You are on page 1of 20

ศูนยพัฒนาการคาและธุรกิจไทย ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

สํานักงานสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ เวียงจันทน, สปป.ลาว.

ขอมูลพื้นฐาน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว)


(The Lao People's Democratic Republic or Lao PDR)

1. ลักษณะภูมปิ ระเทศ
ประเทศลาวเปนประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตซึ่งตั้งอยูบนใจกลางของคาบสมุทรอินโดจีน
ระหวางละติจดู ที่ 14 - 23 องศาเหนือลองติจูดที่ 100 - 108 องศาตะวันออกมีพื้นที่โดยรวมประมาณ 236,800 ตาราง
กิโลเมตรแบงเปนพื้นดิน 230,800 ตารางกิโลเมตรพื้นน้ํา 6,000 ตารางกิโลเมตร
ลาวเปนประเทศที่ไมมีทางออกสูทะเล เนื่องดวยตลอดแนว
ชายแดนของประเทศลาวซึ่งมีความยาวรวม 5,083 กิโลเมตรลอมรอบ
ดวยชายแดนของประเทศเพื่อนบาน 5 ประเทศดังนี้
- ประเทศจีน ทางดานทิศเหนือ (423 กิโลเมตร)
- ประเทศไทย ทางดานทิศใตและทิศตะวันตก
(1,810 กิโลเมตร)
- ประเทศกัมพูชา ทางดานทิศใต (541 กิโลเมตร)
- ประเทศเวียดนาม ทางดานทิศตะวันออก
(2,130 กิโลเมตร)
- ประเทศพมา ทางดานทิศตะวันตก (236 กิโลเมตร)
ความยาวพื้นที่ประเทศลาวตัง้ แตเหนือจรดใตยาวประมาณ
1,700 กิโลเมตร สวนที่กวางที่สุดกวาง 500 กิโลเมตรและที่แคบที่สุด
140 กิโลเมตรภูมิประเทศของลาวอาจแบบไดเปน 3 เขตคือ
- เขตภูเขาสูง เปนพื้นที่ที่สูงกวาระดับน้ําทะเลโดยเฉลี่ย 1,500 เมตรขึ้นไปพื้นที่นี้อยูในเขตภาคเหนือของ
ประเทศ
- เขตทีร่ าบสูง คือพื้นที่ซึ่งสูงกวาระดับน้ําทะเลเฉลี่ย 1,000 เมตรปรากฏตั้งแตทางทิศตะวันออกเฉียงใต
ของที่ราบสูงเมืองพวนไปจนถึงชายแดนกัมพูชาเขต ประกอบไปดวยที่ราบสูงขนาดใหญ3
แหงไดแก ที่ราบสูงเมืองพวน(แขวงเชียงขวาง), ที่ราบสูงนากาย (แขวงคํามวน) และที่ราบ
สูงบริเวณ(ภาคใต)
- เขตทีร่ าบลุม เปนเขตที่ราบตามแนวฝงแมน้ําโขงและแมน้ําตางๆ เปนพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณมาก
ศูนยพัฒนาการคาและธุรกิจไทย ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
สํานักงานสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ เวียงจันทน, สปป.ลาว.

ที่สุดในเขตพื้นที่ทั้ง 3 เขต นับเปนพื้นที่อูขาวอูน้ําที่สําคัญของประเทศแนวที่ราบลุมเหลานี้


เริ่มปรากฏตั้งแตบริเวณตอนใตของแมน้ํางึมเรียกวาที่ราบลุมเวียงจันทนผานที่ราบลุม
สะหวันนะเขตซึ่งอยูตอนใตเซบั้งไฟและเซบั้งเหียงและที่ราบจําปาสักทางภาคใตของลาวซึ่ง
ปรากฏตามแนวแมน้ําโขงเรื่อยไปจนจรดชายแดนประเทศกัมพูชา
ทั้งนี้เมื่อนําเอาพื้นที่ของเขตภูเขาสูงและเขตที่ราบสูงมารวมกันแลวจะมากถึง 3 ใน 4 ของพื้นที่ประเทศลาว
ทั้งหมดโดยจุดที่สูงที่สุดของประเทศลาวอยูที่ภูเบี้ยในแขวงเชียงขวางวัดความสูงได 2,817 เมตร

2. สภาพภูมิอากาศ
สปป.ลาวอยูในภูมิอากาศเขตรอนมีลมมรสุมแตไมมีลมพายุสําหรับเขตภูเขาภาคเหนือและเขตเทือกเขา มี
ลักษณะอากาศกึ่งรอนกึ่งหนาวอุณหภูมิสะสมเฉลี่ยประจําปสูงถึง 15-30 องศาเซลเซียสและมีความแตกตางของ
อุณหภูมิระหวางกลางวันและกลางคืนมีประมาณ 10 องศาเซลเซียส
จํานวนชั่วโมงที่มีแสงแดดตอปประมาณ 2,300 - 2,400 ชั่วโมง (ประมาณ 6.3 - 6.5 ชั่วโมงตอวัน) ความชื้น
สัมพัทธของอากาศมีประมาณรอยละ 70 - 85 ปริมาณน้ําฝนในฤดูฝน (ตั้งแตเดือนพฤษภาคม - ตุลาคม) มีรอยละ 75 -
90 สวนในฤดูแลง (ตั้งแต เดือนพฤศจิกายน - เมษายน) ปริมาณน้ําฝนมีเพียงรอยละ 10 - 25 และปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย
ตอปของแตเขตก็แตกตางกันอยางมากเชนเขตเทือกเขาบริเวณทางใตไดรับน้ําฝนเฉลี่ยปละ300เซนติเมตร เปนตน
อุณหภูมิเฉลี่ยที่นครหลวงเวียงจันทน 25 องศาเซลเซียส (ม.ค.) และ 36-37 องศาเซลเซียส (เม.ย.) ปริมาณฝน
เฉลี่ย 171.5 เซนติเมตรตอป ขณะที่บริเวณแขวงเชียงขวางแขวงหลวงพะบาง และแขวงไซยะบุลี มีปริมาณฝนเฉลี่ย
เพียง 100 - 150 เซนติเมตร สวนแขวงสะหวันนะเขตในชวงเดียวกันนั้น ไดรับปริมาณน้ําฝน 150 - 200 เซนติเมตร
เชนเดียวกับแขวงพงสาลีแขวงหลวงน้ําทาและแขวงบอแกว

3. เมืองหลวง / เมืองสาคัญและเมืองทา
3.1 เมืองหลวง
นครหลวงเวียงจันทน (Vientaine Capital) เปนนครหลวงของประเทศและเปนเขตการปกครองพิเศษเรียกวา
นครหลวงเวียงจันทนมีลักษณะการปกครองคลายกับกรุงเทพมหานครอยูทางตอนกลางของประเทศลาว มีเมืองเอก
คือจันทะบุลีมีเขตติดตอชายแดนกับประเทศไทยที่จังหวัดหนองคายของ ผานสะพานมิตรภาพไทย -ลาวแหงที่ 1 โดย
แขวงนครหลวงเวียงจันทนเปนแขวงที่เจริญที่สุดใน 17 แขวงของประเทศลาว
เขตปกครองนี้กอตั้งเมื่อพ.ศ. 2532 โดยแยกออกมาจากแขวงเวียงจันทน โดยแตเดิมชื่อ "กําแพง นคร
เวียงจันทน" กอนจะเปลี่ยนชื่อเปน "นครหลวงเวียงจันทน" มีประชากรประมาณ 797,130 คน ซึ่งสมัยอาณาจักรลาน
ชางเวียงจันทนมีชื่อวา “จันทบุรีกรุงศรีสัตนาคณหุต” โดยพระไชยเชษฐาธิราชสถาปนาใหเปนนครหลวงแหง
อาณาจักรลานชางในราวพ.ศ. 2107 โดยมีเมืองตางๆ ดังนี้
ศูนยพัฒนาการคาและธุรกิจไทย ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
สํานักงานสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ เวียงจันทน, สปป.ลาว.

