You are on page 1of 10

ทุกวันนี้ไม่ว่าจะมองไปในทิศทางใด ทั้งในแวดวงธุรกิจ หรือจากสื่อสาธารณะในรูปแบบต่างๆ คงจะ

ต้องมีอย่างน้อยหนึ่งครั้งในหนึ่งวันที่จะได้รับรู้รับฟังว่า AEC ได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการด�ำเนิน


ธุรกิจและการก�ำหนดกลยุทธ์ ทั้งการตลาด รวมทั้งการผลิตในเกือบทุกหมวดสาขาธุรกิจอย่าง
แพร่หลาย จนกระทั่งมีค�ำกล่าวว่า AEC สร้างกระแสความน่าสนใจในการท�ำธุรกิจระดับภูมิภาคไป
แล้ว ทัง้ นี้ เครือธนาคารกสิกรไทยมองว่า AEC หรือประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic
Community) ไม่ใช่เป็นแค่เพียงกระแสฟีเวอร์ทเี่ กิดขึน้ และจบลงในระยะเวลาสัน้ ๆ แต่ในความเป็นจริง
การรวมเป็น AEC หรือประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ก�ำลังจะเกิดขึ้นในปี 2558 จะเป็นจุดเริ่มต้น
ของพัฒนาการทางเศรษฐกิจภายในภูมิภาคที่ส�ำคัญในระยะยาว และเป็นเรื่องที่ผู้ประกอบธุรกิจควร
ให้ความสนใจอย่างจริงจัง

บริบทของ AEC ส่วนหนึง่ ประกอบด้วยการเปิดประตูเพือ่ เชือ่ มโยงความร่วมมือด้านเศรษฐกิจของ


ประเทศในกลุม่ อาเซียน (ASEAN) เข้าด้วยกัน ไม่วา่ จะเป็นไทย มาเลเซีย ฟิลปิ ปินส์ อินโดนีเซีย สิงคโปร์
บรูไน สปป.ลาว กัมพูชา เวียดนาม และพม่า ด้วยขนาดของเศรษฐกิจและจ�ำนวนประชากรรวมกัน
ที่ไม่แพ้ประเทศมหาอ�ำนาจ เมื่อผสมผสานกับบทบาทของประเทศผู้น�ำเศรษฐกิจเอเชีย เช่น ญี่ปุ่น
และจีน ภายใต้กรอบ AEC PLUS ที่เครือธนาคารกสิกรไทยมุ่งเน้นให้ความสนใจเป็นพิเศษ
ความร่วมมือระหว่างกันด้านการค้า การบริการ การลงทุน และระบบโลจิสติกส์ที่เชื่อมทุกประเทศ
เข้าด้วยกันภายใต้กรอบ AEC PLUS นี้ จะช่วยหนุนให้การด�ำเนินธุรกิจในภูมิภาคมีความโดดเด่น
และมีความน่าสนใจอย่างมาก

และด้วยเล็งเห็นถึงโอกาสทางการค้าระดับภูมิภาคส�ำหรับลูกค้าของเครือธนาคารกสิกรไทยใน
ทุกแวดวงธุรกิจ เครือธนาคารกสิกรไทยจึงได้จัดท�ำเอกสาร AEC PLUS Handbook นี้ขึ้น โดยมุ่ง
หวังทีจ่ ะสร้างความตระหนักต่อการผนึกก�ำลังร่วมกันของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนรวมทัง้ ประเทศ
พันธมิตรส�ำคัญ และท�ำความรู้จักกลุ่มประเทศต่างๆ ได้อย่างทั่วถึงในทุกมุม เพื่อเตรียมพร้อมต่อ
โอกาสทางธุรกิจ ขณะเดียวกันก็ไม่พลาดที่จะตั้งรับความท้าทายในการแข่งขันที่จะทวีความรุนแรง
ขึ้นจากคู่แข่งต่างชาติได้อย่างเหมาะสม ทั้งยังสามารถใช้ข้อมูลจาก AEC PLUS Handbook ฉบับ
นี้ เป็นส่วนหนึ่งในการก�ำหนดแผนกลยุทธ์ธุรกิจในองค์กรของท่านด้วยมุมมองที่มีต่อ AEC PLUS
อย่างครอบคลุมและครบครัน ทันต่อสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่จะเป็นไปในระยะข้างหน้า โดย
เครือธนาคารกสิกรไทยมีความมุ่งมั่นที่จะติดตาม วิเคราะห์ เจาะลึกข่าวสารและความเป็นไป
ในประเทศต่างๆ เพื่อส่งมอบประสบการณ์อันเป็นประโยชน์ต่อก้าวย่างความส�ำเร็จของท่านใน
AEC PLUS ที่ก�ำลังจะหลอมรวมเป็นหนึ่งเดียวในอีก 3 ปีข้างหน้านี้

