You are on page 1of 5

เศรษฐกิจในประเทศ

5 กฎหมายเศรษฐกิจไม่ถงึ ฝั ง EEC อืด-ลงทุนต่างชาติ


ชะงัก
วันที 1 February 2018 - 21:30 น.

แผนปฏิรป ู เศรษฐกิจรัฐบาล คสช.สุดอืด สะเทือนงบฯลงทุนต่างชาติ “วิษณุ” เผย


เร่งขันตอนยุบ่ ยับ 5 ร่างกฎหมายไม่เห็นฝั ง พ.ร.บ. EEC สุดหิน จัดเวทีฟังความ
เห็น 7 ครังยังไม่ผา่ น พ.ร.บ.ภาษี ทดิ ิ
ี นและสงปลู
กสร ้างถูกเตะถ่วง 5 รอบ ต่อ
เวลามาแล ้ว 300 วัน ยังต ้องลุ ้นต่อ

ผ่าต ัดร ัฐวิสาหกิจยือหาโมเดลต่างประเทศเทียบ เอาผิด 7 ชวโคตร ย ังเพิงเริมคํานิยาม กม.นํา
ไม่นอ
้ ยหน้า ต่อเวลามาแล้ว 4 รอบ
ถึงแม ้ว่ารัฐบาล คสช.จะแถลงผลงานการออกกฎหมายในรอบ 3 ปี มี 280 ฉบับ แต่กฎหมายทีเกียวข ้อง
กับการบริหารนโยบายเศรษฐกิจ 5 ฉบับหลัก ๆ ทีตังใจให ้เป็ นไปตามเจตนารมณ์ “รัฐบาลแห่งการปฏิรป ู ”
ยังไม่สามารถผลักดันให ้ผ่านความเห็นชอบจากสภานิตบิ ญ
ั ญัตแ ิ ห่งชาติ (สนช.) และยังไม่มค
ี วามชัดเจน
ในการประกาศบังคับใช ้ ส่งผลต่อความไม่มนใจต่
ั อนักธุรกิจและการลงทุนจากต่างประเทศ

นายวิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี เปิ ดเผย “ประชาชาติธรุ กิจ” ว่า รัฐบาลจะเร่งรัดกฎหมายด ้าน
เศรษฐกิจทีสําคัญ แต่ยงั ล่าช ้าในการพิจารณา 5 ฉบับ ประกอบด ้วย 1.พระราชบัญญัตเิ ขตพัฒนาพิเศษ
ภาคตะวันออก ซึงได ้เสนอต่อสภานิตบ ิ ญ
ั ญัตแ
ิ ห่งชาติ (สนช.) ไปตังแต่วน
ั ที 26 กันยายน 2560 2.ร่าง
พระราชบัญญัตท ิ รัพยากรนํ า พ.ศ. …. 3.ร่างพระราชบัญญัตวิ า่ ด ้วยความผิดเกียวกับการขัดกันระหว่าง
ประโยชน์สว่ นบุคคลกับประโยชน์สว่ นรวม พ.ศ. …. 4.ร่างพระราชบัญญัตก ิ ารพัฒนาการกํากับดูแลและ
บริหารรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. …. 5.ร่างพระราชบัญญัตภ ิ าษี ทดิ
ี นและสิงปลูกสร ้าง พ.ศ. ….

“ทัง 5 ฉบับอยูใ่ นขันตอนของสภานิตบ


ิ ญ
ั ญัตแ
ิ ห่งชาติกําลังพิจารณาปรับแก ้ ซึงผมไม่ขด
ั ข ้องทีจะให ้
ตรวจสอบให ้รอบคอบ เพราะอาจจะกว ้างเกินไปจนมีปัญหาการตีความ ทุกคําต ้องแน่ใจว่า