จันทะบูลี (จันทบุรี),สีโคดตะบอง (ศรีโคตรตระบอง) , ไซเสดถา (ไชยเศษฐา),สีสัดตะนาก(ศรีสัตนาค),หาด


ซายฟอง (หาดทรายฟอง),ไชทานี (ชัยธานี), ปากงื่ม (ปากงึ่ม),สังทอง (สังขทอง) และนาชายทอง (นาทรายทอง)
นอกจากนี้นครหลวงเวียงจันทรยังมีแหลงทองเที่ยวสําคัญ อาทิ หอพระแกวประตูชัยและพระธาตุหลวง เปนตน
3.2 เมืองสาคัญและเมืองทา
3.2.1 แขวงสะหวันนะเขต เปนแขวงใหญอันดับที่ 1 ของประเทศลาวมีประชากรมากที่สุดในประเทศอยูตรง
ขามจังหวัดมุกดาหาร ประชากร 937,907 คน เปนหนึ่งในแขวงของประเทศลาวที่
ตั้งอยูตอนกลางคอนไปทางใตของประเทศ โดยทิ ศตะวันออกติ ดกับประเทศ
เวียดนามทิศตะวันตกติดกับประเทศไทยทิศเหนือติดกับแขวงคํามวนทิศใตติดกับ
แขวงสาละวัน
เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2549 ไดมีพิธีเปดสะพานมิตรภาพไทย -ลาวแหงที่ 2
สะหวันนะเขต- มุกดาหารอยางเปนทางการซึ่งสะพานนี้เปนเสนทางเชื่อม
ตะวันออก-ตะวันตกจากเวียดนามถึงพมาทาใหแขวง สะหวันนะเขตกลายเปน
เสนทางการคาที่สําคัญอีกแหงของลาวรัฐบาลลาวไดประกาศจัดตั้งเขตเศรษฐกิจ
พิเศษสะหวัน-เซโน ขึ้นเพื่อเปนการสงเสริมการลงทุนในรูปแบบพิเศษ
3.2.2 แขวงจําปาสัก มีประชากรมากเปนอันดับสามมีพื้นที่ติดตอกับจังหวัดอุบลราชธานีประชากร670,122 คน
ตั้งอยูทางตอนใตสุดของประเทศ ติดชายแดนประเทศไทยและกัมพูชา มีเมือง
ปากเซเปนเมืองหลัก และเปนเมืองใหญอันดับ 3 ของลาว (รองจากเวียงจันทน
และเมืองไกสอนพมวิหาน) ถือวาเปนศูนยกลางการเมืองการปกครองและ
เศรษฐกิจ รวมไปถึงการทองเที่ยวของลาวตอนใต เปนบริเวณที่มีความอุดม
สมบูรณเนื่องจากมีแมนา้ํ โขงไหลผานกลางและเกิดเกาะแกงเปนจํานวนมากจน
ไดชื่อวา "ดินแดนสี่พันดอน"
แขวงจําปาศักดิ์เปนพื้นที่ที่มีความสําคัญทางประวัติศาสตรมาตั้งแตสมัย
โบราณเนื่องจากเปนพื้นที่ภายใตอิทธิพลของอาณาจักรขอมโบราณและเปน
ที่ตั้งของอาณาจักรจําปาสักซึ่งเปนสวนหนึ่งของอาณาจักรลานชางในเวลาตอมา
แขวงจํา ปาศักดิ์จึ งมี มรดกทางวัฒนธรรมหลงเหลืออยู มากมายถือเปนแหลงทองเที่ยวที่ สํา คัญ ของประเทศลาว
โดยเฉพาะมรดกโลกปราสาทหินวัดพูนอกจากนี้แขวงจําปาศักดิ์ยังมีแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติที่มีชื่อเสียงเปน
จํานวนมากเชนน้ําตกคอนพะเพ็งน้ําตกหลี่ผีน้ําตกผาสวมน้ําตกตาดฟานเปนตน
3.2.3 แขวงคํามวน มีประชากร 390,701 คนและมีปาไมและแรธาตุอุดมสมบูรณอยูตรงขามจังหวัดนครพนม
ประกอบดวยหลายชนชาติดํารงชีวิตอยูรวมกันมีชายแดนติดกับแขวงบอริคําไชยแขวงสะหวันนะเขตประเทศไทย
และ ประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามแขวงคํามวนเปนเขตที่มีความอุดมสมบูรณทางดานธรรมชาติและ
ศูนยพัฒนาการคาและธุรกิจไทย ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
สํานักงานสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ เวียงจันทน, สปป.ลาว.

ศิลปะวัฒนธรรมซึ่งเปนมรดกสืบทอดมาแตดึกดําบรรพจนถึงปจจุบัน
เมื่อถึงวันเพ็ญเดือนสามของทุกๆ ป ชาวเมืองนี้ไดตอนรับแขกบานแขกเมืองที่พากันมาทําบุญนมัสการพระ
ธาตุสีโคตรบองในแตละปดวยไมตรีจิตมิตรภาพซึ่งสรางความประทับใจและความดึงดูดใจใหแกผูที่มาเยี่ยมเยือน
ไมใหหลงลืมที่นี่ได ทั้งนี้ พระธาตุสีโคตรบองอยูไมไกลจากตัวเมืองทาแขก
เทาใดนัก โดยเดินทางลงทางใตตามเสนทางไปเมืองหนองบกประมาณ 6
กิโลเมตรก็จะถึง
พระธาตุสีโคตรบองเปนปูชนียสถานที่สําคัญแหงหนึ่งของ สปป.ลาว
สรางขึ้นในสมัยสีโคตรบองเรืองอํานาจโดยพระสุมินทะราชหรือสุมิตตะธรรม
วงศสาอะทิราช แหงราชอาณาจักรสีโคตรบอง (ประมาณศตวรรษที่ 6) เพื่อเปน
อนุสาวรียพระยาสีโคตรบองกษัตริยนครสีโคตตะบุระ ประกอบกับไดรับ
คําแนะนําของพระเถระผูทรงคุณวุฒิที่เดินทางมาเผยแพรพระพุทธศานาใน
อาณาจักรสีโคตรบองทั้งหลายเนื่องจากที่แหงนี้เคยเปนที่ประดิษฐานพระสารีริกธาตุของพระพุทธเจาทั้ง 4 คือ พระ
กะกุสันโทพระโกนาคะมะโนพระกัดสะโบและพระโคตะโมเจาสุมินทะราชจึงไดลงมือกอสรางพระธาตุสีโคตร
ตะบองขึ้นและไดเอาสารีริกธาตุบรรจุไว
ดินแดนแหงนี้นอกจากจะอุดมมั่งมีทางดานศิลปวัฒนธรรมแลวยังอุดมสมบูรณดวยธรรมชาติที่สวยสดงดงาม
และมีหลายๆ แหงเปนแหลงทองเที่ยวที่นาสนใจของชาวลาวและชาวตางชาติเชนทาฝรั่ง, ถ้ําเชียงเลียบ, ถ้ําพระ,
บานถ้ํา,ถ้ํานางแอนฯลฯ
3.3.4 แขวงหลวงพระบาง เปนเมืองหลวงเกาเปนเมืองมรดกโลก และมีเมืองหลวงพระบาง เปนเมืองทองเที่ยว
ที่มีชื่อเสียง มีพื้นที่ทั้งหมด 16,875 ตารางกิโลเมตร อยูทางภาคเหนือของ
ประเทศ ตั้งอยูริมแมน้ําโขงและแมน้ําคานซึ่งไหลมาบรรจบกัน และมีเมืองเอก
ซึ่งเปนเมืองที่องคการยูเนสโกไดยกยองใหเปนมรดกโลกดวย
แขวงหลวงพระบางมีประชากรประมาณ 463,485 คน ทางทิศเหนือติด
กับแขวงพงสาลี แขวงอุดมไชย และ แขวงหลวงน้ําทา ทิศตะวันออกติดกับ
แขวงหัวพัน และเวียดนามทิศตะวันตกติดกับแขวงไชยะบุรี และทิศใตติดกับ
แขวงเชียงขวาง แขวงเวียงจันทน
เมืองหลวงพระบางไดรับการ ประกาศใหเปนเมืองมรดกโลกในป 2541
จากองคการยูเนสโก ซึ่งทําใหแขวงหลวงพระบางเปนที่รูจักแพรหลายทั่วโลกเกี่ยวกับการอนุรักษโบราณสถานและ
ประเพณีวัฒนธรรม โดยมีวัดเกาแกที่สําคัญ พระราชวังของเจามหาชีวิต และสิ่งปลูกสรางที่สําคัญทางประวัตศิ าสตร
อื่นๆ รวมทั้งธรรมชาติสิ่งแวดลอมที่งดงามควรคาแกการอนุรักษใหคงไว
ศูนยพัฒนาการคาและธุรกิจไทย ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
สํานักงานสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ เวียงจันทน, สปป.ลาว.