ท้ายที่สุด เครือธนาคารกสิกรไทยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านจะได้รับประโยชน์จากการสัมมนา
ในวันนี้และจากเนื้อหาใน AEC PLUS Handbook ไม่มากก็น้อย
เครือธนาคารกสิกรไทย
4
PHILIPPINES
ประเทศฟิลปิ ปินส์

• ฟิลิปปินส์มีความน่าสนใจด้วยมูลค่า GDP ใกล้เคียงกับสิงคโปร์ มาเลเซีย รวมทั้งไทย ทั้งยัง


เป็นตลาดแรงงานที่มีทักษะแต่ต้นทุนค่าจ้างต�่ำกว่าไทย และมีจ�ำนวนประชากรเป็นอันดับ 2 ใน
อาเซียนเป็นรองเพียงอินโดนีเซีย

• ฟิลิปปินส์อยู่ในเขตที่เรียกว่า ‘Ring of Fire’ เพราะมีภูเขาไฟจ�ำนวนมาก อุดมด้วยทองแดง


ทองค�ำ เงิน โครเมียม และนิกเกิล โดยเป็นผู้ผลิตทองแดงรายใหญ่ที่สุดในอาเซียน และเป็น
1 ใน 10 ผู้ผลิตทองค�ำรายใหญ่ที่สุดของโลก

• เศรษฐกิจหลักขับเคลื่อนด้วยภาคบริการกว่าครึ่งหนึ่งของประเทศ ได้แก่ ค้าปลีก ธุรกิจรับจ้าง


บริหารระบบธุรกิจ (Business Process Outsourcing) การเงิน และอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งการ
เปิดเสรีภาคบริการของอาเซียนอาจช่วยผลักดันเศรษฐกิจโดยรวม

• ญี่ปุ่นเป็นนักลงทุนรายใหญ่ด้วยสัดส่วน 1 ใน 3 ของการลงทุนจากต่างประเทศ ขณะที่จีนยังมี


สัดส่วนค่อนข้างน้อย

34
เครื่องชี้เศรษฐกิจที่ส�ำคัญ
รายได้ประชาชาติและอัตราการเติบโตของ GDP ร้อยละ
อัตราเงินเฟ้อ
พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ร้อยละ 20
8,000 10
7,000 GDP 2555-2558 8 15
6,000
เฉลีย่ ร้อยละ 4.7
6
5,000 10
3.7
4,000 4
4.8
3,000 2 5
2,000
0
1,000 0
213.1 BN KH ID LA MY MM PH SG TH VN CH JP
0 -2
BN KH ID LA MY MM PH SG TH VN CH JP
-5
GDP (LHS) GDP Growth (RHS)

ประชากรและรายได้ต่อหัว ค่าจ้างแรงงาน
ล้านคน เหรียญสหรัฐฯ เหรียญสหรัฐฯ/วัน
1,600 60,000 80
1,400 50,000 70
1,200 ค่าจ้างแรงงาน
60 ต�ำ่ กว่าไทย
40,000
1,000 50
800 ประชากรอันดับ 2 30,000
ของอาเซียน 40
600 20,000 30
400 20
2,223 10,000 7.55
200 10
95
0 0 0
BN KH ID LA MY MM PH SG TH VN CH JP BN KH ID LA MY MM PH SG TH VN CH JP