แปลแบบนี ๆ ตรงเจตนารมณ์ของกฎหมาย ก็อยูใ่ นระหว่างจัดทํา ซึงก็มก


ี ําหนดเวลากฎเกณฑ์อยู”่ นาย
วิษณุกล่าว

ยือ พ.ร.บ. EEC 2 รอบ 150 ว ัน


ี ี คณะรัฐมนตรีได ้มีมติเห็นชอบเมือวันที 19 กันยายน 2560 และเข ้าสูก
สําหรับร่าง พ.ร.บ.อีอซ ่ ระบวนการ
ของการนํ าเสนอ สภานิตบ ิ ญั ญัตแ
ิ ห่งชาติ (สนช.) และเมือวันที 28 กันยายน 2560 สนช.มีมติรับหลักการ
พร ้อมตังคณะกรรมาธิการ (กมธ.) วิสามัญ จํานวน 30 คน และกําหนดกรอบเวลาทํางานให ้แล ้วเสร็จ
ภายใน 60 วัน นับตังแต่วน ั ทีประชุมมีมติรับหลักการ (ครบกําหนดวันที 26 พ.ย. 60) แต่เมือวันที 9
พฤศจิกายน 2560 กมธ.วิสามัญขอขยายเวลาการพิจารณาออกไปอีก 60 วัน ซึงจะครบกําหนดในวันที
25 มกราคม 2561 ยังมีการขอขยายเวลาออกไปอีกเป็ นครังที 2 อีก 30 วัน เมือ 19 มกราคม จะครบ
กําหนด 24 กุมภาพันธ์ 2561

นายวิษณุในฐานะประธานกรรมาธิการฯ กล่าวว่า “ร่างกฎหมายฉบับนีผ่านการรับฟั งความคิดเห็น 7 ครัง


ผ่านการพิจารณาจากคณะรัฐมนตรี 3 ครัง ถือเป็ นกฎหมายทีผ่านการรับฟั งมากทีสุดของรัฐบาลนี อีกทัง
โครงสร ้างคณะกรรมการ EEC มีตวั แทนจาก ครม.ถึง 12 คน 12 กระทรวง”

นายวรพล โสคติยานุรักษ์ โฆษก กมธ.วิสามัญร่าง พ.ร.บ.อีอซ ี ี กล่าวว่า เหตุผลที กมธ.วิสามัญขอขยาย


เวลาเป็ นครังที 2 อีก 30 วัน ไม่ได ้ติดขัดอะไร แต่เนืองจากกฎหมายมีความยากและสลับซับซ ้อน จึงต ้อง
พิจารณาละเอียดรอบคอบ แต่ กมธ.วิสามัญพิจารณาเสร็จเรียบร ้อยทังฉบับ และพร ้อมทีจะเสนอเข ้าสูก ่ าร
พิจารณาของ สนช.ในวาระ 2-3 คงใช ้เวลาไม่นาน


กม. 7 ชวโคตร 120 ว ัน เพิงเริม
ขณะทีความคืบหน ้าร่าง พ.ร.บ.ว่าด ้วยความผิดเกียวกับการขัดกันระหว่างประโยชน์สว่ นบุคคลกับ
ประโยชน์สว่ นรวม ขันตอนล่าสุดอยูใ่ นวาระที 1 ขันการพิจารณาโดยคณะกรรมาธิการ (กมธ.) วิสามัญ ทีมี
พล.ต.อ.ชัชวาลย์ สุขสมจิตร์ ประธานนัน สนช.มีมติรับหลักการ เมือวันที 17 สิงหาคม 2560 จากนัน
กมธ.ได ้ขอขยายเวลาการพิจารณาไป 2 ครัง ครังแรก 12 ตุลาคม 2560 ขอขยายไปอีก 60 วัน และวันที
8 ธันวาคม 2560 ได ้ขอขยายเวลาครังที 2 ออกไป 60 วัน
พล.ต.อ.ชัชวาลย์กล่าวถึงความคืบหน ้าการพิจารณาว่า กมธ.เริมพิจารณาลงรายมาตราในส่วนของคํา
นิยาม เพราะแม ้กฎหมายขัดกันแห่งผลประโยชน์จะมีตวั ร่างกฎหมายมานานแล ้วตังแต่ปี 2550 แต่ใน
ความเป็ นจริง มีเจ ้าหน ้าทีรัฐ หรือผู ้ทีเกียวข ้องยังไม่มค
ี วามเข ้าใจเรืองกฎหมาย ตัวอย่างทีเห็นคือ กรณีท ี
เกิดขึนกับกระทรวงสาธารณสุขทีออกประกาศห ้ามชาร์จโทรศัพท์ในทีทํางาน แสดงว่ายังไม่คอ ่ ยเข ้าใจ
ทีแท ้จริง จึงต ้องมีการรับฟั งความคิดเห็นเพือสรุปเนือหา ปรับเปลียนในกฎหมาย