4. การปกครอง และการแบงเขตการปกครอง
สปป.ลาว แบงเขตการปกครองเปน 16 แขวงและ 1 เขตปกครองพิเศษ (นครหลวงเวียงจันทน) แขวงตางๆ
ประกอบดวย เซกอง อัตตะปอสาละวัน จําปาสัก สะหวันนะเขต คํามวน บอลิคําไซ เวียงจันทน ไชยะบุลี หลวงพระ
บาง เชียงขวาง หัวพัน พงสาลี อุดมไช หลวงน้ําทา และ บอแกว

5. ระบบการปกครอง
การเมืองของสปป.ลาวมีเสถียรภาพเนื่องจากปกครองดวยระบบสังคมนิยม สปป.ลาวเริ่มปกครองในระบอบ
สังคมนิยมเมื่อวันที่ 2 ธ.ค. 2518 โดยมีพรรคปฏิวัติประชาชนลาว (The Lao People’s Revolutionary Party: LPRP)
เปนพรรคการเมืองที่บริหารประเทศเพียงพรรคเดียวมาโดยตลอด และคาดวาจะยังคงรักษาอํานาจทางการเมืองใน
สปป.ลาวไดตอไป
เดือนมีนาคมป 2554 สปป.ลาวมีการประชุมใหญสมัชชาครั้งที่ 9 ของพรรคฯและมีการคัดเลือกคณะผูบริหาร
พรรคและเปลี่ยนแปลงตําแหนงทางการเมืองชุดใหม (คณะกรรมการกรมการเมืองและคณะกรรมการศูนยกลาง
พรรค) ซึ่งกําหนดจัดขึ้นทุก 5 ปตามรอบการประชุมใหญสมัชชาพรรคประชาชนปฏิวัติลาว

สถาบันการเมืองที่สําคัญ : พรรคประชาชนปฏิวัติลาว
: สภารัฐมนตรี (พรรคฯแตงตั้งคณะรัฐมนตรี)
: สภาแหงชาติ (ประชาชนเลือกสมาชิกสภาแหงชาติจากผูที่พรรคฯเสนอ)
รัฐธรรมนูญและกฎหมาย : สปป.ลาวประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับแรกเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2534 เดิม
กฎหมายอยูในรูปของคําสั่งฝายบริหารคือระเบียบคําสั่งของพรรคและสภา
รัฐมนตรี
วันชาติ : 2 ธันวาคม

บุคคลสาคัญ:
ประธานพรรคและประธานประเทศ : ฯพณฯ พลโทจูมมะลี ไซยะสอน
รองประธานประเทศ : ฯพณฯ พันเอกบุนยัง วอละจิด
นายกรัฐมนตรี : ฯพณฯ ทองสิง ทํามะวง
ประธานสภาแหงชาติ : ฯพณฯ ปานี ยาทอตู
รองนายกรัฐมนตรี : ฯพณฯ พล.ต. อาชาง ลาวลี
: ฯพณฯ ดร.ทองลุน สีสุลิด
: ฯพณฯ พล.ท. ดวงใจ พิจิต
ศูนยพัฒนาการคาและธุรกิจไทย ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
สํานักงานสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ เวียงจันทน, สปป.ลาว.

: ฯพณฯ สมสะหวาด เลงสะหวัด


รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ : ฯพณฯ ดร.ทองลุน สีสุลิด
รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรมและการคา : ฯพณฯ ดร. นาม วิยะเกด
รัฐมนตรีวาการกระทรวงแผนการและการลงทุน : ฯพณฯ สมดี ดวงดี
เอกอัครราชทูตไทยประจําสปป.ลาว : นายพิษณุ จันทรวิทัน
เอกอัครราชทูตลาวประจําประเทศไทย : นายอวน พมมะจัก
ทูตพาณิชยไทย : นางพิมล ปงกองแกว
ทูตพาณิชยลาว : นางขันราสี แกวบุนพัน

6. ประชากร/สังคม/วัฒนธรรม
6.1 ประชากร
สปป. ลาว มีประชากรประมาณ 6.51 ลานคน (2555) รวมประมาณ 49 ชนเผา แบงออกเปน ลาวลุม (กลุมคน
เชื้อชาติลาวใชภาษาลาวเปนภาษาหลัก) ลาวเทิง (เชนชนเผาขมุ) และ ลาวสูง (เชนชนเผามง)
โครงสรางประชากรแยกตามกลุมอายุ
วัย ชวงอายุ หญิง ชาย รวม
กอนวัยเรียน 0 - 4 ป 460,970 479,591 940,564
วัยเด็ก <15 ป 1,194,334 1,226,313 2,420,650
วัยเรียน 6 - 24 ป 1,432,299 1,466,860 2,899,159
วัยแรงงาน 15 - 64 ป 1,936,227 1,917,222 3,853,449
วัยสูงอายุ 65 ปขึ้นไป 129,416 110,917 240,333
ที่มา : รายงานสถิติประจําป 2012, ศูนยสถิติแหงชาติกระทรวงแผนการและการลงทุน

ทั้งนี้ จากจํานวนประชากรในวัยแรงงาน (15-64 ป) ราว 3.85 ลานคน ศูนยสถิติแหงชาติ สปป.ลาว คาดวา จะ
มีผูอยูในตลาดแรงงานราว 3.2 ลานคน แบงออกเปนภาคกสิกรรมรอยละ 68.44 ภาคอุตสาหกรรมราวรอยละ 9.33
และอยูในภาคบริการ ราวรอยละ 22.23
6.2 สังคม
ชาวลาวสวนใหญนับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาทซึ่งเปน
ศาสนาประจําชาติ (รอยละ 60 ของชาวลาว ทั้งหมด) ควบคูไป
กับลัทธินับถือผีบรรพบุรุษของชนชาติสวนนอยในแถบภูเขาสูง
สวนชาวลาวทีน่ ับถือศาสนาคริสตและศาสนาอิสลามมีจาํ นวนที่
ศูนยพัฒนาการคาและธุรกิจไทย ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
สํานักงานสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ เวียงจันทน, สปป.ลาว.

