสําเร็จ
๓. การใชโวหาร
๓.๑ พรรณนาโวหาร

จากบทประพันธขางตน ผูประพันธใชคําพรรณนา เพื่อใหผูอานไดเห็นภาพเหตุการณ


ของการสูรับระวัง สมเด็จพระนเรศวร และพระมหาอุปราชา ชางทรงของทั้งสองตางสะบัด
เหวี่ยงไมยอมกัน ชางทรงของพระนเรศวรไดเปรียบ พระมหาอุปราชาจึงพลาดทา และโดน
ฟนดวยพระแสงของาวสิ้นพระชนม เปนภาพที่นาหดหู และสะเทือนใจอยางยิ่ง
๓.๒ โวหารภาพพจน
๓.๒.๑.) อุปมา
อุปมาคือการนําสิ่งหนึ่งมาเปรียบเทียบ
กับอีกสิ่งหนึ่ง ซึ่งโดยธรรมชาติมีสภาพ
ที่แตกตาง กันแตสามารถยกเอา
ลักษณะเดนมาเปรียบเทียบกัน
ผูประพันธเปรียบเทียบพระนเรศวรวามี
ฤทธิ์เหมือนกับพระรามที่ตอสูกับทศ
กัณฐลงมาอวตารเปนพระองคและ
ขาศึกศัตรูทั้งหลายก็ถูกเปรียบเปน
เหลายักษ
๓.๒.๒) อุปลักษณ
อุปลักษณ คือการกลาววาสิ่งหนึ่งเปนอีกสิ่งหนึ่ง ซึ่งยึดเอา
ลักษณะเดนของสิ่งเหลานั้นมา โดยไมตองมีคําเชื่อม หรือคําแสดง
การเปรียบเทียบ ในบางกรณีสามารถใชคําวา “เปน” หรือ “คือ”
เปนการเปรียบที่อาจไมใชวิธีการกลาวโดยตรง แตอธิบายใน
ลักษณะของความหมายโดยนัยน
ผูประพันธเปรียบเทียบนานนํ้าเปนกองทัพของพมา โดยอธิบายนํ้าที่ไหลเชี่ยวอยางรวดเร็ว
เหมือนกับการเคลื่อนทัพ นอกจากนั้นยังแสดงใหเห็นวา ปริมาณของนํ้านั้นมีมากมาย เปรียบได
กับจํานวนคนที่นับไมถวนในศึกสงคราม
๓.๒.๓) อติพจน : คือการกลาวเกินจริงเพื่อเนนยํ้าถอยคํา ความคิด หรือความรูสึกของผู
กลาว ไมจําเปนตองเปนความจริงก็ได เพราะจุดประสงคหลักคือ การทําใหผูอานเกิดความ
ซาบซึ้ง ประทับใจ และเขาถึงอารมณตามที่ผูประพันธตองการ ตัวอยางเชน

เปนบทรําพึงของพระมหาอุปราชซึ่งกลาวถึงพระคุณของพระราชบิดาโดยเปรียบวามีมากกวา
ความกวางใหญของแผนดิน ยิ่งใหญกวาสวรรคชั้นฟา และโลกบาดาลทั้งหมดทั้งปวง เพื่อแสดงถึง
ปริมาณที่มากมายเหลือลน เกินคําบรรยาย
๓.๒.๔) สัทพจน
สัทธพจน คือโวหารภาพพจนอยางหนึ่ง ซึ่งนําตัวสะกดมาเขียนเลียนเสียงธรรมชาติ ตาม
รูปแบบทางสัทศาสตรของแหลงกําเนิด อาจเปนไดทั้งเสียงสภาพแวดลอม เสียงสัตว เสียง
ดนตรี หรือ เสียงอากัปกิริยาของมนุษย ตัวอยางเชน

เรงคํารนเรียกมัน ชันหูชูหางแลน แปรนแปรแลคะไขว

ผูประพันธนําเอาเสียงรองตามธรรมชาติของชางมาใสในคําประพันธ ซึ่งคือคําวา “แปรนแปร”


เพื่อใหผูอานนึก ไดยิน และสัมผัสบรรยากาศอยางที่เรื่องไดดําเนินอยูในบทประพันธ
การอานและพิจารณาประโยชนหรือคุณคาในวรรณคดีและวรรณกรรม

● คุณคาทางดานคุณธรรม
○ ๒.๑ แสดงถึงความซื่อสัตย
○ ๒.๒ คนชางสังเกตและมีไหวพริบ
○ ๒.๓ความรอบคอบและไมประมาท
● คุณคาทางดานอารมณ
○ ๑.๑ อารมณเจ็บปวดใจ
○ ๑.๒ อารมณสะเทือนใจ
○ ๑.๓ อารมณโศกเศรา
● ๓. คุณคาทางดานอื่นๆ
○ ๓.๑ คุณคาทางดานประวัติศาสตร
○ ๓.๒ คุณคาทางดานปญญา
คุณคาทางดานคุณธรรม
○ ๒.๑ แสดงถึงความซื่อสัตย
■ เนื้อหาจงรักภักดีตอประเทศชาติและไมเคย
ทรยศ
■ ประเทศชาติเปนปกแผนและสามัคคี
○ ๒.๒ คนชางสังเกตและมีไหวพริบ
■ ใชไหวพริบในการสังเกตุฉัตร5ชั้นของพระมหา
อุปราชา
■ ไดชิงทารบยุทธหัตถี
○ ๒.๓ ความรอบคอบและไมประมาท
■ พระนเรศวรทรงสั่งพลทหารใหทําลายสะพาน
■ เชลยทั้งหมดจะตกเปนของไทยทั้งหมด
คุณคาทางดานอารมณ
○ ๑.๑ อารมณอารมณเจ็บปวด
■ พระเจาหงสาวดี
ประชดประชันพระมหาอุป
ราชา
■ เพราะถูกหามใหออกรบ
เนื่องจากการทํานาย
○ ๑.๒ อารมณสะเทือนใจ
■ พระมหาอุปราชาไดสั่งลานาง
สนมดวยความอาลัยอาวรณ
○ ๑.๓ อารมณโศกเศรา
■ พระมหาอุปราชาไดครั่าครวญ
ถึงนางอันเปนที่รัก
คุณคาทางดานอื่นๆ
○ ๓.๑ คุณคาทางดานประวัติศาสตร
■ อางอิงจากประวัติศาสตร
■ เปนความจริงตามเอกสาร
■ ถายทอกจากรุนสูรุน
○ ๓.๒ คุณคาทางดานปญญา
■ ไดรับความรูรอบตัว
■ เรียนรูประวัติศาสตรของไทย
บรรณานุกรม
http://hiyorichann.blogspot.com/2015/01/blog-post.html

http://www.w-nikro.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538980101

http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/chapter5-11.html

https://alilit.wordpress.com/category/06-%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD
%E0%B8%87%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%AD/

https://sites.google.com/a/htp.ac.th/lilitalangpai/9-bth-wikheraah/8-1-dan-neuxha
บรรณานุกรม
https://alilit.wordpress.com/category/04-%E0%B9%81%E0%B8%99%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%B3
%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%A3-%E0%B8%
9D%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2/

https://alilit.wordpress.com/category/05-%E0%B9%81%E0%B8%99%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%B3
%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%A3-%E0%B8%
9D%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%9E%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%B2/

https://alilit.wordpress.com/category/10-%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B8%A3
%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%8
9%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8
%A3/

You might also like