You are on page 1of 64

การเตรียมตัวรับกฎหมายภาษี ทรัพย์สินและ

การเปลี่ยนแปลงกฎหมายภาษี สรรพากร
ศาสตราจารย์พิเศษ กิติพงศ์ อุรพีพฒ
ั นพงศ์
ประธานกรรมการ บริษทั เบเคอร์ แอนด์ แม็คเค็นซี่ จากัด
16 สิ งหาคม 2560
หัวข้อการบรรยาย
1 หลักการและการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่ งปลูกสร้าง 3
2 ผลกระทบของร่างพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่ งปลูกสร้าง พ.ศ. ... 24
3 1 ปี กับ “ภาษีมรดก” 27
4 การโอนทรัพย์สินเข้าบริ ษทั กับสิ ทธิ ประโยชน์ ทางภาษี 30
5 ภาษีกบั การฟอกเงิ น 33
ฐานภาษีเงิ นได้บคุ คลธรรมดาในการโอนกรรมสิ ทธิ์ หรือสิ ทธิ ครอบครอง
6 37
ในอสังหาริ มทรัพย์ตามมาตรา 49 ทวิ
7 ภาษีลาภลอย (Windfall Tax) 39
8 E-commerce Tax 47
9 ร่าง พ.ร.บ. Transfer Pricing) 51
10 National e-Payment Master Plan 56
11 การร่วมมือกับองค์กรระดับสากล 59
* เอกสารเท่านัน้ ไม่สามารถนามาใช้หรืออ้างอิ งในฐานะความเห็นทางกฎหมายของสานักงานกฎหมาย
บริ ษทั เบเคอร์ แอนด์ เม็คเค็นซี ่ จากัดได้ หากต้องการนาไปปรับใช้จึงควรหารือกับทีป่ รึกษากฎหมาย
เป็ นการเฉพาะ
หลักการและการจัดเก็บ
1 ภาษี ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
*เอกสารนี้ จัดทาขึ้นตามร่างพระราชบัญญัติทีด่ ิ นและสิง่ ปลูกสร้าง ซึง่ อยู่ระหว่างการเสนอสภานิติบญ
ั ญัติแห่งชาติ
เพือ่ พิจารณา กฏหมายดังกล่าวจึงยังไม่มีผลบังคับและอาจมีการแก้ไขเปลีย่ นแปลงได้ 3
เปรียบเทียบ
ภาระภาษี ทรัพย์สินตามกฎหมายปัจจุบนั และกฎหมายใหม่
ทรัพย์สิน กฎหมายปัจจุบนั กฎหมายใหม่
ทรัพย์สินที่อยู่ในบังคับ • ทีด่ นิ และสิง่ ปลูกสร้าง • ทีด่ นิ และสิง่ ปลูกสร้าง
ต้องเสียภาษี
• ภาษี โรงเรือนและที่ดิน: ค่ารายปี • ราคาประเมินทุนทรัพย์ของทีด่ นิ
ฐานภาษี
• ภาษี บารุงท้องที่ : ราคาปานกลาง สิง่ ปลูกสร้าง และห้องชุด
• ภาษี โรงเรือนและที่ดิน: ร้อยละ 12.5 • ไม่เกินร้อยละ 0.2 , 0.5, 2 หรือ 5
ของค่ารายปี ขึน้ อยูก่ บั ลักษณะและการใช้ประโยชน์
อัตราภาษี
• ภาษี บารุงท้องที่ : ขึน้ อยูก่ บั ราคาปานกลาง ของทรัพย์สนิ
ของทีด่ นิ
• ภาษี โรงเรือนและที่ดิน: ยืน่ แบบภายใน • ยืน่ แบบและชาระภาษีภายในเดือน
ภายในเดือนกุมภาพันธ์ ชาระภาษีภายใน 30 เมษายน
วันนับแต่ได้รบั แจ้งการประเมิน
การยื่นแบบและชาระภาษี
• ภาษี บารุงท้องที่ : ยืน่ แบบภายในเดือน
มกราคม ชาระภาษีภายในเดือนเมษายน หรือ
ภายใน 30 วันนับแต่วนั ได้รบั แจ้งการประเมิน
© 2017 Baker & McKenzie Ltd.
4
เหตุผลของการจัดทาร่างพรบ. ภาษี ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
แก้ไขปัญหาจาก
ฐานภาษี (ค่ารายปี) ซ้าซ้อนกับภาษีเงินได้จากการให้เช่าทรัพย์สนิ
ภาษี โรงเรือนและที่ดิน
การประเมินภาษีขน้ึ อยูก่ บั ดุลยพินิจของเจ้าพนักงานประเมิน