คอนขางนอยมาก โดยศาสนาคริสตสวนมากจะมีผูนับถือเปนกลุมชาวเวียดนามอพยพ และชาวลาวเชื้อสายเวียดนาม


สวนศาสนาอิสลามพบวามีการนับถือในหมูชนชาติสวนนอยจีนฮอที่อาศัยตามชายแดนดานติดกับประเทศพมา และ
มีชุมชนมุสลิมที่มีเชื้อสายเอเชียใตและจามในเวียงจันทน
6.3 วัฒนธรรม
ลาวมีวัฒนธรรมคลายคลึงกับคนภาคอีสานของไทย ดังคํา
กลาวที่วา “มีลาวอยูแหงใดมีมัดหมี่ แลลายจกอยูที่นั้น” โดย
อารยธรรมเกาแกของลาวนั้นมีปรากฏจากหลักฐานดาน
โบราณคดียุคหิน ที่ทุงไหหินในแขวงเชียงขวาง
สําหรับการแตงกายที่เปนเอกลักษณอยางหนึ่งของลาวคือ
ผูหญิงนุงผาซิ่น (ผาถุง) อาหารของคนลาวจะทานขาวเหนียว
เปนหลัก อาหารที่เปนเอกลักษณคือ แจว สมตํา ไกยาง เปนตน ทุงไหหิน แขวงเชียงขวาง
ในดานดนตรี ลาวมีแคนเปนเครื่องดนตรีประจําชาติ มี
หมอขับหมอลําลาว โดยทวงทํานองของการขับลําจะแตกตาง
กันไปตามทองถิ่นทางภาคเหนือเรียกวาขับภาคใตจากบอลิคําไซ
ลงไปเรียกวาลําเชนขับงึมเวียงจันทนขับพวนเชียงขวงลําสาละ
วันของแขวงสาละวันลําภูไทลําตังหวายลําคอนสะหวันลําบาน
ซอกของแขวงสะหวันนะเขตขับโสมลําสีพันดอนของแขวง
จําปาสักลํามะหาไซของแขวงคํามวนขับทุมของแขวงหลวงพระ
บางขับลื้อ ของชาวลื้อเปนตน
ดานพุทธศาสนานิกายเถรวาท นับเปนแบบแผนหลักของ
พระธาตุหลวงเวียงจันทน สัญญลักษณของชาติลาว
วัฒนธรรมลาว ซึ่งปรากฏใหเห็นทั่วประเทศทั้งในดานภาษาและ
ศิลปะวรรณคดีศิลปะการแสดง ฯลฯ ประเพณีทางพระพุทธศาสนาและอื่นๆ เชนวันมาฆบูชา วันสงกรานต วันออก
พรรษา บุญขาวประดับดิน บุญเขาฉลาก บุญสวงเฮือ (แขงเรือ) บุญธาตุหลวงเวียงจันทนในเดือน 12 เปนตน

7. ภาษา
ภาษาราชการ : ภาษาลาว
ภาษาทีใ่ ชในการติดตอธุรกิจ : ภาษาไทย อังกฤษ และ ฝรั่งเศส
ภาษาทองถิ่นอื่นๆ : ไดแก ภาษาไท ภาษามง
ศูนยพัฒนาการคาและธุรกิจไทย ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
สํานักงานสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ เวียงจันทน, สปป.ลาว.

8. สกุลเงิน

อัตราแลกเปลี่ยนเงิน กีบ-บาท อัตราแลกเปลี่ยนเงิน กีบ-ดอลลาร


เฉลี่ยรายป ระหวางป 2548 - 2555 เฉลี่ยรายป ระหวางป 2548 ‐ 2555
280.00 11,100.00
275.00 10,600.00
270.00 10,100.00
265.00 9,600.00
260.00 9,100.00
255.00 8,600.00
257.57  8,011.42 
250.00 8,100.00
245.00 7,600.00
2548

2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2548

2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555
กราฟแสดงอัตราแลกเปลี่ยน เฉลี่ยรายป ระหวางป 2548 – 2555 (ที่มา : ศูนยสถิติแหงชาติ กระทรวงแผนการและการลงทุน สปป.ลาว)

สปป.ลาว มีสกุลเงิน “กีบ” โดยอัตราแลกเปลี่ยน (อัตราซื้อ) ในป 2555 อยูในชวงประมาณ 253 - 261 กีบ ตอ 1
บาท หรือ 7,890 - 8,003 กีบ ตอ 1 เหรียญสหรัฐฯ อยางไรก็ดี ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ยเงินกีบตอเงิน
บาทมีมากกวาดอลลาร โดยลาสุด จากสภาวะผันผวนของคาเงินบาทในป 2556 ทําใหอัตราแลกเปลี่ยนเงินกีบ/บาท
ระหวางเดือน มกราคม – กันยายน 2556 มีความผันผวนตามไปดวย โดยอัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ยสูงสุดอยูในเดือน
มกราคม ที่ 264.27 กีบ/บาท หรือ 7,944.69 กีบ/ดอลลาร และอัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ยต่ําสุด สําหรับเงินบาท คือเดือน
สิงหาคม ที่ 248.53 กีบ/บาท ขณะที่เงินดอลลารมีอัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ยตําสุด ในเดือนพฤษภาคม ที่ 7,654.09 กีบ/
ดอลลาร ทั้งนี้ อัตราแลกเปลี่ยนเมื่อวันที่ 6 กันยายน 2556 อยูที่ 242.9 กีบ/บาท หรือ 7,848 กีบ/ดอลลาร

อัตราแลกเปลี่ยนเงิน กีบ-ดอลลาร ป 2556 อัตราแลกเปลี่ยนเงิน กีบ-ดอลลาร ป 2556


เฉลี่ยรายเดือน (ม.ค. - ส.ค.) เฉลี่ยรายเดือน (ม.ค. - ส.ค.) 
8,000 270
7,900 265
7,796.38  260
7,800
255
7,700 250 248.53 

7,600 245
มกราคม

มกราคม
มีนาคม

พฤษภาคม

กรกฎาคม

สิงหาคม

มีนาคม

พฤษภาคม

กรกฎาคม

สิงหาคม
กุมภาพันธ

กุมภาพันธ
เมษายน

มิถุนายน

เมษายน

มิถุนายน

กราฟแสดงอัตราแลกเปลี่ยน เฉลี่ยรายป ระหวางป 2548 – 2555 (ที่มา : ธนาคารแหง สปป.ลาว)

อยางไรก็ตาม จากการที่กรมนโยบายเงินตรา ออกประกาศเรื่องการซื้อ-ขายเงินตราตางประเทศ กับกรมบริการ


ศูนยพัฒนาการคาและธุรกิจไทย ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
สํานักงานสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ เวียงจันทน, สปป.ลาว.

ทหล. เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2556 มีผลใหไมสามารถแลกเปลี่ยนเงินสกุลกีบไปเปนเงินสกุลตางชาติใดๆ ได แตยังคง


แลกเปลี่ยนเงินสกุลตางชาติเปนเงินกีบไดตามปกติ

9. เวลา
สปป.ลาว ใช Time Zone เดียวกันกับประเทศไทย คือ GMT +07:00

10. วันหยุดนักขัตฤกษ วันหยุดราชการ


1 มกราคม วันปใหมสากล 1 มิถุนายน วันเด็ก
20 มกราคม วันสราง-ตั้งกองทัพประชนลาว 15 สิงหาคม วันรัฐธรรมนูญ
22 มกราคม วันสราง-ตั้งพรรคประชาชนปฏิวัติลาว 7 ตุลาคม วันครูแหงชาติ
8 มีนาคม วันแมหญิง (วันสตรีสากล) 12 ตุลาคม วันประกาศเอกราช
14-16 เมษายน วันขึ้นปใหม (วันสงกรานต) 2 ธันวาคม วันชาติ (วันแตงตั้งสปป.ลาว)
1 พฤษภาคม วันกรรมกร (วันแรงงานสากล)

วัน-เวลาทํางาน
ราชการ : จันทร - ศุกร ระหวางเวลา 8.00 - 12.00 น. และ 13.00 - 16.00 น.
ธุรกิจ : จันทร - ศุกร ระหวางเวลา 8.00 - 12.00 น. และ 13.00 - 17.00 น.
ธนาคาร : จันทร - ศุกร ระหวางเวลา 8.30 - 15.30 น.

11. การคมนาคม และการขนสงสินคา ระหวางไทย กับ สปป.ลาว


เสนทางคมนาคมใน สปป.ลาว มีการปรับปรุงอยางตอเนื่อง ทั้งการซอมบํารุงและการยกระดับถนนจากถนน
ดินลูกรัง เปนถนนราดยางหรือถนนคอนกรีด โดยปจจุบัน ทั่วประเทศ สปป.ลาว มีถนนรวมทั้งหมดเปนระยะทาง
กวา 43,601.30 กิโลเมตร1 เพิ่มขึ้นจากป 2554 ราว 2,558.46 กิโลเมตร แบงออกเปน ถนนคอนกรีต 158.76 กิโลเมตร
ถนนแอสฟลตคอนกรีต 704.31 กิโลเมตร และถนนอื่นๆ (ถนนลาดยาง ถนนหินลูกรัง ถนนดิน) รวมกันอีกราว
42,738.23 กิโลเมตร
11.1 เสนทางขนสงสินคาที่สําคัญ
เมืองใหญๆ ซึ่งเปนจุดการคาที่สาํ คัญของลาว ไดแก นครหลวงเวียงจันทน สะหวันนะเขต จําปาสัก และหลวง

1
ขอมูลป 2555 โดยกรมขัวทาง กระทรวงโยธาธิการ และขนสง สปป.ลาว
ศูนยพัฒนาการคาและธุรกิจไทย ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
สํานักงานสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ เวียงจันทน, สปป.ลาว.