ประชากร (LHS) รายได้ตอ่ หัว (RHS)
หมายเหตุ: ค่าจ้างจีนเฉลีย่ จากเมืองเศรษฐกิจของจีน 17 เมือง

มูลค่าการส่งออกและน�ำเข้า เงินลงทุนจากต่างประเทศ (ข้อมูลปี 2553)


ล้านเหรียญสหรัฐฯ พันล้านเหรียญสหรัฐฯ
450,000 2,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
400,000 1,800 120,000
การส่งออกค่อนข้างน้อย
350,000 เมือ่ เทียบกับอาเซียนอืน่ ๆ 1,600 100,000 แม้ขนาดเศษฐกิจและประชากร
300,000 ทีม่ ขี นาดเศรษฐกิจใกล้เคียงกัน 1,400 จะน่าสนใจแต่พบว่าการลงทุน
1,200 80,000 จากต่างประเทศยังไม่สงู นัก
250,000
1,000 60,000
200,000
800
150,000 40,000
48,305
60,496

600
100,000 400 20,000
50,000 200 1,713
0
0 0 BN KH ID LA MY MM PH SG TH VN CH JP
BN KH ID LA MY MM PH SG TH VN CH JP
(RHS) (RHS)
Exports Imports

ที่มา : ศูนย์วิจัยกสิกรไทย รวบรวมและคาดการณ์ โดยข้อมูลจาก หน่วยงานสถิติของแต่ละประเทศ ASEAN Secretariat, IMF,


UNCTAD (ข้อมูลปี 2554 ยกเว้นระบุ)