อัตราภาษีกาหนดไว้สงู (12.5 % ของค่าเช่ารายปี)

ยกเว้นภาษีแก่โรงเรือนทีอ่ ยูอ่ าศัยและโรงเรือนทีไ่ ม่ได้ใช้ประโยชน์

แก้ไขปัญหาจาก ราคาปานกลางไม่สะท้อนสภาวะปจั จุบนั


ภาษี บารุงท้องที่
อัตราภาษีแบบถดถอย

มีการยกเว้นและลดหย่อนจานวนมาก

© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 5


กฎหมายภาษี ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
มีผลบังคับใช้เมื่อไร ?

ภาษี ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างนี้ คาดว่าจะเริ่มบังคับใช้


วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2562*

* ปจั จุบนั ร่างพระราชบัญญัตภิ าษีทดี ่ นิ และสิง่ ปลูกสร้างอยู่ระหว่างการเสนอสภานิตบิ ญ


ั ญัตแิ ห่งชาติเพือ่ พิจารณา

© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 6


ผูม้ ีหน้ าที่เสียภาษี

เจ้าของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง

ผูค้ รอบครองหรือทาประโยชน์ ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง


ที่เป็ นทรัพย์สินของรัฐ

ผูม้ ีหน้ าที่เสียภาษี แทนผูเ้ สียภาษี ตามกฎหมาย

กรณี กรรมสิทธ์ ิ ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างเป็ นของต่างเจ้าของกัน


ให้ถือว่าเจ้าของที่ดินและเจ้าของสิ่งปลูกสร้างเป็ นผู้มีหน้ าที่ชาระภาษี
สาหรับที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ตนเป็ นเจ้าของ
© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 7
ทรัพย์สินที่ต้องเสียภาษี

ทรัพย์สิน
ที่ต้องเสียภาษี

ที่ดิน
ห้องชุด
สิ่งปลูกสร้าง

© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 8


ทรัพย์สินที่ได้รบั การยกเว้นภาษี
ทรัพย์สินส่วนสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริยท์ ี่มิได้ใช้หาผลประโยชน์
ทรัพย์สินของรัฐหรือของหน่ วยงานของรัฐที่
มิได้ใช้หาผลประโยชน์
ที่ทาการขององค์การสหประชาชาติ/
องค์การระหว่างประเทศ
ที่ทาการสถานทูตหรือสถานกงสุลของต่างประเทศ
ทรัพย์สินของสภากาชาดไทย
ทรัพย์สินที่เป็ นศาสนสมบัติ
ที่มิได้ใช้หาผลประโยชน์
© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 9
ทรัพย์สินที่ได้รบั การยกเว้นภาษี (ต่อ)
ทรัพย์สินที่ใช้เป็ นสุสานสาธารณะหรือฌาปนสถานสาธารณะ
โดยไม่ได้รบั ค่าตอบแทน

ทรัพย์สินที่เป็ นของมูลนิธิ/สถานสาธารณกุศล
ที่มิได้ใช้หาประโยชน์
ทรัพย์สินของเอกชนที่ให้ราชการใช้
เพื่อสาธารณประโยชน์

ทรัพย์สินส่วนกลางของอาคารชุด

ที่ดินสาธารณูปโภค
ทรัพย์สินตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา
© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 10
ฐานภาษี

ที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง ห้องชุด


• ราคาประเมิน • ราคาประเมิน • ราคาประเมิน
ทุนทรัพย์ ทุนทรัพย์สงิ่ ทุนทรัพย์หอ้ ง
ทีด่ นิ ปลูกสร้าง ชุด

ข้อสังเกต: ราคาประเมินทุนทรัพย์ทดี ่ นิ สิง่ ปลูกสร้าง และห้องชุด ให้เป็ นไปตามราคา


ประเมินของกรมธนารักษ์

© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 11


คานิยามประเภทที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง
เกษตรกรรม บ้านพักอาศัย พาณิชยกรรม ที่รกร้างว่างเปล่า