พระบาง เนื่องจากเปนเมืองที่มีประชากรอาศัยอยูมากและเปนเมืองสําคัญทางเศรษฐกิจของลาว โดยเสนทางการ


คมนาคมและขนสงในประเทศที่มีความสําคัญ ในการสงสินคาจากประเทศไทยไปยัง สปป.ลาว ประกอบดวย 6
เสนทาง ดังนี้
เสนทางหมายเลข 3 (R3A) เปนเสนทางเชื่อมโยง ประเทศไทย-สปป.ลาว-จีน เชื่อมตอจากอําเภอเชียงของ จ.
เชียงราย ขามแมน้ําโขงผานสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 4 ไปยังเมืองหวยทราย แขวงบอแกวของ สปป.ลาว ผาน
เมืองเวียงพูคา แขวงหลวงน้ําทา กอนออกไปยังจีนทางเมืองบอเต็น ตอจากนั้นจะไปยังเมืองเชียงรุง (สิบสองปนนา)
และสิ้นสุดที่เมือง
คุนหมิง มณฑลยูนาน รวมระยะทางประมาณ 947 กม.
สรุประยะทางในแตละประเทศดังนี้
 ประเทศไทย : จากอําเภอเชียงของ จ.เชียงราย ถึงดานหวยทราย เพื่อขามสะพานมิตรภาพไทย-ลาว
แหงที่ 4 รวมระยะทางประมาณ 7 กิโลเมตร (จากอําเภอเมือง จ.เชียงราย ถึงอําเภอเชียงของ ระยะทาง
ประมาณ 107 กิโลเมตร)
 สปป.ลาว : จากแขวงบอแกว สปป.ลาว ถึงบอเต็น เชื่อมตอพรมแดนจีน รวมระยะทางประมาณ 250
กิโลเมตร
 จีน : จากบอเต็น ถึงเมืองคุนหมิง มณฑลยูนาน ระยะทางประมาณ 690 กิโลเมตร

สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 4 ดานหวยทราย อ.เชียงของ จังหวัดเชียงราย


( จังหวัดเชียงราย – แขวงบอแกว )

เสนทางหมายเลข 4 (R4) เปนเสนทางเชื่อมระหวางจังหวัดเลย ถึง แขวงหลวงพระบาง โดยเริ่มตนจากอําเภอ


ทาลี่ จังหวัดเลย ผานสะพานมิตรภาพขามแมน้ําเหือง ไปยังเมืองแกนทาว แขวงไชยะบุลี แลวไปบรรจบกับเสนทาง
หมายเลข 13 (R13N) ที่เมืองเชียงเงิน แขวงหลวงพระบาง รวมระยะทางประมาณ 370 กิโลเมตร
เสนทางหมายเลข 4 นี้ตองขามแมน้ําโขงซึ่งปจจุบันการกอสรางยังไมแลวเสร็จ โดยสปป.ลาวไดรับเงินกูจาก
ศูนยพัฒนาการคาและธุรกิจไทย ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
สํานักงานสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ เวียงจันทน, สปป.ลาว.

ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาของเกาหลีใตจํานวน 18.8 ลานเหรียญสหรัฐฯ เพื่อสรางสะพานขามแมน้ําโขง


เชื่อมแขวงหลวงพระบางกับแขวงไชยะบุลี (ปากคอน-ทาเดื่อ) ความยาว 620 เมตรกวาง 10.5 เมตรและปรับปรุงถนน
จากสะพานไปเมืองเชียงเงินแขวงหลวงพระบางระยะทาง 58 กม. เปนถนนลาดยาง เสนทางนี้จะอํานวยความสะดวก
ในการเดินทางและขนสงระหวางจังหวัดเลยกับแขวงไชยะบุลี และแขวงหลวงพระบาง
นอกจากนี้ สปป.ลาว ยังมีแผนที่จะยกระดับถนนลูกรังซึ่งเชื่อมระหวางแขวงไชยะบุลี กับ หลวงพระบางอีก 1
เสน คือเสน R4B โดยอยูระหวางการสํารวจและออกแบบ ซึ่งหากแลวเสร็จ จะเปดทางคมนาคมขนสงจากไทยมายัง
สปป.ลาว เพิ่มขึ้นอีก 1 เสน คือจากบานหวยโกน อ.เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนาน ผานเขามายังเมืองเงิน และเมืองหง
สา แขวงไชยะบุลี แลวเขาแขวงหลวงพระบางที่เมืองจอมเพ็ด (R13N) ซึ่งจะวกกลับเขาเมืองหลวงพระบาง แขวง
หลวงพระบาง ไดเร็วกวาเสนทางนาน-หลวงพระบางเสนเดิมซึ่งตองผานเมืองไชยะบุลี (R4A) ไดถึง 81 กิโลเมตรเลย
ทีเดียว

สะพานมิตรภาพขามแมน้ําเหือง ( จังหวัดเลย – แขวงไชยะบุลี ) ดานสะพานมิตรภาพขามแมน้ําเหือง อ.ทาลี่ จังหวัดเลย

เสนทางหมายเลข 12 (R12) เปนเสนทางที่ตัดกับเสนทางหมายเลข 13 (R13S) และเชือ่ มตอ ประเทศไทย-


สปป.ลาว-เวียดนาม เริ่มตนจากอําเภอเมือง จังหวัดนครพนม เขาสูเมืองทาแขก แขวงคํามวน ผานเมืองมะหาไซ และ
ยมมะลาด แลวไปออกเวียดนามที่ดานนาเพา-จาโหละ (Na Pao-Cha Lo) เขาสูเสนทางหมายเลข QL12Aของ
เวียดนาม
จากจุดนี้ จะเชือ่ มตอไปยังเมืองกวางบินห (Quang Binh) แลวออกสูทะเลไปประเทศจีนและญี่ปุนไดทาง
ทาเรือหวุงอาง เมืองฮาตินห (Vung Ang Port, Ha Tinh) รวมระยะทางทัง้ หมดประมาณ 345 กิโลเมตร ซึ่งในอนาคต
จะเปนเสนทางขนสงผลไมและสินคาเกษตรเชนยางพารา ฯลฯ จากไทยถึงชายแดน สป.จีน ดวยระยะทางไมเกิน
1,000 กม.
ปจจุบัน (พ.ศ.2556) ตลอดเสนทางหมายเลข 12 เปนถนนลาดยางเรียบ ยกเวนเสนทางจากเมืองยมมะลาดถึง
กิ่วมูยา รวมระยะทางราว 91 กิโลเมตร ที่อยูระหวางการหาทุนมากอสรางเพิ่ม
ศูนยพัฒนาการคาและธุรกิจไทย ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
สํานักงานสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ เวียงจันทน, สปป.ลาว.