35
สถานการณ์เศรษฐกิจทัว่ ไปปี 2555
ประเทศฟิลปิ ปินส์ในช่วงทีผ่ า่ นมา สามารถรับมือกับปัญหาเศรษฐกิจถดถอยทัว่ โลกได้คอ่ นข้างดี
เมือ่ เทียบกับประเทศเพือ่ นบ้าน เนือ่ งจากมีอตั ราการบริโภคภายในประเทศสูง พึง่ พาการส่งออกน้อย
ราวร้อยละ 30 ของ GDP และได้รับรายได้จากแรงงานชาวฟิลิปปินส์ที่ท�ำงานอยู่ในต่างประเทศ
ซึ่งเป็นปัจจัยที่ช่วยเสริมฐานะดุลบัญชีเดินสะพัดให้เกินดุลอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าดุลการค้าจะขาดดุล
เสมอมาก็ตาม
สถานที่ตั้งทางยุทธศาสตร์ของฟิลิปปินส์เอื้อให้ประเทศฟิลิปปินส์กลายเป็นประตูส�ำคัญส�ำหรับ
นักลงทุนในการเข้ามาสู่ภูมิภาคอาเซียน ด้วยระยะทางในการเดินทางสู่ฮ่องกงน้อยกว่า 2 ชั่วโมง
และภายใน 4 ชัว่ โมงสูเ่ มืองหลักอืน่ ๆ ในภูมภิ าคอาเซียน นอกจากนี้ ยังเป็นทางผ่านของท่าเรือขนส่ง
สินค้าระหว่างประเทศที่ส�ำคัญต่างๆ อีกด้วย
เศรษฐกิจฟิลิปปินส์ในไตรมาสแรกขยายตัวร้อยละ 4.6
(YoY) ขณะที่อัตราเงินเฟ้อเดือนพฤษภาคม เพิ่มขึ้นร้อยละ
2.9 (YoY) ต�่ำกว่าเดือนเมษายนที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.0 (YoY)
อันเนื่องมาจากราคาน�้ำมันและค่าสาธาณูปโภคที่ลดลง รวมทั้ง
ราคาอาหารที่คงที่ อย่างไรก็ดี อัตราเงินเฟ้อดังกล่าวยังอยู่ใน
ช่วงที่รัฐบาลตั้งเป้าเอาไว้ที่ร้อยละ 3-5 ท�ำให้ธนาคารกลางน่า
จะยังคงอัตราดอกเบีย้ นโยบายไว้ทรี่ อ้ ยละ 4 จนถึงไตรมาสแรก
ของปีหน้า เพื่อกระตุ้นการบริโภคในประเทศให้ยังคงขยายตัว
ทดแทนความต้องการจากต่างประเทศในช่วงที่เศรษฐกิจโลก
ยังมีปัญหา โดยมุ่งให้เศรษฐกิจมีการขยายตัวร้อยละ 5-6 ใน
ปี 2555 นี้
36
แนวโน้มเศรษฐกิจปี 2555 และปี 2556
เศรษฐกิจฟิลิปปินส์ในปี 2555 และในปีถัดไปน่าจะขยายตัวได้จ�ำกัด เนื่องจากคงไม่อาจ
หลีกเลี่ยงแรงกดดันของเศรษฐกิจโลกที่จะส่งผลผ่านการส่งออกและการลงทุนในฟิลิปปินส์บ้าง
แม้ยุโรปยังไม่ใช่ตลาดหลัก แต่ญี่ปุ่นและสหรัฐฯ รวมแล้วครองส่วนแบ่งตลาดการส่งออกร้อยละ 30
และส่วนแบ่งการลงทุนร้อยละ 50 ซึง่ หากภาคการส่งออกและการลงทุนซบเซาลงตามภาวะเศรษฐกิจ
โลกโดยรวมก็ย่อมจะกระทบต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจของฟิลิปปินส์เช่นกัน
นอกจากนี้ รายได้หลักจากแรงงานฟิลปิ ปินส์ทหี่ ลัง่ ไหลออกไปท�ำงานนอกประเทศทีเ่ ป็นแรงขับเคลือ่ น
เศรษฐกิจทีส่ ำ� คัญก็อาจได้รบั ผลกระทบหากวิกฤตหนีใ้ นยุโรปลุกลามและยืดเยือ้ ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากประเทศ
ทีแ่ รงงานฟิลปิ ปินส์นยิ มเดินทางไปท�ำงานนั้นล้วนแต่มีความเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจยุโรป อาทิ สหรัฐฯ
แคนาดา ซาอุดิอาระเบีย สหราชอาณาจักร ญี่ปุ่น สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สิงคโปร์ อิตาลี เยอรมนี
และนอร์เวย์ เป็นต้น
อย่างไรก็ตาม เศรษฐกิจฟิลิปปินส์ยังคงพึ่งพาการบริโภคและการลงทุนในประเทศเป็นส�ำคัญ
จึงน่าจะรักษาการเติบโตในเกณฑ์บวกได้ รวมทัง้ ในปัจจุบนั ภาวะเงินเฟ้อในประเทศก็อยูใ่ นเกณฑ์เหมาะสม
การใช้มาตรการต่างๆ เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจจึงน่าจะเป็นไปได้อย่างราบรื่น

ประเด็นเศรษฐกิจทีต่ อ้ งจับตามอง
ประเด็นสิทธิเหนือหมู่เกาะปะการังในทะเลจีนใต้ บริเวณหมู่เกาะ Scorborough Shoal
ระหว่างฟิลิปปินส์กับจีน ซึ่งเป็นพื้นที่จับสัตว์น�้ำที่อุดมสมบูรณ์ โดยทางฝั่งจีนเพิ่มแรงกดดันต่อ
ฟิลิปปินส์โดยระงับกิจกรรมทางเศรษฐกิจบางรายการ และเพิ่มความเข้มงวดในการน�ำเข้าสินค้า
จากฟิลปิ ปินส์มากขึน้ ซึง่ หากสถานการณ์ยดื เยือ้ อาจกระทบต่อเศรษฐกิจฟิลปิ ปินส์บางส่วน เนือ่ งจาก
จีนเองก็เป็นตลาดส่งออกอันดับ 3 ของฟิลปิ ปินส์ ด้วยสัดส่วนร้อยละ 12 ของการส่งออกของฟิลปิ ปินส์
รองจากญี่ปุ่นและสหรัฐฯ

