You are on page 1of 29

3

สารบัญ

บทที่ 1. บทนํา (Introduction) 4


บทที่ 2. การตั้งคําถาม (Asking answerable question) 5
บทที่ 3. การคนหาหลักฐาน (Acquiring the evidence) 7
บทที่ 4. การประเมินหลักฐาน (Appraising the evidence) 13
สาเหตุของโรค (Etiology / Harm) 13
การพยากรณโรค (Prognosis) 14
การวินิจฉัยโรค (Diagnosis) 15
การรักษา / ปองกันโรค (Therapy / Prevention) 16
บททบทวนอยางเปนระบบ (Systematic reviews) 17
เศรษฐศาสตรสาธารณสุข (Economic analysis) 18
บทที่ 5. การประยุกตใชหลักฐาน (Applying the evidence) 19
บทที่ 6. การประเมินผลการใชหลักฐาน (Assessing outcome) 21
บทที่ 7. อภิธานศัพท (Glossary) 23
4

บทที่ 1
บทนํา

คําจํากัดความของเวชปฏิบัติอิงหลักฐาน (EBM)
EBM = กระบวนการการใชหลักฐานที่ดีที่สุดเทาที่มีอยูในปจจุบันเพื่อการตัดสินใจ
ดูแลรักษาผูปวย (Evidence-based medicine is the conscientious, explicit and
judicious use of current best evidence in making decisions about the care of
individual patients, David L Sackett)

ทําไมจึงตองรู EBM
ปจจุบันเปนยุคของการเกิดขอมูลขาวสารเปนจํานวนมาก (information explosion) มี
การศึกษาวิจัยใหมๆ มากมาย ความรูที่มีอยูในตําราอาจไมทันสมัย จึงมีความจําเปนที่จะตอง
รูวิธีการคนหาขอมูลและประเมิน นําหลักฐานที่ดีที่สุดเพื่อนําไปประยุกตใชกับผูปวย
ในบทตอๆ ไปจะเปนสาระสําคัญของขั้นตอนตามลําดับของ EBM โดยสวนการ
ประเมินหลักฐานจะแบงยอยออกเปนหลักฐานที่เกี่ยวกับการหาสาเหตุของโรคหรืออันตราย
ของปจจัย (Etiology/Harm) การวินิจฉัยโรค (Diagnosis) การพยากรณโรค (Prognosis) การ
รักษา/ปองกันโรค (Therapy/Prevention) และเศรษฐศาสตรสาธารณสุข (Health economics)

ขั้นตอนของ EBM (The 5 A’s of EBM)


1. A sk question : ตั้งคําถาม
2. A cquire evidence : คนหาหลักฐาน
3. A ppraise evidence : ประเมินหลักฐาน
4. A pply evidence : ประยุกตใชหลักฐาน
5. A ssess outcome : ประเมินผลการใชหลักฐาน
5

บทที่ 2
การตั้งคําถาม

ขั้นตอนแรกของกระบวนการ EBM คือการตั้งคําถาม (Asking clinical question)


การตั้งคําถามเกี่ยวกับปญหาของผูปวยใหใชหลัก P I C O ดังนี้
1. ปญหา หรือ ผูปวย (P roblem or P atient) เชน ลักษณะทางคลินิกของผูปวย
2. สิ่งที่จะใหแกผูปวย (I ntervention) เชน การใหยาใหม หรือการใชวิธีการวินิจฉัยแบบใหม
3. สิ่งที่เปนตัวเปรียบเทียบ (C omparison intervention) เชน การไมใหยา หรือใหยาเดิม
4. ผลที่ตองการ (O utcome) เชน ประสิทธิผลที่เกิดขึ้น หรือความแตกตางที่ตองการ
องคประกอบ ขอแนะ ตัวอยาง
ปญหา หรือ ผูปวย เริ่มดวยคําถามที่วา “ฉันจะบรรยายถึง “ในผูปวยหญิงวัยหมดประจําเดือน
(P) กลุมผูปวยที่มีลักษณะเหมือนผูปวยของ ..…………………………..…….”
ฉันอยางไร”
สิ่งที่จะใหแกผูปวย ถามวา “สิ่งที่ฉันจะใหผูปวยคืออะไร” “........................การใหยา estrogen
(I) ....……………………………...”
สิ่งที่เปนตัวเปรียบเทียบ ถามวา “ทางเลือกเดิมหรือทางเลือกอื่น “...............เปรียบเทียบกับการไมให
(C) ที่ตองการเปรียบเทียบคืออะไร” estrogen ........................................”
ผลที่ตองการ ถามวา “ผลที่ฉันตองการคืออะไร” หรือ “.…………………….... จะทําให
(O) “มีผลแตกตางไปจากเดิมหรือไม” อัตราการเกิดมะเร็งเตานมของหญิง
ดังกลาวเปลี่ยนแปลงหรือไม”

ชนิดของคําถามที่พบในเวชปฏิบัติเปนสวนใหญไดแก
คําถามเกี่ยวกับสาเหตุของโรค (Etiology/Harm)
คําถามเกี่ยวกับการพยากรณโรค (Prognosis)
คําถามเกี่ยวกับการวินิจฉัยโรค (Diagnostic test)
คําถามเกี่ยวกับการรักษาหรือการปองกันโรค (Therapy or prevention)
คําถามเกี่ยวกับเศรษฐศาสตรสาธารณสุข (Health economics)
6

ตัวอยางการตั้งคําถาม PICO (asking clinical question)

Domain Patient (P) Intervention (I) Comparison Outcome (O)


(C)
ในผูปวยที่เคย การใหยา เทียบกับการให จะลดอัตราการเกิด
Therapy เปน acute aspirin placebo recurrent M.I. ได
M.I. ดีกวาหรือไม
ในผูปวย การทํา เทียบกับการทํา จะเพิ่ม life
Prognosis ไตวาย hemodialysis hemodialysis expectancy ได
ที่บาน ที่ รพ. หรือไม
ในผูที่สงสัย การใช exercise เทียบกับการให จะวินิจฉัยโรค
Diagnosis เปน ECHO exercise EKG coronary artery
coronary disease ไดดีกวา
disease หรือไม
ในหญิงวัย การให เทียบกับการไม จะเพิ่มความเสี่ยง
Etiology / หมดประจํา hormone ให HRT ตอการเกิด CA
Harm เดือน replacement breast หรือไม
therapy (HRT)
ในผูปวย การรักษาดวย เทียบกับการให จะคุมคาใชจายกวา
Economic chronic renal renal hemodialysis หรือไม
failure transplant (cost- effective)
7

บทที่ 3
การคนหาหลักฐาน

ขั้นตอนที่สองของกระบวนการ EBM คือการคนหาหลักฐาน (Acquiring evidence) ดังนี้

1. กําหนดคําสําคัญ (key words) จากคําถามที่ตั้งไว


เชน ชื่อโรคหรือภาวะของผูปวย (P) สิ่งที่จะใหกับผูปวย (I) ตัวเปรียบเทียบ (C)
และผลที่ไดรับ (O) นอกจากนี้ยังมีคําสําคัญอื่นๆ ไดแก domain ที่ตองการคนหา (etiology,
diagnosis, prognosis therapy, prevention, etc.) และรูปแบบการศึกษาตาง ๆ (cohort
studies, case-control studies, randomized controlled trial, systematic review, meta-
analysis) รายละเอียดจะกลาวตอไป