สรุประยะทางคมนาคมในแตละประเทศดังนี้
 ประเทศไทย : จากอําเภอเมือง จังหวัดนครพนม ถึงดานดานสะพานมิตรภาพไทยลาว แหงที่ 3 ซึ่งเปด
ใหบริการแลวตั้งแตวันที่ 11 พฤศจิกายน 2554 ขามมายังเมืองทาแขก แขวงคํามวน รวมระยะทาง
ประมาณ 8 กิโลเมตร
 สปป.ลาว : จากเมืองทาแขก แขวงคํามวน ถึงดานบานเพา รวมระยะทางประมาณ 147 กิโลเมตร
 เวียดนาม : จากดานจาโหละ ถึงทาเรือหวุงอาง เมืองฮาตินห รวมระยะทางประมาณ 190 กิโลเมตร

สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 3 ดานพรมแดน อ.เมือง จังหวัดนครพนม


( จังหวัดนครพนม - แขวงคํามวน )

เสนทางหมายเลข 9 (R9) เปนเสนทางหลักที่ทําใหสปป.ลาวมีทางออกสูทะเลทางประเทศเวียดนาม และถือวา


เปนถนนที่ สะดวกที่สุด และใกลที่สุดเพียง 6 กิโลเมตรในการขนสงสินคาจากจังหวัดมุกดาหาร เขามายังแขวง
สะหวันนะเขต และเขตเศรษฐกิจพิเศษ สะหวัน-เซโน รวมถึงเมืองตางๆ ในแขวงสะหวันนะเขต เชน วิลาบุรี เซโปน
อุดมพอน ชนบุลี เปนตน โดยจากเมืองไกสอนพมวิหานไปทางตะวันออกตามถนนหมายเลข 9 จนถึงบานแดน
สะหวัน เมืองเซโปน รวมระยะทางทั้งหมด 242 กิโลเมตร เปนถนนราดยางโดยตลอดมี 2 ชองจราจรสามารถใชงาน
ไดตลอดทั้งป สวนใหญเปนทางราบ ใชเวลาประมาณ 3-4 ชั่วโมง
จากจุดผานแดนบานแดนสะหวัน จะออกสูเวียดนามที่เมืองลาวบาว จังหวัดกวางจิ และตอไปยังเมืองดองฮา
เมืองเว จนกระทั่งถึงทาเรือดานังของเวียดนาม รวมระยะทางในเวียดนามราว 265 กิโลเมตร นับเปนเสนทาง
เศรษฐกิจสําคัญในปจจุบันและอนาคต ดานการทองเที่ยวและการขนสงสินคาจากไทย-สปป.ลาว-เวียดนาม
นอกจากนี้ เสนทางหมายเลข 9 ยังเปนสวนหนึ่งของเสนทางระเบียงเศรษฐกิจแนวตะวันออก-ตะวันตก (East-
West Economic Corridor : EWEC) ซึ่งเชื่อมระหวาง พมา-ไทย-ลาว-เวียดนาม รวมระยะทางประมาณ 1,450
กิโลเมตร ดังนี้
ศูนยพัฒนาการคาและธุรกิจไทย ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
สํานักงานสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ เวียงจันทน, สปป.ลาว.

 พมา : จากเมืองเมาะละแหมงของพมา เขาสูประเทศไทยที่อําเภอแมสอด จังหวัดตาก ระยะทาง


ประมาณ 166 กิโลเมตร
 ประเทศไทย : จากอําเภอแมสอด จังหวัดตาก ผานจังหวัดพิษณุโลก ขอนแกน ไปยังมุกดาหาร รวม
ระยะทางประมาณ 777 กิโลเมตร
 สปป.ลาว : จากจังหวัดมุกดาหาร ขามสะพานมิตรภาพไทย- ลาวแหงที่ 2 ไปยังเมืองไกสอนพมวิหาน
(เมืองคันทะบุลี) แขวงสะหวันนะเขต จนออกดานลาวบาว ระยะทางทัง้ หมดประมาณ 242 กิโลเมตร
 เวียดนาม : จากดานลาวบาว ไปถึงเมืองกวางจิและดานัง ในประเทศเวียดนาม รวมระยะทางประมาณ
265 กิโลเมตร

สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 2 (จังหวัดมุกดาหาร – แขวงสะหวันนะเขต)

ดานพรมแดน แขวงสะหวันนะเขต

เสนทางหมายเลข 13 (R13) เปนเสนทางคมนาคมที่สําคัญที่สุดของ สปป.ลาว เชื่อมโยงภาคเหนือภาคกลาง


และภาคใตของสปป.ลาวมีความยาวประมาณ 1,532 กิโลเมตร เปรียบเสมือนกระดูกสันหลังของประเทศ โดยนับจาก
หอคํา (Presidential Palace) นครหลวงเวียงจันทน ขึ้นเหนือ ผานแขวงเวียงจันทน แขวงหลวงพระบาง จนถึงบานนา
เตย แขวงหลวงน้ําทา กอนไปสุดชายแดน สป.จีน รวมระยะทาง 679 กิโลเมตร เรียกวา เสนทางหมายเลข 13 เหนือ
(13N)
ศูนยพัฒนาการคาและธุรกิจไทย ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
สํานักงานสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ เวียงจันทน, สปป.ลาว.

และจากหอคํา นครหลวงเวียจันทน ลงใตเลียบขนานไปกับแมน้ําโขงซึ่งทอดยาวลงมาภาคกลาง ผานแขวงบอ


ลิคําไซ แขวงคํามวน แขวงสะหวันนะเขตลงมาถึงภาคใต ผานแขวงสาละวัน ไปจนถึงบานหาด แขวงจําปาสัก แลว
ออกสูประเทศกัมพูชา รวมระยะทาง 853 กิโลเมตร เรียกวาเสนทางหมายเลข 13 ใต (13S) ซึ่งจากจุดนี้สามารถทะลุ
ผานกัมพูชาไปยังทาเรือโฮจิมินหของเวียดนามไดใกลที่สุด
เสนทางหมายเลข 13 นี้ ยังเชื่อมกับเสนทางสําคัญๆ อื่นๆ ของลาวซึ่งพาดผานจากตะวันออกไปยังตะวันตกอีก
หลายเสนทาง คือ เสนทางหมายเลข 7, 8 และ 9 นับเปนโครงขายที่เชื่อมโยงการคมนาคมระหวาง ไทย ลาว กัมพูชา
และเวียดนาม ไวดวยกัน
สําหรับการขนสงสินคากับจังหวัดหนองคาย ประเทศไทย เริ่มตนจากตัวเมืองหนองคาย ขามแมน้ําโขงที่
สะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 1 เขาสูบริเวณทานาแลง นครหลวงเวียงจันทน แลวจึงเขาสูเสนทางหมายเลข 13
จนถึงใจกลางนครหลวงฯ รวมระยะทางประมาณ 22 กิโลเมตร นับการคมนาคมทางถนนที่สะดวกที่สุดในการขนสง
สินคาไปยัง นครหลวงเวียงจันทน รวมถึงเมืองวังเวียง และเมืองหลวงพระบาง ซึ่งเปนสถานที่ทองเที่ยวสําคัญทาง
ภาคเหนือไดอีกดวย

สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 1 ดานศุลกากรหนองคาย ชองทางผานของรถบรรทุกสินคา


( จังหวัดหนองคาย – นครหลวงเวียงจันทน ) เพื่อไปยัง สปป.ลาว

เสนทางหมายเลข 16 เปนถนนเชื่อมตอระหวางจุดผานแดนชองเม็ก อําเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี กับ


เมืองปากเซ แขวงจําปาสัก โดยแบงเปนชวงลาดยางจากชองเม็ก ผานเมืองปากเซ ไปยัง เมืองปากซอง เมืองทาแตง
และ เมืองละมาน รวมระยะทาง 174 กิโลเมตร ตอจากนั้นเปนถนนลูกรังซึ่งอยูระหวางการกอสรางไปถึงเมืองดากจึง
แขวงเซกอง รวมระยะทาง 124 กิโลเมตร ซึ่งเมื่อแลวเสร็จเสนทางหมายเลข 16 จะมีระยะทางทั้งหมด 298 กิโลเมตร
ซึ่งจะเชื่อมตอออกไปยังเวียดนามไดอีกทางหนึ่ง
นอกจากนี้ เสนทางหมายเลข 16 ยังเชื่อมโยงกับเสนทางหลวงหมายเลข 13 (13S) และทางหลวงอื่นๆ เพื่อเขาสู
เมือง สําคัญๆ ของจําปาสัก อาทิ บาเจียงจะเลินสุก (R20) และมูนละปะโมก (R14) เปนตน อีกทั้ง สปป.ลาว ยังมีแผน
ในการสรางถนนลูกรังสาย 16A เพื่อเชื่อมแขวงจําปาสัก กับ แขวงอัตตะปอ ซึ่งจะทําใหระยะทางคมนาคมขนสง
ระหวางสองแขวงนี้สั้นลงกวาเดิมอีกดวย
ศูนยพัฒนาการคาและธุรกิจไทย ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
สํานักงานสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ เวียงจันทน, สปป.ลาว.