“ดังนันในส่วนของคํานิยามทีจะต ้องมีการแก ้ไข เช่น คําว่า “เจ ้าหน ้าทีของรัฐ” จะต ้องรวมไปถึง
“รัฐวิสาหกิจ” ด ้วยหรือไม่ หรือคําว่า “ญาติ” จะกินความถึงญาติแค่ไหน และยังต ้องดูวา่ เนือหาของร่าง
กฎหมายมีความทับซ ้อนกับกฎหมายของคณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
็ ้องตัดออก ในส่วนนีจึงต ้องพิจารณาต่อลงในรายมาตรา ดังนันยังต ้องใช ้เวลาใน
(ป.ป.ช.) หรือไม่ ถ ้ามีกต
การพิจารณาอีกพอสมควร”

ควานหาโมเดลคุมร ัฐวิสาหกิจ
สําหรับร่าง พ.ร.บ.การพัฒนาการกํากับดูแลและบริหารรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. …. มีนายสมพล เกียรติไพบูลย์
เป็ นประธาน กมธ.วิสามัญ ทีประชุม สนช.มีมติรับหลักการ เมือวันที 1 กันยายน 2560 โดยได ้มีการขอ
ขยายเวลาการพิจารณาออกไป 2 ครัง ครังแรกวันที 19 ตุลาคม 2560 ครังทีสอง วันที 25 ธันวาคม 2560

นายสมชาย แสวงการ โฆษก กมธ.วิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.การพัฒนาการกํากับดูแลและบริหาร


รัฐวิสาหกิจ กล่าวถึงความคืบหน ้าการพิจารณาร่างดังกล่าวว่า อยูร่ ะหว่าง กมธ.พิจารณาความเห็นของ
ฝ่ ายทีเกียวข ้อง และฝ่ ายทีเห็นต่าง มีทงคนคั
ั ดค ้านทียังไม่เข ้าใจ โดยเฉพาะสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ
โดยคิดว่ากฎหมายดังกล่าวออกมาใช ้แล ้วจะเปิ ดช่องให ้มีการขายรัฐวิสาหกิจได ้

“อีกส่วนคือกลุม
่ นักวิชาการทีเห็นด ้วยกับการปฏิรปู รัฐวิสาหกิจ แต่ไม่เห็นด ้วยทีจะจัดตังบรรษั ทวิสาหกิจ
แห่งชาติ เพือทําหน ้าทีเจ ้าของรัฐวิสาหกิจ 11 แห่ง ดังนัน กมธ.อยูร่ ะหว่างการเปรียบเทียบโมเดลการ
ดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจในต่างประเทศว่ามีรป ู แบบใดบ ้าง และจะนํ ามาปรับใช ้กับรัฐวิสาหกิจไทย
อย่างไร เช่น อาจจะไม่จําเป็ นต ้องตังบรรษั ท แต่ให ้มีคณะกรรมการขึนมากํากับดูแลเหมือนคณะกรรมการ
กํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือคณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย
(คปภ.) จึงทําให ้การพิจารณายังไม่แล ้วเสร็จ” นายสมชายกล่าว