2. กําหนดแหลงขอมูลที่จะคนหา ซึ่งมีอยูหลายแหลงดังตัวอยางตอไปนี้
แหลงขอมูล ทางผานที่เขาถึง ขอดี ขอดอย
Cochrane Library http://gateway.ovid.co มีบทความที่ทบ มีจํานวนเรื่องนอย
m หรือผาน website ทวนอยางเปน ตองเปนสมาชิก
ของสถาบัน ระบบดีมาก
Bibliographic www.pubmed.com มีบทความใหมที่ ยังไมไดมีการทบ
database เพิ่งตีพิมพในวาร ทวนหรือรวบรวม
(MEDLINE) สารตางๆ อยางเปนระบบ
CATs (Critically www.ebem.org/cats/ เปนเรื่องที่มีผูทํา มักจะ appraise เพียง
appraised topics) การ appraise มา การศึกษาเดียว
แลว
TRIP (Turning www.tripdatabase.co มีเรื่องสรุปที่ผาน ตองเปนสมาชิก
Research Into m การ กลั่นกรองแลว
Practice)
8

3. วิธีการคนหา
สามารถคนหาขอมูลจาก internet ผาน websites ตาง ๆ มากมาย แตในที่นี้ จะ
กลาวถึงเฉพาะการคนหาจาก PUBMED และ OVID MEDLINE โดยยอเทานั้น
1. PUBMED เปนฐานขอมูลที่สรางโดย National Library of Medicine ของสหรัฐ
อเมริกา โดยรวบรวมบทความจากวารสารตาง ๆ ทั่วโลก เมื่อเราพิมพ www.pubmed.com
ลงในชอง address ของ web browser (Internet Explorer) จะนําไปสูดังรูปที่ 1

รูปที่ 1

Click ที่ Clinical Queries (ตรงลูกศรในรูปที่ 1) จะนําไปสูรูปที่ 2

รูปที่ 2
9

เลือก category ที่ตองการ (ตรงลูกศรในรูปที่ 2) ไดแก therapy หรือ diagnosis หรือ etiology
หรือ prognosis ตอไปใหพิมพชื่อเรื่องที่ตองการใน Enter subject search แลว click ที่ Go

2. OVID MEDLINE : เนื่องจากการคนหาโดยวิธี PUBMED จะใหบทความจํานวน


มาก การคนหาดวยวิธีของ OVID MEDLINE จะไดบทความนอยกวาแตกรองใหตรงตาม
ความตองการไดมากกวา และตองคนหาผานสถาบันที่มีการสมัครสมาชิก OVID ไวแลว

ผูที่ใชเครื่องคอมพิวเตอรผาน server ของหองสมุดคณะแพทยศาสตร รพ.รามาธิบดี


(http://library.ra.mahidol.ac.th) ใหเขาที่ OVID จะนําไปสูรายชื่อฐานขอมูลตางๆ ดังรูปที่ 3

รูปที่ 3

จะเห็นวามีฐานขอมูล 14 ฐาน หากตองการคนหามากกวา 1 ฐาน ให click ดานบนที่


select more than one database to search ซึ่งจะสามารถเลือกไดไมเกินครั้งละ 5 ฐาน
10

เมื่อเลือกฐานแลว click ที่ click to begin search ดานซายมือ จะปรากฏดังรูปที่ 4

รูปที่ 4

พิมพเรื่อง (Medical subject Heading, MeSH) ที่ตองการในชอง Enter Keyword or


phrase และเลือก check box ใน Limit to ตามที่ตองการ แลว click ที่ปุม
อยางไรก็ตาม ผลการคนหาจะมีบทความจํานวนมาก ผูคนหาจึงตองกําหนดคําสําคัญ
ที่เกี่ยวของจากคําถามที่ตั้งไวที่ PICO เมื่อพิมพแตละคําและคนหาก็จะไดผลทีละครั้งที่บอก
ถึงจํานวนบทความที่คนได เมื่อนําแตละครั้งที่เกิดจากแตละคํามารวมกันจะเปนผลลัพธสุด
ทาย
คําสําคัญที่จะใชคนหาบทความ จะแตกตางกันไปตามลักษณะของบทความที่
ตองการคนหา เชน ตองการคนบทความดาน prognosis อาจมีคําสําคัญตอไปนี้ cohort
studies, prognosis, survival analysis เปนตน
11

ตัวอยาง Ovid Medline Filters for Evidence-based Clinical Queries

ใหพิมพทีละบรรทัดตอไปนี้ในชอง Enter Keyword or phrase แลว click ที่ปุม

Domain : Therapeutics/Interventions Domain : Diagnosis


1 exp research design/ 1 exp "sensitivity and specificity"/
2 exp clinical trials/ 2 false negative reactions/ or false positive
3 comparative study/ or placebos/ reactions/
4 multicenter study.pt. 3 (sensitivity or specificity).ti,ab.
5 clinical trial$1.pt. 4 (predictive adj value$1).ti,ab.
6 random$.ti,ab. 5 (likelihood adj ratio$1).ti,ab.
7 (double blind$ or triple blind$3).ti,ab. 6 (false adj (negative$1 or positive$1)).ti,ab.
8 placebo$.ti,ab. 7 (randomized controlled trial or controlled
9 (clinical adj trial$1).ti,ab. clinical trial).pt.
10 exp epidemiologic research design/ 8 double blind method/ or single blind
11 (controlled clinical trial or randomized method/
controlled trial).pt. 9 practice guideline.pt.
12 practice guideline.pt. 10 consensus development conference$.pt.
13 feasibility studies/ 11 random$.ti,ab.
14 clinical protocols/ 12 random allocation/
15 exp treatment outcome/ 13 (single blind$3 or double blind$3 or triple
16 or/1-15 blind$3).ti,ab.
14 or/1-13
12

Domain : Etiology Domain : Prognosis


1 random$.ti,ab. 1 exp cohort studies/
2 exp epidemiologic studies/ 2 prognosis/
3 odds ratio/ 3 exp mortality/
4 cohort$.ti,ab. 4 exp morbidity/
5 (case$1 adj control$).ti,ab. 5 (natural adj history).ti,ab.
6 risk$.ti,ab. 6 prognos$.ti,ab.
7 (odds adj ratio$1).ti,ab. 7 course.ti,ab.
8 causa$.ti,ab. 8 predict$.ti,ab.
9 (relative$1 adj risk$).ti,ab. 9 exp "outcome assessment (health care)"/
10 predispos$.ti,ab. 10 outcomes$1.ti,ab.
11 (randomized controlled trial or 11 (inception adj cohort$1).ti,ab.
controlled clinical trial).pt. 12 disease progression/
12 exp risk/ 13 exp survival analysis/
13 practice guideline.pt. 14 or/1-13
14 case-control studies/
15 or/1-14

พิมพเรื่องที่สนใจคนหาขอมูลเปนบรรทัดตอ ๆมา ซึ่งขึ้นอยูกับการกําหนด key word ที่เกี่ยว