ดานพรมแดนชองเม็ก อ.สิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี - ดานพรมแดนวังเตา แขวงจําปาสัก

11.2 เสนทางคมนาคมขนสงอื่นๆ
เสนทางหมายเลข 1 เริ่มจากชายแดนจีน- สปป.ลาวเปนถนนระดับมาตรฐานสากลมีขนาดความ กวาง 8 เมตร
และลาดยางตลอดสาย ผานแขวงพงสาลี หลวงน้ําทา อุดมไช หลวงพระบาง และเชือ่ มตอ เสนทางหมายเลข 6 ที่
แขวงหัวพัน
เสนทางหมายเลข 2 เปนเสนทางเชื่อมโยงสปป.ลาว-เวียดนามเปนทางหลวงแขวงตอจากเสนทางหมายเลข 3
ที่แขวงหลวงน้ําทา ผานแขวงพงสาลี จากนั้นเชื่อมกับเสนทางหมายเลข 6 ของเวียดนามที่เมือง เดียนเบียนฟู ซึ่งเปน
เสนทางที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจของเวียดนามมุงสูฮานอยได
เสนทางหมายเลข 6 เชื่อมจากเสนทางหมายเลข 7 ที่บานบาน เมืองคาแขวงเชียงขวางไปยังเมืองชําเหนือแขวง
หัวพันและผานเมืองเวียงไชย เมืองสบเบา สูดานชายแดนน้ําเสย – นาแมวลาว - เวียดนาม
เสนทางหมายเลข 7 เชื่อมตอเสนทางหมายเลข 13 ที่แยกศาลาภูคูน เมืองภูคูน แขวงหลวงพระบาง ผานแขวง
เชียงขวางไปยังเมืองวินห จังหวัดเหงะอาน ประเทศเวียดนาม มีความยาวทั้งสิ้น 270 กม.ลาดยางเสร็จแลว
เสนทางหมายเลข 8 แยกจากเสนทางหมายเลข 13 ทางตอนกลางของประเทศ เชื่อมตอจากไทยเขา สูสปป.ลาว
ที่บานเวียง เมืองปากกะดิง แขวงบอลิคาํ ไซ ผานกิโลเมตรที่ 20 (หลักซาว) ไปทางตะวันออกของสปป .ลาว สู
เวียดนาม และเชื่อมกับเสนทางหมายเลข 1 ของเวียดนาม ที่มุงสูเมืองวินหและฮาติน
เสนทางหมายเลข 18 แยกจากเสนทางหมายเลข 13 ที่แขวงจําปาสักตัดผานแขวงอัตตะปอ ไปออก ชายแดน
เวียดนามที่ดานพูเกือ
ศูนยพัฒนาการคาและธุรกิจไทย ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
สํานักงานสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ เวียงจันทน, สปป.ลาว.

11.3 การคมนาคมทางน้ํา
เนื่องจากพรมแดนไทย-ลาว ในบางพื้นที่ไมมีสะพานขนาดใหญขามแมน้ําโขง ขณะเดียวกันก็มีความจําเปนใน
การสงสินคาไปยังฝง สปป.ลาว ดังนั้นจึงมีการพัฒนาทาขามเพื่อขนสงสินคาขามฝง และดําเนินการขนสงตอไปดวย
เสนทางคมนาคมทางบก ทาขามที่ใชในการขนสงสินคา มีดังตอไปนี้
1) ทาขาม อ.เมือง จังหวัดหนองคาย ตรงขามเมืองทาเดื่อ นครหลวงเวียงจันทน
2) ทาขาม จังหวัดบึงกาฬ ตรงขามเมืองปากซัน แขวงบอลิคําไซ
3) ทาขาม อ.เมือง จังหวัดนครพนม ตรงขามเมืองทาแขก แขวงคํามวน
4) ทาขาม อ.เมือง จังหวัดมุกดาหาร ตรงขามแขวงสะหวันนะเขต
5) ทาขาม อ.เชียงคาน จังหวัดเลย ตรงขามเมืองซะนะคาม แขวงเวียงจันทน
6) ทาขาม อ.เชียงแสน จังหวัดเชียงราย ตรงขามบานหวยทราย แขวงบอแกว

ทั้งนี้ สปป.ลาวมีแมนา้ํ โขงผานตลอดประเทศ ความยาวจากทิศเหนือจรดทิศใต รวมระยะทางทั้งสิ้น 1,835


กิโลเมตร มีการเดินเรือระหวางประเทศจีน ไทย และ สปป.ลาว แตมีขอจํากัดทางกายภาพ เชน เกาะแกง และการขึน้
ลงของระดับน้ํา ทําใหเสนทางขนสงทางเรือทําไดเพียง 875 กิโลเมตร และสามารถเดินเรือไดสะดวกเฉพาะฤดูน้ํา
หลาก
ในชวงเดือนพฤษภาคม – ธันวาคม ของทุกป ระดับน้ําในแมน้ําโขงจะลึกระหวาง 2-7 เมตร (บางชวงที่มีน้ํา
หลากจะมีความลึกเกิน 7 เมตรขึ้นไป) สามารถใชเรือขนาดใหญขนสงสินคาไดถึงลําละ 120-150 ตัน แตในชวงเดือน
มกราคม-เมษายนของทุกป ปริมาณน้ําจะนอย ระดับน้ําลึก ระหวาง 1.5-2. เมตรตองใชเรือขนาดเล็กที่ขนสงสินคาได
เพียงลําละ 40-60 ตัน หรือในบางปไมสามารถขนสงสินคาทางเรือในชวงเวลาดังกลาวได

11.4 การคมนาคมทางรถไฟ
ปจจุบันสปป.ลาวมีทางรถไฟยาว 3.5 กม. เชื่อมตอกับประเทศไทยที่สะพานมิตรภาพไทย – ลาว 1 นครหลวง
เวียงจันทน – จังหวัดหนองคาย (สรางดวยเงินชวยเหลือจากรัฐบาลไทยทั้งในรูปเงินใหเปลาและเงินกู ดอกเบี้ยต่ํา
ระยะยาว) เปดใชงานในเดือนพฤษภาคม 2551
นอกจากนี้สปป.ลาวยังมีโครงการสํารวจเสนทางรถไฟดังนี้
1. ทานาแลง-เวียงจันทน : บริษัทซีสตรา (Systra) ซึ่งเปนบริษัทรถไฟจากฝรั่งเศสไดเริ่มสํารวจศึกษา ทาง
รถไฟความยาว 9.5 กม. ระหวางบานโคกโพสี ทานาแลง เมืองหาดทรายฟองไปยังเวียงจันทน ในเขตบานคําสะหวาด
เพื่อกอสรางทางรถไฟตามความตกลงที่รัฐบาลฝรั่งเศสในสมัยของประธานาธิบดีจากซีรัก (2548) ไดทําความตกลง
ไวกับรัฐบาลลาว
ศูนยพัฒนาการคาและธุรกิจไทย ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
สํานักงานสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ เวียงจันทน, สปป.ลาว.

2. เวียงจันทน-เมืองทาแขก แขวงคํามวน : ระยะทาง 300 กม. ซึ่งมีการสํารวจในเบื้องตนแลวและ รัฐบาลลาว


กําลังหาลูทางเกี่ยวกับการลงทุนเพื่อสรางทางรถไฟเชื่อมไทยเวียดนามและจีน
3. เมืองทาแขก แขวงคํามวน-ชายแดนเวียดนาม : รัฐบาลเวียดนามใหความชวยเหลือในการสํารวจเสนทางใน
โครงการ 18 เดือนระยะทาง 100 กม.