ภาษีทดิ
ี นฯเลือน 300 ว ัน
ด ้านร่าง พ.ร.บ.ภาษี ทดิ
ี นและสิงปลูกสร ้าง พ.ศ. …. สนช.มีมติรับหลักการตังแต่วน
ั ที 31 มีนาคม 2560
กมธ.วิสามัญขอต่ออายุการพิจารณามาแล ้วเป็ นครังที 5 ครังละ 60 วัน โดยขอขยายครังแรกเมือ 18
พฤษภาคม 2560 ครังทีสอง 20 กรกฎาคม 2560 ครังทีสาม 23 กันยายน 2560 ครังทีสี 23 พฤศจิกายน
2560 และครังทีห ้า 19 มกราคม 2561 ขยายออกไปอีก 60 วัน

พล.ท.ชาญชัย ภูท
่ อง โฆษก กมธ.วิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.ภาษี ทดิ
ี นและสิงปลูกสร ้าง กล่าวว่าได ้ขอ
ขยายเวลาการพิจารณาออกไปอีก 60 วัน ซึงจะครบกําหนดในวันที 25 มี.ค. 2561 ขณะนีอยูร่ ะหว่างการ
ตรวจสอบกฎหมายลําดับรองประมาณ 7 ฉบับ รวมถึงประกาศของหน่วยงานทีเกียวข ้อง เช่น ประกาศ
กระทรวงการคลัง ประกาศกระทรวงมหาดไทย

โดยมีการตังคณะอนุกรรมาธิการขึนมาศึกษาเพือปรับปรุงให ้กฎหมายหลัก และกฎหมายรองสอดคล ้อง


ซึงกันและกัน โดยคณะอนุกรรมการได ้ทบทวนเป็ นครังที 3 แล ้วส่วนเนือหาร่าง พ.ร.บ.ขณะนีอยูร่ ะหว่าง
การพิจารณาเป็ นรายมาตรา เพือให ้ตอบคําถามในการพิจารณาวาระ 2 และ 3 ในการประชุมใหญ่ของ
สนช.ได ้

ดังนันหากกระบวนการพิจารณากฎหมายลําดับรองทีคณะอนุกรรมาธิการไปศึกษาดําเนินการเสร็จ
กมธ.อาจจะเสนอร่าง พ.ร.บ.ภาษี ทดิ ่ ารพิจารณาของ สนช.ในวาระ 2-3 ก่อน
ี นและสิงปลูกสร ้าง เข ้าสูก
กําหนด 25 มีนาคมได ้

เปิ ดอ ัตราจ ัดเก็บภาษีทดิ


ี น
ดร.พรชัย ฐีระเวช ทีปรึกษาด ้านเศรษฐกิจการเงิน สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) กล่าวในงาน
สัมมนาใหญ่ของ 3 สมาคมอสังหาริมทรัพย์ เมือ 30 ม.ค.ทีผ่านมาว่า เพือลดผลกระทบและกระแส
ี นและสิงปลูกสร ้างฯ ทีรัฐบาลตังเป้ าประกาศบังคับใช ้ 1 ม.ค. 2562 จะกําหนด
คัดค ้านร่าง พ.ร.บ.ภาษี ทดิ
บัญชีแนบท ้ายกฎหมายลดการใช ้ดุลพินจ ิ ของเจ ้าหน ้าทีองค์กรปกครองส่วนท ้องถิน แบ่งเป็ น 1.ที
เกษตรกรรม กับบ ้านพักอาศัย 2.ทีพาณิชยกรรมและอืน ๆ 3.ทีดินรกร ้างในส่วนทีดินเกษตร เช่น 10 ไร่
เสียภาษี เต็มแปลงหรือไม่ ต ้องดูการใช ้ประโยชน์จริง เช่นเดียวกับบ ้านพักอาศัย ต ้องมีชอในทะเบี
ื ยนบ ้าน
และโฉนดทีดิน เพราะสํารวจพบว่า 90% เป็ นบ ้านราคาไม่เกิน 20 ล ้านบาท แต่บ ้านหลังทีสองต ้องเสีย
ภาษี ทีพาณิชยกรรมก็จะดูการใช ้ประโยชน์จริง