ของกับโรคหรือภาวะที่กําลังคนหา ในชอง Enter Keyword or phrase แลว click ที่ปุม

บรรทัดสุดทายใหพิมพหมายเลขที่ปรากฏบวกกัน เชน 16+17 จะไดผลจํานวนขอมูลราย


งานสุดทายที่จะไปเลือกดูในรายละเอียดของแตละรายงาน
บรรทัดที่พิมพไวทั้งหมดเรียกวาเปน search strategy ซึ่งสามารถ save ไวเพื่อใชใหมไดกับ
โรคหรือภาวะอื่น ๆ ซึ่งจะมี option ให save ในหนาหลักของการคนหา แตตองสมัคร
สมาชิกเพื่อกําหนด username และ password ของตนเอง (ไมเสียคาใชจาย)
13

บทที่ 4
การประเมินหลักฐาน
การประเมินหลักฐานเกี่ยวกับสาเหตุของโรค(Etiology) หรืออันตรายของปจจัย (Harm)
1. การศึกษามีความแมนตรง (valid) หรือไม
1.1 คําถามการวิจัยชัดเจนหรือไม
ความชัดเจนของประชากรและกลุมตัวอยางที่ศึกษา ปจจัยที่สนใจ และผลที่เกิดขึ้น
1.2 กลุมผูปวยไดกําหนดไวชัดเจนและเปนกลุมที่คลายคลึงกันหรือไม
กลุมที่ศึกษาเปรียบเทียบกันควรมีความคลายคลึงกันในปจจัยตัวแปรตาง ๆ
1.3 การวัดปจจัยหรือสาเหตุกับผลที่เกิดขึ้นกระทําโดยวิธีเดียวกันในทั้ง 2 กลุมหรือไม
วิธีการไดมาของขอมูลหรือการวัดผลตางๆ เปนไปในลักษณะหรือวิธีการเดียวกัน
1.4 การติดตามผูปวยครบถวนและนานพอหรือไม มีการติดตามอยางนอยรอยละ 80
ของผูปวย และควรนานพอที่จะเกิดโรคตามธรรมชาติของโรค
1.5 ปจจัยหรือสาเหตุที่ศึกษามีความเชื่อมโยงที่เหมาะสมหรือไม ประเด็นนี้หมายถึง
เกณฑของการเกิดโรค ไดแก ปจจัยมากอนโรค เกิดโรคมากนอยขึ้นอยูกับระดับของ
ปจจัย มีความสอดคลองกับการศึกษาอื่น ๆ และ มีความสัมพันธเชิงชีววิทยา
2. ผลของการศึกษามีความสําคัญ (importance) หรือไม
พิจารณาจากความเสี่ยงที่คํานวณไดจากการศึกษา ไดแก relative risk (R.R.) จาก
cohort study หรือ odds ratio (O.R.) จาก case-control study โดยตองดูชวงแหงความเชื่อมั่น
(confidence interval or C.I.) วาครอบคลุมคา 1 หรือไม หากไมครอบคลุมแสดงวามีนัย
สําคัญทางสถิติ หรือปจจัยนาจะเปนสาเหตุของโรค แตถาครอบคลุม แสดงวาไมมีนัยสําคัญ
ทางสถิติ (ปจจัยไมนาจะเปนสาเหตุหรืออันตรายตอผูปวย)
ในบางครั้งอาจคํานวณหาคา NNH (number needed to harm) ซึ่งเปนจํานวนผูปวยที่จะ
เกิดอันตรายเพิ่มขึ้นอีก 1 คนหากมีปจจัยดังกลาว สูตรคํานวณคือ
NNH = [{PEER (OR – 1) } +1] / [PEER (OR – 1) x (1 – PEER)]
[PEER = patients’ expected event rate หรืออัตราการเกิดโรคหรืออันตรายในผูปวยที่ไมได
รับปจจัย]
14

การประเมินหลักฐานเกี่ยวกับการพยากรณโรค(Prognosis)

1. การศึกษามีความแมนตรง (valid) หรือไม


1.1 กลุมตัวอยางเปนตัวแทนที่ดีของผูปวยทั้งหมด มีการกําหนดเกณฑผูปวยที่นําเขา
และไมนําเขามาศึกษาอยางไร
1.2 ไดแกผูปวยทั้งหมดมีความรุนแรงของการปวยเทากัน ณ จุดที่ศึกษา ซึ่งควรเปนผู
ที่ปวยในระยะตนของโรค
1.3 มีปจจัยตัวแปรอื่นๆ ใกลเคียงกัน เชน มีอายุ เพศ โรคที่เกิดรวมดวย หากไมใกล
เคียงกันตองมีการปรับ (adjust) ดวยวิธีใดวิธีหนึ่ง
1.4 การติดตามผูปวยนานพอที่จะเกิดผลที่ตองการวัด เชนการหายหรือการตายจาก
โรค
1.5 การติดตามครบถวน อยางนอยไมควรต่ํากวารอยละ 80
1.6 การวัดผลเปนในลักษณะ “blind” โดยผูวัดไมทราบวาผูปวยถูกจัดอยูในกลุมใด

2. ผลของการศึกษามีความสําคัญ (importance) หรือไม


2.1. ความเสี่ยงของผลที่เกิด (risk of outcome) ตามระยะเวลาเปนอยางไร ซึ่งมี 3 วิธี
ดังนี้
-รอยละของผูปวยที่รอดชีวิตในระยะเวลาหนึ่ง
-มัธยฐานของการรอดชีพ เชน ระยะเวลาที่รอยละ 50 ของผูปวยที่ยังมีชีวิตอยู
-กราฟการรอดชีพที่ ณ จุดตางๆ ของเวลาจะมีสัดสวนของผูปวยที่ยังมีชีวิตอยู
2.2 คาที่คํานวณไดมีความแมนยํา (precision) เพียงไร โดยดูจากความแคบกวางของ
ชวงแหงความเชื่อมั่น (confidence interval) ถาแคบแสดงวามีความแมนยําสูง
15

การประเมินหลักฐานเกี่ยวกับการการวินิจฉัยโรค (Diagnosis)

1. การศึกษามีความแมนตรง (valid) หรือไม


1.1 มีการเปรียบเทียบกับวิธีตรวจที่เปนมาตรฐาน (“gold” or reference standard)
1.2 การเปรียบเทียบในขอ 1.1 เปนในลักษณะที่ blind (ไมทราบวาใครเปน/ไมเปน
โรค)
1.3 ผูปวยที่นํามาศึกษาควรมีระยะตางๆ ของโรคกระจายอยางเหมาะสม
1.4 มีการศึกษาแหลงอื่นที่ไดผลอยางเดียวกัน (reproducible)

2. ผลของการศึกษามีความสําคัญ (importance) หรือไม


พิจารณา accuracy ของ test ไดแก
2.1 sensitivity : สัดสวนของผูปวยที่สามารถตรวจพบได
2.2 specificity : สัดสวนของผูไมปวยที่สามารถตรวจพบได
2.3 predictive values : อํานาจการทํานายวาเปนโรคหลังทราบผลการตรวจ
2.4 likelihood ratio (L.R) : โอกาสที่จะพบผลการตรวจในกลุมที่เปนโรคตอกลุมที่
ไมเปนโรค