อัตราการเติบโตของเศรษฐกิจฟิลิปปินส์
%, YoY
ปี 2547 - 2558
10
7.6
8 6.7 6.6
6 5.2 4.7 5.0
4.2 3.7
4 4.8 4.2 5.0
1.1
2
0
2547 2549 2551 2553 2555 2557
Source : IMF and KResearch IMF Estimates

37
ธุรกิจต่างชาติทเ่ี ข้ามาลงทุนในประเทศฟิลปิ ปินส์
ฟิลิปปินส์ได้จัดท�ำแผนในการส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศอย่างเป็นรูปธรรมภายใต้ชื่อ
“Philippine Investments Promotional Plan” (PIPP) และใช้เป็นแผนในการพัฒนาการตลาดใน
ระยะกลางของประเทศ ในช่วงปี 2553-2557 โดยตามแผนดังกล่าวอุตสาหกรรมที่ได้รับส่งเสริม
การลงทุนในฟิลปิ ปินส์ในระยะกลาง มีดว้ ยกัน 8 ประเภทคือ อุตสาหกรรมการเกษตร (Agro Industry)
บริการธุรกิจรับจ้างบริหารระบบธุรกิจและบริการด้านโทรคมนาคม (Business Process Outsourcing
Industry : BPO/IT Services) อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics) อุตสาหกรรมพลังงาน
และการผลิตกระแสไฟฟ้า (Energy/Electricity) อุตสาหกรรมโลจิสติกส์ (Logistics) อุตสาหกรรม
เหมืองแร่ (Mining) อุตสาหกรรมต่อเรือ (Shipbuilding) และการท่องเทีย่ ว (Tourism) อุตสาหกรรม
ดังกล่าวบ่งบอกถึงทิศทางการเติบโตของอุตสาหกรรมและโอกาสที่นักลงทุนจะเข้าไปประกอบธุรกิจ
ในฟิลิปปินส์

ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ ขั บ เคลื่ อ นด้ ว ยภาคบริ ก ารกว่ า ครึ่ ง หนึ่ ง ของ GDP ท� ำ ให้ ใ นปี 2558 ที่ ก� ำ ลั ง
จะมาถึงเมื่อประเทศสมาชิกอาเซียนสามารถบรรลุข้อตกลงการเปิดเสรีภาคบริการได้ส�ำเร็จตาม
เป้าหมายของการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ก็จะช่วยให้การลงทุนในภาคบริการทยอย
เข้าสู่ฟิลิปปินส์มากขึ้น โดยกรอบความร่วมมือที่จะเป็นประโยชน์กับผู้ประกอบการและนักลงทุน
ในภูมภิ าคอาเซียนด้วยกัน คือ (ASEAN Framework Agreement on Services : AFAS) ทีฟ่ ลิ ปิ ปินส์
เปิดเสรีไปแล้ว 10 สาขาหลักตามกรอบของ WTO เหลือเพียง 2 สาขาคือ บริการทางการเงิน และ
บริการด้านการศึกษาที่ยังไม่เปิดเสรีภายใต้กรอบ AFAS

ญี่ปุ่นก็เป็นผู้ลงทุนรายใหญ่ในฟิลิปปินส์ด้วยสัดส่วนร้อยละ 30 ของการลงทุนทั้งหมด ตาม


มาด้วยสหรัฐฯ (ร้อยละ 27.5) สิงคโปร์ (ร้อยละ 11.1) เกาหลีใต้ ฮ่องกง และเนเธอร์แลนด์
ตามล�ำดับ โดยอุตสาหกรรมที่มีการลงทุนมากป็นล�ำดับต้นๆ ในฟิลิปปินส์ ได้แก่ อุตสาหกรรม
การผลิตสูงเป็นอันดับ 1 ด้วยสัดส่วนถึงร้อยละ 54 ของเม็ดเงินลงทุนจากต่างประเทศทั้งหมด
รองลงมาคือ การผลิตไฟฟ้า การเงินและอสังหาริมทรัพย์ เหมืองแร่ ธุรกิจค้าขาย และธุรกิจบริการ

ทราบหรือไม่ว่ากิจการที่ห้ามนักลงทุนต่างชาติลงทุนแบ่งได้หลายประเภท
ทราบหรือไม่ ?