จากเดิมกําหนดเพดานจัดเก็บภาษี ทเกษตรกรรม
ี 0.15% ทีอยูอ่ าศัย 0.3% พาณิชยกรรมและอืน ๆ 1.2%
ทีรกร ้าง 3% แต่เพือคลายความกังวลใจ คณะกรรมาธิการได ้กําหนดอัตราการจัดเก็บจริงให ้ชัดเจนอาทิ
ทีดินเกษตรมูลค่า 50-100 ล ้านบาท เสียภาษี 1 หมืนบาท มูลค่า 200 ล ้านบาท เสียภาษี 6 หมืนบาท
บ ้านหลังหลักยกเว ้นภาษี 50 ล ้านบาทแรก 50 ล ้านบาทต่อไป เสีย 6 พันบาท มูลค่า 100 ล ้านบาท เสีย
ภาษี 2.6 หมืนบาท 200 ล ้านบาท เสียภาษี 1.26 แสนบาททีพาณิชยกรรมมูลค่า 50 ล ้านบาท ภาษี ปีละ
1.5 แสนบาท มูลค่า 100 ล ้านบาท ภาษี 3.5 แสนบาท มูลค่า 500 ล ้านบาท ภาษี 2.25 ล ้านบาท มูลค่า
1 พันล ้านบาท ภาษี 4.75 ล ้านบาท ทีดินรกร ้าง อัตราเดียวกับทีพาณิชยกรรม แต่หากไม่ทําประโยชน์
เก็บเพิม 0.3% ทุก 3 ปี แต่ไม่เกิน 3%

กม.นํา สะเทือนอีก 38 ฉบ ับ
ส่วนร่าง พ.ร.บ.ทรัพยากรนํ า พ.ศ. …. สนช.มีมติรับหลักการเมือ 2 มีนาคม 2560 และขอขยายเวลาไป
อีก 4 ครัง คือ 20 เมษายน 2560 ครังทีสอง 22 มิถน ุ ายน 2560 ครังทีสาม 24 สิงหาคม 2560 และครังที
สี ขอขยายไปถึง 90 วัน จะครบกําหนดวันที 25 เมษายน 2561

ทังนี เหตุผลทีขอขยายเวลาการคือ 1.ร่าง พ.ร.บ.ทรัพยากรนํ า มีเนือหาสาระทีส่งผลกระทบต่อประชาชน


อย่างกว ้างขวาง เนืองจากปั จจุบน ั การบริหารจัดการทรัพยากรนํ ามีหน่วยงานเกียวข ้องกระจายอยูต ่ าม
หน่วยงานต่าง ๆ ถึง 42 หน่วยงานและมีกฎหมายระดับ พ.ร.บ.ทีเกียวกับการบริหารจัดการทรัพยากรนํ า
มากถึง 38 ฉบับ มีวต ั ถุประสงค์การบังคับใช ้และปั ญหาทีแตกต่างกัน ซําซ ้อน ขัดแย ้ง ไม่เชือมโยง มีชอ
่ ง
ว่าง กมธ.จึงต ้องใช ้เวลาพิจารณาให ้รอบคอบ

2.จากมติคณะรัฐมนตรี จัดตังสํานักงานบริหารจัดการทรัพยากรนํ าแห่งชาติ เมือ 8 สิงหาคม 2560 ให ้รวม