Disease present (gold std) Disease absent (gold std)


Test + a b
Test - c d

Sensitivity = a/(a+c) Specificity = d/(b+d)


Positive predictive value = a/(a+b) Negative predictive value = c/(c+d)
L.R. for positive test = {a/(a+c)}/{b/(b+d)}
L.R. for negative test = {c/(a+c)}/{d/(b+d)}
Prevalence (or pre-test probability) = (a+c) / (a+b+c+d)
16

การประเมินหลักฐานเกี่ยวกับการรักษา/ปองกันโรค(Therapy/Prevention)

1. การศึกษามีความแมนตรง (valid) หรือไม


1.1 คําถามวิจัยที่มีความชัดเจน
1.2 ผูปวยแตละคนไดรับวิธีการรักษาแบใดเปนไปโดยการสุม
1.3 ผูศึกษาไมทราบผลการสุม (randomized list concealed)
1.4 การติดตามผลไมควรต่ํากวารอยละ 80 ของผูปวย
1.5 การวิเคราะหผลเปนแบบ intention-to-treat (analyze as randomized)
1.6 หากเปนไปได ผูศึกษาและผูถูกศึกษาตางก็ไมทราบวาใครไดการรักษาวิธีใด
1.7 กลุมที่เปรียบเทียบกันไมคววรไดการรักษาอื่นๆเพิ่มเติมที่แตกตางกัน

2. ผลของการศึกษามีความสําคัญ (importance) หรือไม


2.1 ผลการศึกษามีนัยสําคัญทางสถิติหรือไม โดยพิจารณาที่ p-value (ปกติให <0.05)
2.2 ผลการศึกษามีนัยสําคัญทางคลินิกหรือไม พิจารณาที่ confidence interval (C.I.)
ของ ARR, RRR หรือ NNT ดังนี้

Control Experimental Control event rate (CER) = a/(a+c)


Event a b Experimental event rate (EER) = b/(b+d)
No event c d ARR=CER–EER; RRR=(CER – EER) / CER

ถา C.I. ของ ARR ไมครอบคลุมคา 0 หรือ RRR ไมครอบคลุมคา 1 แสดงวามีนัยสําคัญ


ทางสถิติ (เนื่องจากคา ARR เปน absolute จึงพิจารณาครอมคา 0 สวน RRR เปน relative จึง
พิจารณาครอมคา 1)
สวน NNT เปนจํานวนผูปวยที่ตองใชวิธีการ experimental เพื่อใหปองกันการเกิดผลเสีย
ได 1 คน มีคาเทากับ 1/ARR
17

การประเมินหลักฐานเกี่ยวกับบททบทวนอยางเปนระบบ(Systematic reviews)

1. บทบททวนนี้มีความแมนตรง (valid) หรือไม


1.1 บททบทวนมีความสอดคลองกับคําถามที่ตั้งไวหรือไม
1.2 การทบทวนไดผสมผสานวิธีการคนหาขอมูลเอกสารอยางกวางขวางเพียงพอหรือไม
1.3 ผูทบทวนไดพิจารณาความแมนตรง (validity) ของแตละเอกสารขอมูลอยางไร
1.4 ผลการทบทวนมีนัยสําคัญทางสถิติและทางคลินิกหรือไม มีความสอดคลองกันอยาง
ไร

2. บททบทวนนี้มีความสําคัญ (importance) หรือไม


2.1 มีผลของแตละการศึกษาปรากฏในรายงานหรือไม และมีการนํามารวมกันคํานวณ
ใหมหรือไม
2.2 ผลของแตละการศึกษามีความแตกตางกันมากหรือไม หากตางกันเปนเพราะเหตุใด
2.3 ผลสรุปรวมของการศึกษาทั้งหมดมีความแมนยํา (precision) เมื่อดูจาก confidence
interval
2.4 หากมีการวิเคราะหกลุมยอยแยกตางหาก มีการแปลผลอยางระมัดระวังอยางไร

3. บททบทวนนี้สามารถนําไปประยุกตใชในผูปวยของเรา (Applicability) ไดหรือไม


3.1 ลักษณะผูปวยในบททบทวนเปนกลุมที่เปรียบเทียบไดกับผูปวยของเราหรือไม
3.2 ความเปนไปไดในการนําไปใชเมื่อพิจารณาดานคาใชจายและการยอมรับของผูปวย
เปนอยางไร
3.3 มีการรายงานผลขางเคียงหรือผลที่เกิดขึ้นในดานอื่น ๆ หรือไม
3.4 การสรุปไดอิงสิ่งที่คนพบในการศึกษาตางๆ ที่นํามาสรางบททบทวนนี้หรือไม
18

การประเมินหลักฐานเกี่ยวกับเศรษฐศาสตรสาธารณสุข (Economic analysis)

1. บทความนี้มีความแมนตรง (valid) หรือไม


1.1 บทความมีการเปรียบเทียบระหวางยุทธวิธีทางเศรษฐศาสตรอยางนอย 2 วิธีหรือไม
1.2 บทความเปนการศึกษาแบบใด cost-effectiveness, cost-benefit หรือ cost-utility
1.3 การวัด cost กับ outcome กระทําไดถูกวิธีหรือไม
1.4 มีการประเมินความไมแนนอนอยางไร เชน ทํา sensitivity analysis หรือไม

2. ผลการศึกษานี้มีความสําคัญ (importance) หรือไม


2.1 ผลตางของ cost กับ outcome เปรียบเทียบแตละยุทธวิธีเปนอยางไร
2.2 มีความแตกตางของ cost กับ outcome ในกลุมยอย (subgroup) หรือไม
2.3 การประเมินความไมแนนอน (sensitivity analysis) ทําใหผลเปลี่ยนแปลงไปอยางไร

3. ผลการศึกษานี้สามารถนําไปประยุกตใชในผูปวยของเรา (Applicability) ไดหรือไม


3.1 ประโยชนที่จะไดรับคุมกับคาใชจายและอันตรายที่อาจเกิดขึ้นหรือไม
3.2 ผูปวยของเรานาจะไดรับผลเชนเดียวกับในการศึกษานี้หรือไม
3.3 คาใชจายในการรักษาจะใกลเคียงหรือเทากับการศึกษานี้หรือไม
19

บทที่ 5

การประยุกตใชหลักฐาน

ประเด็นที่พิจารณา
6. ผูปวยของทานมีความเหมือนหรือคลายคลึงกับในรายงานการศึกษาหรือไม
6. ขนาดของผลที่เกิดขึ้นในผูปวยเปนเทาไร

สําหรับ Diagnostic test ใหเริ่มคิดจาก pre-test probability ดังนี้


Pre-test odds = (pre-test probability) / (1 – pre-test probability)
Post-test odds = pre-test odds x LR
Post-test probability = post-test odds (ost-test odds + 1)

สําหรับ Therapy
ใหประมาณการคา PEER (Patient’s Expected Event Rate)
หรือคา NNT (สําหรับผูปวยของทาน) = 1 / (PEER x RRR)