• สื่อสารมวลชน • การใช้ทรัพยากรทางทะเลภายในประเทศ
• การประกอบวิชาชีพทีเ่ กีย่ วกับ วิศวกรรม น่านน�้ำ ยกเว้นเขตเศรษฐกิจ
บางรายการ การแพทย์ การบัญชี สถาปนิก • การเป็นเจ้าของ การด�ำเนินงาน และการ
การวางแผนสิง่ แวดล้อม เคมี อาชญาวิทยา บริหารจัดการทีเ่ กีย่ วกับห้องควบคุมการบิน
ป่าไม้ ธรณีวิทยา และกฎหมาย เป็นต้น (Cockpits)
• ธุรกิจค้าปลีกขนาดเล็ก มีเงินทุนจะทะเบียน • การผลิต ซ่อมแซม กักเก็บ และ/หรือ
ต�่ ำ กว่ า 2,500,000 เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ จ�ำหน่ายอาวุธนิวเคลียร์
ยกเว้นการค้าปลีกสินค้าเทคโนโลยีขนั้ สูง • การผลิ ต ซ่ อ มแซม กั ก เก็ บ และ/หรื อ
หรือสินค้าฟุ่มเฟือย จ� ำ หน่ า ยสารเคมี อาวุ ธ ชี ว ภาพ และแร่
• หน่วยงานรักษาความปลอดภัย ที่ท�ำให้เกิดอันตราย
• การท�ำเหมืองแร่ขนาดเล็ก • การผลิตดอกไม้ไฟและสิ่งที่เกี่ยวข้อง