หน่วยงานทีเกียวข ้องกับการบริหารจัดการนํ าเพือให ้เกิดการบูรณาการ จําเป็ นต ้องรอการพิจารณา
โครงสร ้าง หน ้าที และอํานาจของสํานักงานดังกล่าว เพือนํ ามาประกอบกับร่าง พ.ร.บ. ให ้สอดคล ้องกัน
3.ร่าง พ.ร.บ.ทรัพยากรนํ า ต ้องผ่านกระบวนการรับฟั งความคิดเห็น ตามรัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 77
วรรคสอง

พล.ร.อ.วีระพันธ์ สุขก ้อน รองโฆษก กมธ.วิสามัญ ร่าง พ.ร.บ.ทรัพยากรนํ า กล่าวถึงความคืบหน ้า ว่า


ขณะนี กมธ.วิสามัญพิจารณาครบทัง 100 มาตราแล ้ว และอยูร่ ะหว่างรับฟั งความคิดเห็นจากทุกภาคทัว
ประเทศ รวมทังประชาชนในพืนที 3 จังหวัดชายแดนภาคใต ้

จากนัน กมธ.จะต ้องแก ้ไข พร ้อมกับเปิ ดสัมมนารับฟั งความคิดเห็นจากหน่วยราชการต่าง ๆ ในปลายเดือน


กุมภาพันธ์นี เพือให ้เกิดความรอบคอบและไม่ตด ิ ปั ญหาในทางปฏิบต ั ิ เพราะร่างกฎหมายดังกล่าวมีผลก
ระทบในวงกว ้าง และเกียวพันกับหลายหน่วยงาน จากนัน กมธ.วิสามัญจะส่งร่างกฎหมายไปให ้รัฐบาล
พิจารณาในเดือนมีนาคม 2561

“มันใจว่าจะพิจารณาร่างกฎหมายฉบับนีเสร็จตามทีขอขยายเวลาเพิมเติม 90 วัน แน่นอน” พล.ร.อ.วีระ


พันธ์กล่าว

หวนสะเทื
ั อนลงทุนต่างชาติ
นายเจน นํ าชัยศิร ิ ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ประเมินผลกระทบทีจะเกิดขึนใน
กรณีท ี พ.ร.บ. EEC ล่าช ้า ต ้องพิจารณาว่าประเทศอืนมีพนที
ื และนโยบายการลงทุนทีน่าสนใจขนาดไหน
เม็ดเงินลงทุนอาจมีผลกระทบบ ้าง แต่อย่างน ้อยไตรมาส 2 ปี 2561 น่าจะเริมทยอยซือทีดินกันแล ้ว
ระหว่างรอกฎหมายประกาศในช่วงกรอบของเดือนมีนาคมนี

“ส่วนอุตสาหกรรมเป้ าหมาย (S-curve) นักลงทุนต ้องใช ้ไทยเป็ นฐานการผลิตแน่นอน โดยเฉพาะ


อุตสาหกรรมการบินทีไทยเป็ นศูนย์กลาง อยูใ่ นเส ้นทาง ไม่มท
ี างทีนักลงทุนจะถอดใจไปลงทุนทีอืนเช่น
เดียวกับอุตสาหกรรมอืนทังไบโอชีวภาพ ยานยนต์ ทีมันใจว่านักลงทุนในอุตสาหกรรมเป้ าหมาย S-curve
จะไม่ย ้ายไปไหน เพราะใช ้จุดแข็งของอุตสาหกรรมทีไทยมีเป็ นตัวกําหนด”

นายเจนกล่าวถึงความเห็นจากนักลงทุนต่างชาติทสนใจมาลงทุ
ี นว่า ส่วนใหญ่อยากเห็นรายละเอียดที
ชัดเจนของกฎหมายก่อน เพือขอความมันใจว่า กฎหมายฉบับทีสมบูรณ์จะไม่มก ี ารเปลียนแปลงในราย
ละเอียดใด ๆ อีก ก่อนนํ าเสนอต่อบอร์ดของบริษัท เพือตัดสินใจถึงแผนการลงทุนจริง

You might also like