3. วิธีการรักษาหรือสิ่งที่จะใหกับผูปวยทําไดจริงหรือไมในสถานที่ของทาน

4. มีวิธีการหรือทางเลือกอื่นอีกหรือไม

5. ผลที่เกิดขึ้นจะเหมาะกับผูปวยของทานหรือไม

6. ผูปวยจะยอมรับวิธีการรักษาหรือสิ่งที่ทานจะใหหรือไม
20

บทที่ 6

การประเมินผลการใชหลักฐาน

ผลของการนําหลักฐานมาประยุกตใชในผูปวยของทานเปนอยางไร
-เปนไปตามที่คาดหวังหรือไม
-หากไมเปนไปตามที่คาด เปนเพราะเหตุใด
-การวัด outcome ทําอยางไร มีเงื่อนไขเวลาหรือไม
-ความพึงพอใจและคุณภาพชีวิตของผูปวยเปนอยางไร

คนหาเพิ่มเติม
David Sacket. Evidence-Based Medicine : How to Practice and Teach EBM
( New York : Churchill Livingstone, 2000)
www.cebm.net
www.cebm.utoronto.ca
www.cochrane.org
21

Glossary of Evidence-based Medicine

Absolute risk reduction (ARR) ดู treatment effects


Accuracy ความถูกตองของการวัด ในเรื่องการวินิจฉัยโรค จะมีคาเทากับ (true positive +
true negative) / (true positive + true negative + false positive + false negative)
Age standardization วิธีการปรับอัตราตางๆ ที่ตองการเปรียบเทียบกัน เชน อัตราปวย
อัตราตาย เพื่อลดผลจากความแตกตางในการกระจายของอายุระหวางประชากรกลุมตางๆ
(มีโครงสรางอายุที่แตกตางกัน)
Alpha error ดู error Type I
Alternative hypothesis ดู hypothesis
Analytic study การศึกษาเชิงวิเคราะหที่ตองการหาความสัมพันธระหวางตัวแปร เชน การ
หาปจจัยเสี่ยงของโรค อาจมีรูปแบบการศึกษาชนิด cross-sectional, cohort หรือ case-
control ก็ได
Anectdotal evidence หลักฐานที่ไดจากกรณีศึกษาจํานวนนอย และไมไดเก็บขอมูลเปน
ระบบเพื่อการวิเคราะหทางสถิติ เชน รายงานผูปวย 1 ราย (case report)
Association ความสัมพันธระหวางตัวแปรหรือเหตุการณตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป อาจกลาว
เปนความสัมพันธเชิงสถิติ (statistical association) แตการที่ปจจัยมีความสัมพันธกับโรคมิ
ไดหมายถึงวา ปจจัยเปนสาเหตุของโรค (causal association)
Attributable fraction (exposed, A.R.) สัดสวนของผูปวยที่เปนโรคเนื่องจาก exposure นั้น
มีคาเทากับ (IE - IU ) / IU หรือเทากับ (RR - 1) / RR โดยที่ IE คือ incidence in the exposed
group, IU คือ incidence in the unexposed group, RR = relative risk
Attributable fraction (population, P.A.R.) สัดสวนของประชากรทั้งหมด (ผูปวยและผูไม
ปวย) ที่เปนโรคเนื่องจาก exposure นั้น มีคาเทากับ (IT - IU ) / IU หรือเทากับ B(RR - 1) /
{B(RR-1) + 1} โดยที่ IT คือ incidence in the total population, IU คือ incidence in the
unexposed group, RR = relative risk, B = สัดสวนผูมีปจจัยในประชากรทั้งหมด (exposed
proportion)
22

Attributable risk อัตราการเกิดโรคในผูปวยที่เกิดเนื่องจากปจจัย (exposure, E) นั้น มีคา


เทากับ IE - IU อาจเรียกวา excess risk
Beta error ดู error Type II
Bias (systematic error) ความผิดพลาดเนื่องจากไดผลไมตรงกับความจริง เ กิดจากระบบที่
ไมถูกตอง อาจเปนระบบการเก็บขอมูล การวิเคราะห การแปลผล การตีพิมพ หรือการทบ
ทวนรายงานตางๆ มิไดเปนความผิดพลาดที่เกิดโดยบังเอิญ (non-systematic or random
error)
Blinding การปกปดสิ่งที่ผูถูกทดลองไดรับในการทดลอง เชน single-blind หมายถึงผูถูก
ทดลองไมทราบวาไดรับอะไร double-blind หมายถึงทั้งผูถูกทดลองและผูทําการทดลองไม
ทราบวาใครไดรับ intervention อะไร
Case-control study การศึกษาที่นําผูที่มีโรคแลว (case) กับผูยังไมมีโรค (control) เพื่อดู
ยอนหลังวามีปจจัยที่สนใจศึกษา (exposure) หรือไม โดยการคํานวณคาความเสี่ยง odds
ratio
Case series รายงานผูปวยจํานวนหนึ่ง (ที่ไมมากนัก) ถึงโรคที่สนใจโดยไมมีกลุมเปรียบ
เทียบ (กลุมไมเปนโรค)
Cause สาเหตุของผลที่เกิดขึ้น ซึ่งมีเกณฑดังนี้ (ตาม Hill’s criteria)
-temporality : การไดรับปจจัยตองเกิดขึ้นกอนผลหรือโรค
-strength : ขนาดของความเสี่ยงสัมพัทธตองมีนัยสําคัญทางสถิติ
-experiment : ผลที่เกิดขึ้นสามารถพิสูจนโดยทําการทดลองได
-consistency : มีผลการศึกษาที่ใหผลสอดคลองกันมากกวา 1 การศึกษา
-coherence : ความสัมพันธที่พบสอดคลองกับความรูหรือทฤษฎีที่มีอยูเดิม
-specificity : ปจจัยนั้นทําใหเกิดผลหรือโรคเพียงโรคเดียว ไมทําใหเกิดผลหรือโรคอื่น
-dose-response relationship ขนาดของผลที่เกิดขึ้นแปรตามขนาดปจจัยที่ไดรับ
-biologic plausibility : ผลที่เกิดขึ้นสอดคลองกับกระบวนการพยาธิชีววิทยา
Chi-square test วิธีการทางสถิติที่พิสูจนความสัมพันธระหวางตัวแปรชนิดไมตอเนื่อง
(discrete or categorical variables)
23