38
ธุรกิจทีไ่ ทยมีศกั ยภาพ
ในการลงทุนในประเทศฟิลปิ ปินส์
• นักลงทุนไทยในฟิลปิ ปินส์มไี ม่มากนัก ซึง่ มักจะเป็นการลงทุนของผูป้ ระกอบการรายใหญ่และ
เป็นแบรนด์ที่เป็นที่รู้จักกันดี โดยการลงทุนของไทยส่วนใหญ่อยู่ในเขต National Capital Region
ที่ตั้งของกรุงมะนิลา เมืองหลวงของฟิลิปปินส์ และพื้นที่ที่เป็นแหล่งวัตถุดิบ อาทิ
•การผลิตและแปรรูปอาหารทะเล ฟิลิปปินส์มีภูมิประเทศเป็นหมู่เกาะจึงเป็นที่ชัดเจนว่า
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับอาหารทะเลย่อมมีโอกาส ซึ่งปัจจุบันก็มีนักลงทุนไทยที่ลงทุนเอง
ทั้งหมดและจับมือกับนักธุรกิจท้องถิ่นท�ำการแปรรูปอาหารทะเล อาทิ แปรรูปกุ้ง ผลิตปลาทูน่า
กระป๋อง และพื้นที่อื่นทางตอนเหนือและตอนใต้ของฟิลิปปินส์ก็มีโอกาสค่อนข้างมาก
•ธุรกิจบริการค่อนข้างหลากหลาย เช่น การก่อสร้าง บริการด้านการเงิน บริการสุขภาพ
รวมทั้งธุรกิจบริการร้านอาหาร ที่เป็นที่รู้จักและกระจายไปทั่วประเทศกว่า 20 ร้าน เป็นอีกนัย
ที่ แ สดงว่ า อาหารไทยก็ เ ป็ น ที่ ชื่ น ชอบของคนฟิ ลิ ป ปิ น ส์ แต่ จ ะเน้ น ในเมื อ งใหญ่ เ ป็ น ส� ำ คั ญ
และทีน่ า่ สนใจคือการให้บริการสถานีบริการน�ำ้ มันกระจายตัวอยูห่ ลายแห่งตามเมืองใหญ่ดว้ ยเช่นกัน
•อุตสาหกรรมการผลิตของไทยพบว่าเป็นเครือข่ายซึ่งกันและกันของนักลงทุนไทย เช่น
การผลิ ต กระดาษในที่ นี้ เ ป็ น การผลิ ต เพื่ อ ท� ำ บรรจุ ภั ณ ฑ์ ใ ห้ แ ก่ อุ ต สาหกรรมอาหาร และยั ง เป็ น
เครือเดียวกันกับการผลิตเซรามิกและสุขภัณฑ์ เป็นต้น
• โอกาสของธุรกิจไทยในฟิลปิ ปินส์ยงั มีอกี มาก หากแต่ตอ้ งรูจ้ กั ฟิลปิ ปินส์ให้ลกึ ซึง้ กว่าปัจจุบนั
เพราะฟิลิปปินส์อาจไม่ใช่ประเทศยอดนิยมของนักลงทุนต่างชาติในอาเซียน รวมทั้งไทย แต่ขณะ
เดียวกันก็เป็นประเทศที่มีโอกาสการค้าและการลงทุนมากมายซ่อนอยู่ ได้แก่
•การน�ำเข้าสินค้าอาหารแปรรูปของฟิลิปปินส์ไม่มีข้อจ�ำกัดมากนัก นั่นก็สะท้อนว่าสินค้า
ดังกล่าวเป็นที่ต้องการอย่างมาก ยังสามารถขยายการผลิตอาหารอื่นๆ ที่เป็นที่ต้องการได้อีกด้วย
เช่น เครื่องดื่มนม เครื่องปรุงรส เป็นต้น ขณะที่สินค้าเกษตรกรรมและปศุสัตว์ล้วนมีกฎระเบียบ
ซั บ ซ้ อ น อาทิ ห้ า มน� ำ เข้ า ไก่ แ ปรรู ป ดั ง นั้ น โอกาสเดี ย วของไทยคื อ การเข้ า ไปลงทุ น ผลิ ต และ
แปรรูปสินค้าเกษตรในฟิลิปปินส์เพื่อคว้าโอกาสทางการตลาด
•ธุรกิจยานยนต์ก็มีโอกาส แต่ยังไม่เป็นที่นิยมของนักลงทุนไทย ซึ่งในปัจจุบันสินค้าส่งออก
หลักของไทยไปฟิลิปปินส์ก็อยู่ในหมวดยานยนต์และส่วนประกอบ โดยการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
ในประเทศยังไม่เพียงพอกับความต้องการจึงต้องพึ่งพาการน�ำเข้าจากต่างประเทศ นอกจากนี้
สายสัมพันธ์ระหว่างฟิลิปปินส์กับญี่ปุ่นก็มีอย่างมาก อันจะเห็นได้จากญี่ปุ่นเป็นทั้งตลาดส่งออก
แหล่งน�ำเข้า และเม็ดเงินลงทุนหลักของฟิลิปปินส์ ซึ่งก็น่าจะเป็นโอกาสที่ไทยจะเป็นเครือข่าย
การผลิตยานยนต์ของญี่ปุ่นด้วยเช่นกัน
•การใช้ประโยชน์จาก “Ring of Fire” ทีธ่ รรมชาติให้มาท�ำให้ฟลิ ปิ ปินส์อดุ มด้วยแร่ธาตุมากมาย
แต่กระนัน้ ก็ดี การน�ำทรัพยากรดังกล่าวออกมาใช้ยงั จ�ำกัดอยู่ จึงเป็นโอกาสอย่างมากของนักลงทุนไทย
ในการขยายฐานการผลิตเพื่อผลิตและส่งกลับมายังไทย โดยเฉพาะในพื้นที่ Visayas ทางตอนกลาง
ตอนตะวันออกและตะวันตก ทั้งนี้การแข่งขันในธุรกิจนี้ยังมีน้อย เพราะการลงทุนในธุรกิจเหมืองแร่
มีค่อนข้างน้อยมากเมื่อเทียบกับการลงทุนด้านอื่น
39
KEY • สินค้าไทยเป็นทีย่ อมรับในฟิลปิ ปินส์อยูแ่ ล้ว แต่จำ� เป็นต้อง
SUCCESS ให้ความส�ำคัญกับราคาสินค้า เพราะประชากรส่วนใหญ่
FACTOR กว่าร้อยละ 90 มีรายได้ไม่สูงมากนัก โดยรายได้ต่อหัว
ต�่ำกว่าไทยถึงเท่าตัว ถ้าหากต้องการเจาะตลาดระดับบน
ที่เหลืออีกร้อยละ 10 ก็จ�ำเป็นต้องให้ความส�ำคัญกับ
คุณภาพสินค้า