ทางรถไฟความเร็วสูงลาว – จีน (Laos-China High Speed Railway)


สปป.ลาว มีแผนจะสรางทางรถไฟความเร็วสูงลาว – จีน เพื่อสรางเขตการคาเสรีอาเซียน– จีน โดยเมื่อเดือน
เมษายน 2553 รัฐบาลสองประเทศไดรวมเซ็นสัญญาบทบันทึกความเขาใจ (MOU) การรวมมือในโครงการสรางทาง
รถไฟเชื่อมตอจากชายแดนจีน – สปป.ลาว ณ จุดบอหาน – บอเต็น – นครหลวงเวียงจันทน มีความยาวประมาณ 421
กิโลเมตร ดวยมูลคาการลงทุน 7,000 ลานดอลลารสหรัฐฯ รองรับทั้งขนสงโดยสารและสินคา วิ่งดวยกระแสไฟฟา
โดยไดกําหนดความเร็ว 200 กิโลเมตรตอชั่วโมงในกรณีขนสงโดยสาร และ 120 กิโลเมตรตอชั่วโมงสําหรับขนสง
สินคา
เมื่อเสนทางรถไฟสายนี้แลวเสร็จ จะเปนเสนทางเชื่อมกับบรรดาประเทศ อาเซียน เพื่อผลักดันการรวมมือทาง
เศรษฐกิจลาว – จีนใหเกิดดอกออกผลในอนาคตอยางมากโดยเฉพาะการแลกเปลี่ยนสินคาในหมวดสินคาเกษตร
อุตสาหกรรมและอื่นๆ
นอกจากนี้ ทางรถไฟความเร็วสูงลาว – จีน ยังเปนสวนหนึ่งของเสนทางรถไฟสายอาเซียน จากสิงคโปรไปยัง
เมืองคุนหมิงของจีน รวมระยะทางทั้งหมด 3,640 กิโลเมตรซึ่งจะสรางประโยชนอยางมากตออาเซียน อีกทั้งยังมีการ
สรางเสนทางรถไฟระหวางสปป .ลาวไปยังประเทศเพื่อนบานคือเวียดนาม (เวียงจันทน - เวียดนาม) อีกดวย
อยางไรก็ดี ในเบื้องตน สปป.ลาวจะสรางเสนทางรถไฟระยะทาง 421 กิโลเมตร จาก บอหาน บอเต็น ถึงนคร
หลวงเวียงจันทนกอน แลวจึงเชื่อมตอกับราชอาณาจักรไทย หลังจากนั้นจะขยายจากนครหลวงเวียงจันทนสูทาแขก
และเชื่อมตอชายแดนลาว-เวียดนาม โดยในการตกลงครั้งแรก ใหฝายจีนถือหุนรอยละ 70% ในรูปแบบเงินสด
อุปกรณ สวนฝายสปป .ลาวรับผิดชอบดานวัสดุกอสรางจํานวนหนึ่ง บวกกับเงินสด และถือหุนรอยละ 30% ในนี้
รวมทั้งการจัดสรรที่ดินใหกับประชาชนดวย แตภายหลังไดมีการประชุม และแกไขเปนจีนให สปป.ลาว กูในอัตรา
ดอกเบี้ยต่ํา
ศูนยพัฒนาการคาและธุรกิจไทย ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
สํานักงานสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ เวียงจันทน, สปป.ลาว.

11.5 การคมนาคมทางอากาศ
สนามบินวัดไต เปนสนามบินนานาชาติในเวียงจันทน อยูหางจากใจกลางเมืองเวียงจันทนประมาณ 5
กิโลเมตรใชเวลาเดินทางประมาณ 15 นาที โดยโรงแรมสวนใหญจะมีบริการรับ-สงระหวางสนามบินกับโรงแรมอยู
แลว หรืออาจจะใชบริการรถรับจางในราคาประมาณ 300 บาท ตอเทีย่ ว

สนามบินนานาชาติวดั ไต นครหลวงเวียงจันทนสปป.ลาว

สนามบินหลวงพระบาง เปนสนามบินนานาชาติทใี่ หญเปนอันดับสองของ สปป.ลาว อยูในแขวงหลวงพระ


บาง หางจากใจกลางเมืองหลวงพระบางไปทางทิศเหนือ ระยะทางประมาณ 4 กิโลเมตร เดิมเปนอาคารเดี่ยวๆ ชั้น
เดียว มีรันเวย 1 เสน จนเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2556 มีการประกาศยายสนามบินอยางเปนทางการ ไปสูสนามบินใหม
ซึ่งมีมูลคาการกอสรางกวา 86 ลานดอลลาร เปนอาคาร 2 ชั้น มีขนาดใหญขึ้น มีเนื้อที่เกือบ 10,000 ตารางเมตร ติดตั้ง
สิ่งอํานวยความสะดวกใหมทั้งหมด พรอมเพิ่มจํานวนรันเวย และแท็กซี่เวยเปนอยางละ 2 เสน รองรับโบอิ้ง 737/แอร
บัส A320 ได 4 ลํา และ ATR72 / MA60 ไดอีก 3 ลําพรอมกันรวมเปน 7 ลํา
ศูนยพัฒนาการคาและธุรกิจไทย ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
สํานักงานสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ เวียงจันทน, สปป.ลาว.

สนามบินนานาชาติหลวงพระบางแหงใหม แขวงหลวงพระบาง สปป.ลาว

นอกจากนี้ สปป.ลาว ยังมีสนามบินนานาชาติอีกแหงหนึ่ง คือ สนามบินปากเซ อยูในเมืองปากเซ แขวงจําปา


สัก หางจากตัวเมืองประมาณ 3.5 กิโลเมตร มีเครื่องบินทั้งภายในประเทศและระหวางประเทศขึ้นลงทุกวัน โดย
สําหรับนักทองเที่ยวแลว โรงแรมสวนใหญในปากเซ มักมีรถโดยสารรับ-สง ระหวางสนามบินกับโรงแรมใหบริการ

สนามบินนานาชาติปากเซ เมืองปากเซ แขวงจําปาสัก สปป.ลาว


ศูนยพัฒนาการคาและธุรกิจไทย ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
สํานักงานสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ เวียงจันทน, สปป.ลาว.

สําหรับสนามบินภายในประเทศ นอกจากจะใชรว มกับสนามบินนานาชาติแลว ยังมีสนามบินตามแขวงหลักๆ


อาทิ เวียงจันทน หลวงพระบาง สะหวันนะเขต ปากเซ หวยทราย หลวงน้ําทา อุดมไซ พงสาลี และ เชียงขวาง โดย
การบินภายในประเทศสวนใหญจะผานเวียงจันทน และมีเที่ยวบินเพียงวันละ 1 เที่ยวบินหรือนอยกวานั้น ยกเวน
เที่ยวบินไป 3 แขวงสําคัญ คือ เวียงจันทน –หลวงพระบาง มีวันละไมต่ํากวา 3 เที่ยว ใชเวลาประมาณ 40 นาที สวน
เวียงจันทน-จําปาสัก และ เวียงจันทน-สะหวันนะเขต มีวันละ 2 เที่ยวบิน ใชเวลาประมาณ 1 ชั่วโมง

สนามบินเชียงขวาง สนามบินหลวงน้ําทา

ผูใหบริการสายการบินระหวางประเทศของ สปป.ลาว มี 2 ราย คือ ลาว แอรไลน และ ลาวเซ็นทรัล แอรไลน


ซึ่งมีเที่ยวบิน เวียงจันทน-กรุงเทพฯ จากสนามบินวัดไต นครหลวงเวียงจันทน มายังสนามบินสุวรรณภูมิเปนประจํา
ทุกวัน แบงเปนลาวแอรไลน 4 เที่ยวบิน และลาวเซ็นทรัลแอรไลน 1 เที่ยวบิน นอกจากนี้ ลาวแอรไลนยังมีเที่ยวบิน
หลวงพระบาง-เชียงใหม หลวงพระบาง-กรุงเทพฯ และเวียงจันทน-เชียงใหม อีกดวย
สวนสายการบินตางประเทศที่มีเที่ยวบินไปเวียงจันทน เชน การบินไทย, บางกอกแอรเวย, Silk Air, Air
Vietnam, China Airline, และ Air Asia เปนตน

You might also like