Clinical decision analysis กระบวนการตัดสินใจทางคลินิกที่อาศัยขอมูลทางระบาดวิทยา


และความนาจะเปนของผลที่เกิดขึ้นเมื่อเปรียบเทียบ intervention ตางๆ โดยพิจารณา 3
ประการไดแก ทางเลือก (choice) ความนาจะเปน (chance) และคาผลลัพธที่เกิดขึ้น (values)
ของแตละ intervention
Clinical epidemiology การประยุกตความรูทางระบาดวิทยาในเวชปฏิบัติ เกี่ยวของกับการ
วินิจฉัย การรักษาและปองกันโรค แตกตางจาก classical epidemiology ที่มุงศึกษาอัตราการ
เกิดและหาสาเหตุหรือปจจัยเสี่ยงของโรค
Clinical practice guideline (CPG) แนวทางการดูแลรักษาผูปวย เกิดขึ้นจากการพัฒนา
โดยผูเชี่ยวชาญ แตการนําไปใชอาจตองมีการปรับเปลี่ยนตามสถานการณ
Clinical significance นัยสําคัญทางคลินิก พิจารณาที่ magnitude of effect วาสําคัญทางเวช
ปฏิบัติหรือไม
Clinical trial การศึกษา interventions ในคน ซึ่งอาจเปนการรักษาหรือการปองกันโรค เชน
การทดลองยา วัคซีน เพื่อประเมินเปรียบเทียบประสิทธิผลของ interventions
Cluster sampling การสุมตัวอยางที่หนวยของการสุมคือกลุมบุคคล เชน สุมจากจังหวัด
อําเภอ เปนตน ใชในการศึกษาประชากรที่มีขนาดใหญมาก ๆ
Cohort กลุมบุคคลที่มีสิ่งที่เหมือนกันตั้งแตแรกเริ่มของการศึกษา เชน เกิดปเดียวกัน เขา
เรียนพรอมกัน หรือไดรับปจจัยเสี่ยงพรอมกัน
Cohort study การศึกษาที่นํากลุม 2 กลุมมาเปรียบเทียบกัน กลุมหนึ่งมีปจจัย (exposure)
อีกกลุมไมมีปจจัย แลวติดตามการเกิดโรคในทั้ง 2 กลุม
Co-intervention การที่ผูถูกทดลองไดรับ intervention อื่นๆ ที่นอกเหนือจาก intervention ที่
กําลังทดลองอยู เชน การแนะนําผูปวยความดันเลือดสูงใหออกกําลังกายขณะทําการทดลอง
ยาใหม
Confidence interval (CI) ชวงระยะของคาที่มั่นใจไดวา จะครอบคลุมคาที่แทจริงในประชา
กรที่ถูกสุมตัวอยางมา มักนิยมรายงานเปนรอยละ 95 เชน 95% CI = 5 - 15 แตอาจเปนรอย
ละ 90 หรือ 99 ก็ได
Confidence limits (CL) คาสูงสูดและต่ําสุดของ confidence interval
24

Confounding การเกิดความเบี่ยงเบนของความสัมพันธที่แทจริงระหวาง 2 ตัวแปร ที่เนื่อง


จากตัวแปรที่ 3
Confounding variable, confounder ตัวแปร (ที่ 3) ที่เบี่ยงเบนความสัมพันธที่แทจริงของ
2 ตัวแปร
Contamination การที่กลุม control ไดรับ intervention ของกลุมทดลอง ซึ่งแทที่จริงไมควร
เปนเชนนั้น
Control group, controls กลุมที่กําหนดใหเปนตัวเปรียบเทียบกับกลุมทดลอง
Control event rate (CER) ดู event rate
Correlation coefficient คาความสัมพันธระหวาง 2 ตัวแปรชนิด continuous มีคาระหวาง
–1 ถึง +1 โดยคาลบหมายถึงสัมพันธผกผันกัน และคาใกล 1 หรือ –1 แสดงถึงความ
สัมพันธเชิงเสนตรงมาก (linear relationship)
Correlation (ecological) study การศึกษาหาความสัมพันธโดยใชขอมูลกลุมบุคคลแทนที่
จะใชขอมูลของแตละบุคคล
Cost-benefit analysis การวิเคราะหคาใชจายโดยนําผลที่ได (คิดเปนตัวเงิน) มาหักลบกับ
เงินที่ลงทุน
Cost-effectiveness analysis การวิเคราะหคาใชจาย (คิดเปนตัวเงิน) ตอหนวยของผลที่ได
(ซึ่งไมไดวัดเปนตัวเงิน) นิยมวิเคราะหเปรียบเทียบระหวาง intervention ตางๆ
Cost-minimization analysis การวิเคราะหเปรียบเทียบคาใชจาย (คิดเปนตัวเงิน) เปรียบ
เทียบระหวางวิธีการตางๆ ที่ใหผล (health effect) เทากัน และเลือกวิธีการที่เสียคาใชจาย
นอยที่สุด
Cost-utility analysis การวิเคราะหคาใชจายตอหนวยอรรถประโยชน (utility) ซึ่งวัดเปน
quality gain เชน quality-adjusted life year (QALY) หรือระยะเวลา 1 ปที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี
Critical appraisal การประเมินคุณคาของรายงานการศึกษาวิจัย โดยคํานึงถึงความถูกตอง
(validity) ของการศึกษา และความสามารถประยุกตนําผลการศึกษาไปใช (application) ใน
เวชปฏิบัติ
25

Crossover study design การศึกษาที่ใหผูปวยกลุมหนึ่งเพียงกลุมเดียวไดรับวิธีการรักษาที่


ตองการเปรียบเทียบกันอยางนอย 2 วิธีขึ้นไป โดยสลับเวลาการไดรับแตละวิธี
Cross-sectional study การศึกษา ณ ชวงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยการสุมตัวอยางจากประชากร
ทั้งหมด และดูปจจัย (exposure) และผล (outcome) พรอมกันขณะกําลังศึกษา
Cumulative incidence สัดสวนของประชากรที่เกิดโรค โดยทุกคนในประชากรไดรับการ
ติดตามตั้งแตแรกพรอมกันขณะที่ยังไมมีใครเปนโรค เปน average risk ของการเกิดโรคใน
ประชากร
Decision analysis (or clinical decision analysis) การประยุกตการคํานวณมาพยากรณโรค
หรือผลการรักษาของผูปวยเพื่อการตัดสินใจภายใตเงื่อนไขของความนาจะเปน
Deduction กระบวนการที่ใชทฤษฎีหรือภาพรวม ไปอธิบายเหตุการณยอยแตละเหตุการณ
Descriptive epidemiology ระบาดวิทยาเชิงพรรณนาที่บรรยายเฉพาะขอมูลตัวแปร เชน
เวลา สถานที่ และบุคคล โดยไมมีการวิเคราะหความสัมพันธระหวางตัวแปร
Differential misclassification ดู misclassification
Dose-response relationship เกณฑหนึ่งของความสัมพันธเชิงเหตุและผลที่กลาวถึงขนาด
ของ outcome ที่ตองขึ้นอยูกับขนาดหรือปริมาณ exposure
Double-blind ดู blinding
Dropout ผูท่ไี มสามารถมาติดตามผลการทดลองหรือการรักษา
Ecological fallacy ความผิดพลาดของการสรุปความสัมพันธที่ไดจากการศึกษาขอมูลจาก
กลุมแทนที่จะศึกษาขอมูลจากแตละบุคคล
Ecological survey การศึกษาขอมูลที่มีลักษณะเปนกลุมกอน (aggregated data) ของประชา
กร ไมใชขอมูลของแตละคน เพื่อหาความสัมพันธระหวางปจจัยเสี่ยง (risk factor) กับผล
(outcome) ที่เกิดขึ้น
Effectiveness ประสิทธิผลที่เกิดขึ้นจากการสถานการณจริง ดู efficacy
Efficacy ประสิทธิผลที่เกิดขึ้นจากสถานการณในอุดมคติ ดู effectiveness
Efficiency ประสิทธิภาพ หรือผลที่เกิดขึ้นตอหนวยทรัพยากรที่ลงทุน
26