ปัจจัย • มีลกั ษณะภูมปิ ระเทศเป็นเกาะแก่งคล้ายคลึงกับอินโดนีเซีย


เสี่ยง ท�ำให้โครงสร้างพื้นฐานยังไม่พร้อมและสะดวกมากนัก
พึงระวัง ทั้ ง ถนน สนามบิ น ระบบไฟฟ้ า ขาดแคลน รวมทั้ ง
ภัยธรรมชาติจากพายุฝนฟ้าคะนอง อาจเป็นอุปสรรค
ทางการค้าและการลงทุน ซึง่ นักลงทุนควรพิจารณาบริหาร
ต้นทุนให้รอบคอบ

ติดต่อ • Central Bank of Philippines www.bsp.gov.ph


หน่วยงาน • Department of Trade and Industry www.dti.gov.ph
และลิงค์ • Board of Investments www.boi.gov.ph/portal
ที่ส�ำคัญ • Philippines Chamber of Commerce and Industry
www.philippinechamber.com
• Bureau of Customs www.customs.gov.ph
• Philippines Business Registry www.business.gov.ph
• Philippines Goverment Portal www.gov.ph

40
แผนทีก่ ารลงทุนของธุรกิจไทย
ในประเทศฟิลปิ ปินส์
Luzon : สถานี
บริการน�้ำมัน

Luzon : อุดม
ด้วยหินอ่อน
ธุรกิจ : การ
ผลิตเครื่องใช้
ไฟฟ้า และ
San Fernando : อิเล็กทรอนิกส์
แปรรูปอาหาร (กุ้ง)
เขตการปกครอง National Capital Region เป็น
San Antonio : ศูนย์กลางเศรษฐกิจการลงทุน โดยการลงทุนจากไทย
โรงงานเซรามิก สุขภัณฑ์ กระจุกตัวอยู่ค่อนข้างมาก เป็นที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่
ของธุรกิจไทย
ธุรกิจไทยทีล่ งทุน : ร้านอาหารไทย ธนาคาร เซรามิก
และสุขภัณฑ์ การผลิดกระดาษและบรรจุภณ ั ฑ์ ธุรกิจ
Scarborough Shoal ก่อสร้าง อุปกรณ์ก่อสร้าง โรงแรม โรงพยาบาล ทูน่า
ข้อพิพาทระหว่างฟิลิปปินส์กับจีน กระป๋อง และสถานีบริการน�้ำมัน

Batangas : เขตเมืองหลวงและพื้นที่
โรงงานเซรามิก สุขภัณฑ์ ใกล้เคียง : เครื่องใช้
ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์
ร้านอาหารไทยในเมือง ร้านค้าปลีก การบริการ
Manila, Quezon City, สุขภาพและสปา
Makati City, IloIlo city
และ Cebu city
Western Visayas,
Central Visayas :
อุดมด้วยถ่านหิน
ทองแดง ทองค�ำ
Cebu : สถานี โครเมียม
บริการน�้ำมัน

Musalim Mindanao
Zamboanga Peninsula :
ประมงและแปรรูปสินค้าประมง

Mindanao : ขาดแคลนพลังงาน ขณะที่


มีทรัพยากรถ่านหินอุดมสมบูรณ์ รัฐบาล
ให้สัมปทานการผลิตแก่เอกชน

พืน้ ทีท่ น่ี า่ สนใจในการลงทุนในอนาคต


ทีม่ า: เครดิตภาพจาก The Economist Intelligence Unit พืน้ ทีก่ ารลงทุนในปัจจุบนั
41

You might also like