Error, type 1 (alpha error) ความผิดพลาดเนื่องจากไปปฏิเสธ null hypothesis ที่เปน


ความจริง หรือการยอมรับวามีความแตกตางในขณะที่ความเปนจริงไมมี
Error, type 2 (beta error) ความผิดพลาดเนื่องจากไปรับ null hypothesis ที่เปนเท็จ หรือ
การยอมรับวาไมมีความแตกตางในขณะที่ความเปนจริงมีความแตกตาง
Event rate อัตราการเกิดเหตุการณ เชน EER (experimental event rate) คือ สัดสวนของ
คนไขที่หายจากการรักษาดวยวิธีที่ทดลองอยู สวน CER (control event rate) คือ สัดสวน
ของคนไขที่หายจากการรักษาดวยวิธีที่เปรียบเทียบกัน สําหรับ PEER (patient expected
event rate) หมายถึงสัดสวนของผูปวยที่คาดหวังวาจะหายโดยไมไดรับการรักษาหรือไดรับ
การรักษาแบบเดิม ดู treatment effects
Evidence-based health care การประยุกตใชความรูทางการแพทยเชิงหลักฐาน (evidence-
based medicine) ในสาขาวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการแพทยและสาธารณสุข เชน เศรษฐ
ศาสตรสาธารณสุข การบริหารจัดการ
Evidence-based medicine การใชหลักฐานที่ดีที่สุดทางการแพทยที่มีอยูในการตัดสินใจดู
แลรักษาผูปวย โดยหลักฐานนั้นตองมาจากการวิจัยที่ดีและเปนระบบ
Experimental event rate (EER) ดู event rate
Exposure การที่ไดรับหรือสัมผัสกับปจจัย
External validity ดู validity
False negative ผลทดสอบที่เปนลบในผูที่ปวยจริง
False positive ผลทดสอบที่เปนบวกในผูที่ไมปวยจริง
Gold standard การทดสอบหรือวิธีการวินิจฉัยที่เปนมาตรฐานสําหรับเปรียบเทียบ หากให
ผลบวกหรือลบใหถือเปนขอยุติ
Hawthorne effect ผลดีที่เกิดขึ้นเนื่องจากการที่ไดรับการดูแลเอาใจใส
Hierarchy of evidence ระดับคุณภาพความนาเชื่อถือของการศึกษาหรืองานวิจัย แบงออก
เปน
I: หลักฐานจาก randomized controlled trial อยางนอย 1 study
II-1 หลักฐานจาก controlled trial ที่ไมมี randomization
27

II-2 หลักฐานจาก cohort หรือ case-control studies ที่ควรมีมากกกวา 1 การศึกษา


II-3 หลักฐานจาก uncontrolled studies
III หลักฐานจากประสบการณ ความเห็น หรือรายงานเชิงพรรณนา (case report / series)
Historical control กลุมเปรียบเทียบที่ขอมูลไดรับคนละ (กอน) เวลาที่เก็บขอมูลกลุม
ทดลอง
Hypothesis สมมติฐาน หรือการคาดเดา แบงออกเปน
-null hypothesis (H0) สมมติฐานของความไมแตกตาง หรือไมคาดวาจะแตกตางกันระหวาง
กลุม
-alternative hypothesis (HA) สมมติฐานทางเลือกที่คาดวาจะแตกตางกันระหวางกลุม
Inception cohort กลุมผูปวยที่เริ่มมีอาการโรคพรอมกัน (ระยะเดียวกันของโรค)
Indirect standardizeation/adjustment ดู standardization
Inference กระบวนการสรุปผลโดยอาศัยขอเท็จจริงหรือการสังเกตตางๆ เชน inferential
statistic หมายถึงการสรุปผลและแปลผลขอมูลดวยวิธีการสถิติ
Information bias อคติในการวัด exposure หรือ outcome เนื่องจากไดรับขอมูลผิดพลาด
Informed consent การที่ผูถูกทดลอง อนุญาตโดยสมัครใจหลังจากไดรับทราบขอมูลผลดี
ผลเสียของการทดลอง
Intention-to-treat analysis วิธีการวิเคราะหขอมูลที่ไมสนใจวา ผูปวยจะไดเปลี่ยนแปลง
วิธีการรักษาหรือไมหลังจากเริ่มทดลองไปแลว โดยใหถือวา ผูปวยไดรับวิธีการรักษาตามที่
ถูกสุมตั้งแตตน
Internal validity ดู validity
Kappa ความสอดคลองของการวัด 2 ครั้ง หรือผูวัด 2 คน คํานวณจากสูตร
(P0 – Pc) / (1 – Pc) P0 = observed agreement, Pc = chance agreement
Lead-time bias ความผิดพลาดในการวัดการรอดชีพเนื่องจากการตรวจคัดกรองที่สามารถ
ตรวจพบผูเปนโรคกอนที่จะมีอาการ แตหากการรอดชีพไมเปลี่ยนแปลง จะทําใหเขาใจผิด
วา มีอายุ (การรอดชีพ) นานขึ้น
28

Length bias ความผิดพลาดในการวัดการรอดชีพเนื่องจากความรุนแรงของแตละโรคไมเทา


กัน และการตรวจคัดกรองพบมักจะขึ้นอยูกับความรุนแรงของโรคนั้นๆ (รุนแรงนอย ตรวจ
คัดกรองพบไดเร็ว)
Likelihood ratio (LR) อัตราสวนระหวางโอกาสไดผลการทดสอบวินิจฉัยอยางเดียวกันใน
ผูที่เปนโรค ตอผูไมเปนโรค
Positive LR = Sensitivity / (1 – Specificity)
Negative LR = (1 – Sensitiivity ) / Specificity
Meta-analysis การทบทวนรายงานการศึกษาตางๆ อยางเปนระบบโดยการใชวิธีการทาง
คณิตศาสตรเพื่อสรุปผลภาพรวม
Misclassifaction การจัดกลุมผิด เชนจัดกลุมมีปจจัยเปนกลุมไมมีปจจัย แบงออกเปน
-differential misclassification จัดกลุมผิดโดยโอกาสจัดกลุมผิดเกิดขึ้นไมเทากันใน
ทั้งสองกลุม
-non-differential misclassification จัดกลุมผิดโดยโอกาสจัดกลุมผิดเกิดขึ้นเทากันใน
ทั้งสองกลุม
Negative predictive value (NPV) สัดสวนของผูไดผลการทดสอบเปนลบที่ไมเปนโรคจริง
Null hypothesis ดู hypothesis
Number needed to treat (NNT) จํานวนผูปวยที่ตองไดรับการรักกษาดวยวิธีใหมหาก
ตองการใหหายเพิ่มขึ้นอีก 1 คน มีคาเทากับ 1 / ARR
Observational study การศึกษาวิจัยที่มิไดมีการทดลองหรือให intervention แตเปนการเฝา
สังเกตเหตุการณที่เกิดขึ้นเองในธรรมชาติ
Odds อัตราสวนระหวางโอกาสที่จะเกิดเหตุการณกับโอกาสที่จะไมเกิดเหตุการณนั้น หรือ
p / (1 - p)
Odds ratio อัตราสวนระหวาง 2 odds เชน อัตราสวนระหวาง odds of case (อัตราสวน
ระหวางโอกาสที่จะพบ exposure ในผูที่เปนโรคกับโอกาสที่จะไมพบ exposure ในผูที่เปน
โรค) กับ odds of control (อัตราสวนระหวางโอกาสที่จะพบ exposure ในผูที่ไมเปนโรคกับ
โอกาสที่จะไมพบ exposure ในผูที่ไมเปนโรค)
29

Outbreak epidemic ที่จํากัดขอบเขตพื้นที่ เชน ในหมูบาน โรงเรียน


p-vale (probability value) โอกาสที่จะไดคาสถิติเทากับหรือมากกวาที่พบในกลุมตัวอยาง
หาก null hypothesis เปนจริง
Patient expected event rate (PEER) ดู event rate
Power อํานาจในการตรวจสอบความแตกตางที่มีอยูจริง (ถามี) มีคาเทากับ 1- beta ดู error
Type II
Positive predictive value (PPV) สัดสวนของผูไดผลการทดสอบเปนบวกที่เปนโรคจริง
Post-test odds อัตราสวนระหวางโอกาสที่จะเปนโรคกับโอกาสที่จะไมเปนโรคหลังการ
ทดสอบ มีคาเทากับ pre-test odds x likelihood ratio
Post-test probability สัดสวนของผูไดผลการทดสอบนั้นและเปนโรคจริง มีคาเทากับ
post-test odds / 1 + post-test odds
Precision ความแมนยํา ความสามารถวัดไดคาเดิมทุก ๆ ครั้ง (reliability, repeatability,
reproducibility) แตคาที่วัดอาจไมถูกตอง (valid) ตามคาที่เปนจริง
Pre-test odds อัตราสวนระหวางโอกาสที่จะเปนโรคกับโอกาสที่จะไมเปนโรคกอนการ
ทดสอบ มีคาเทากับ pre-test probability / (1 + pretest probability)
Pre-test probability or prevalence สัดสวนของประชากรที่เปนโรค ณ เวลานั้น (point
prevalence) หรือชวงเวลานั้น (period prevalence)
Publication bias อคติในการตีพิมพที่มักจะตีพิมพรายงานที่ใหผลการศึกษาในเชิงบวกหรือ
ไดผลดีเทานั้น
Random error ความผิดพลาดแบบสุม เกิดเนื่องจากความบังเอิญที่ไดตัวอยางที่ไมเปนตัว
แทนของประชากร
Randomization (or random allocation) วิธีการสุมที่คลายกับการโยนเหรียญเพื่อกําหนด
วิธีการรักษา เชน โยนไดหัวจะใหวิธีรักษาแบบหนึ่ง และไดกอยจะใหวิธีรักษาอีกแบบหนึ่ง
ที่เปรียบเทียบกัน ซึ่งมุงหวังใหทั้งสองฝาย (กลุมทดลองและกลุมควบคุม) มีปจจัยตัวแปรที่
จะมีผลตอ outcome กระจายเทาเทียมกัน
30

Randomized controlled clinical trial (RCT) การทดลองเปรียบเทียบวิธีการรักษาที่ผูปวย


แตละคนถูก randomize ใหไดรับการรักษาดวยวิธีใหมหรือวิธีที่เปรียบเทียบ
Recall bias อคติจากการที่จําขอมูลในอดีตไมไดหรือจําผิดพลาด
Relative risk reduction (RRR) ดู treatment effects
Research กระบวนหาองคความรูใหมอยางเปนระบบ
Risk โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ เชน เปนโรค หรือ ตาย
Risk ratio (RR) อัตราสวนระหวางความเสี่ยง (โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ) ในกลุมทดลอง
กับ ความเสี่ยง (โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ) ในกลุมเปรียบเทียบ RR = EER / CER
Screening การตรวจคัดกรอง หรือการคนหาผูที่เปนโรคแตยังไมมีอาการของโรคปรากฏ
Sensitivity สัดสวนของผูเปนโรคจริงที่ใหผลการทดสอบเปนบวก มีคาเทากับ a / a + c
SnNout การทดสอบที่มี sensitivity (Sn)สูง หากไดผลลบ (N) จะเปนการ rule out
Specificity สัดสวนของผูไมเปนโรคจริงที่ใหผลการทดสอบเปนลบ มีคาเทากับ d / b + d
SpPin การทดสอบที่มี specificity (Sp)สูง หากไดผลบวก (P) จะเปนการ rule in
Standardization กระบวนการปรับใหมีมาตรฐานเดียวกันเพื่อใหเปรียบเทียบกันได เชน
ประชากร 2 กลุมที่มีโครงสรางอายุไมเหมือนกัน หากเปรียบเทียบตัวชี้วัดอื่นๆ โดยไมปรับ
ใหโครงสรางอายุเหมือนกันอาจแปลผลผิดพลาดได
-direct standardization ใชจํานวนประชากรมาตรฐานหรือประชากรอางอิงมาเปนตัวปรับ
-indirect standardization ใชอัตรามาตรฐานหรืออัตราอางอิงมาเปนตัวปรับ
Statistical significance นัยสําคัญทางสถิติ หรือการเกิดเหตุการณที่มีโอกาสเกิดขึ้นไดนอย
พิจารณาจากคา p-value หากต่ํากวา 0.05 มักจะถือวามีนัยสําคัญทางสถิติ
Survival analysis การวิเคราะหการรอดชีพ เปนกระบวนการที่ใชวิธีการทางสถิติในการ
ประเมินการรอดชีพจากโรคหรือจากการไดรับการรักษาปองกันวิธีตางๆ
Systematic error ดู bias
Systematic review การสรุปผลโดยคนหารายงานวิจัยตางๆ อยางเปนระบบและประเมิน
คุณคา (critical appraisal) ของบทความรวมกับวิธีการทางสถิติเพื่อสรุปผลภาพรวมของราย
งานวิจัยทั้งหมด
31

Treatment effects ไดแก


ARR (absolute risk reduction) = EER - CER
RRR (relative risk reduction) = (EER - CER) / CER ถาวัด good outcome
RRI (relative risk increase) = (EER - CER) / CER ถาวัด bad outcome
ABI (absolute benefit increase) = ARR
RBI (relative benefit increase) = RRR
NNT (number needed to treat) = 1 / ARR ถาเปน good outcome
NNH (number needed to harm) = 1 / ARR ถาเปน bad outcome
EER = experimental event rate; CER = control event rate
Validity การวัดไดคาถูกตองตามคาที่เปนจริง หรือการที่ไมมีความผิดพลาดชนิดมีระบบที่
อธิบายได (ไมมี bias)
Validity, study ความถูกตองของการศึกษากับการนําไปประยุกตใช แบงออกเปน
-internal validity สามารถนําไปประยุกตใชในประชากรที่สุมตัวอยางมา
-external validity สามารถนําไปประยุกตใชนอกประชากรที่สุมตัวอยางมา
(generalizability)

You might also like