หมายถึง การใช้ทด่ี นิ ในการ บ้านพักอาศัยหลังหลัก หมายถึง การใช้ทด่ี นิ ที่ดินหรือสิ่งปลูก


ทานา ทาไร่ ทาสวน เลีย้ ง 1. เจ้าของมีชอ่ื ในโฉนด หรือสิง่ ปลูกสร้างทีม่ ไิ ด้ สร้างที่มีลกั ษณะ
สัตว์ เลีย้ งสัตว์น้ า และกิจการ
อื่นตามทีป่ ระกาศกาหนด*
2. เจ้าของใช้เป็ นทีอ่ ยู่ ใช้เพือ่ การเกษตรกรรม ดังนี้
อาศัย หรือการอยูอ่ าศัย 1.ไม่ทาประโยชน์ตาม
หมายเหตุ 3. เจ้าของมีชอ่ื อยูใ่ น ควรแก่สภาพ หรือ
• อาจต้องดาเนินการขึน้ ทะเบียนบ้านในวันที่ 1 เช่น การใช้เพือ่ 2.ทิง้ ไว้วา่ งเปล่า
ทะเบียนเป็ นเกษตรกร
• (แนวโน้มการใช้หลักสัดส่วน) มกราคม ของปีภาษีนนั ้ พาณิชยกรรม หรือ
1.ทาเกษตรกรรม 100% อุตสาหกรรม
2.ทาเกษตรกรรม ≥3/4 + ที่ บ้านพักอาศัยหลังอื่นๆ
อยูอ่ าศัย ≤1/4
3.ไม่ตรงตาม 1. และ 2. เสีย หมายถึง กรณีทเ่ี จ้าของมี
ภาษีในอัตราเกษตรกรรมตาม ชือ่ ในโฉนด
สั©ด2017
ส่วนที ใ่ ช้ประโยชน์จริง
Baker & McKenzie Ltd.
* ต้องเป็นกรณีทรี ่ ฐั มนตรีว่าการกระทรวงการคลังและรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทยร่วมกันประกาศกาหนด 12
อัตราภาษี
เกษตรกรรม บ้านพักอาศัย พาณิชยกรรม (อื่นๆ) ที่รกร้างว่างเปล่า
อัตราเพดาน: 0.2% อัตราเพดาน: 0.5% อัตราเพดาน: 2.0% อัตราเพดาน: 5.0%
บ้านหลัก
มูลค่าทรัพย์สิน อัตรา มูลค่าทรัพย์สิน อัตรา มูลค่าทรัพย์สิน อัตรา จานวนปี อัตรา
ภาษี ภาษี ภาษี ภาษี
≤ 50 ล้านบาท ยกเว้น ≤ 50 ล้านบาท ยกเว้น ≤ 20 ล้านบาท 0.3% ปีท่ี 1-3 2%
> 50-100 ล้านบาท 0.05% > 50-100 ล้านบาท 0.05% > 20-50 ล้านบาท 0.5% ปีท่ี 4-6 2.5%
> 100 ล้านบาท 0.10% > 100 ล้านบาท 0.10% > 50-100 ล้านบาท 0.7% ปีท่ี 7-9 3%
บ้านหลังที่สอง ≤ 100-1,000 ล้านบาท 0.9% ปีท่ี 10-12 3.5%
≤ 5 ล้านบาท 0.03% > 1,000-3,000 ล้าน 1.2% ปีท่ี 13-15 4%
บาท
> 5-10 ล้านบาท 0.05% > 3,000 ล้านบาท 1.5% ปีท่ี 16-18 4.5%
> 10-20 ล้านบาท 0.10% ปีท่ี 19 ขึน้ ไป 5%
> 20-30 ล้านบาท 0.15%
> 30-50 ล้านบาท 0.20%
> 50-100 ล้านบาท 0.25%
© 2017 Baker & McKenzie Ltd. > 100 ล้านบาท 0.30% 13
การหักค่าเสื่อม
ประเภทสิ่งปลูกสร้าง ปี ที่ หักค่าเสื่อม (ร้อยละ)
1. ตึก 1 – 10 1 ต่อปี
11 – 42 2 ต่อปี
43 เป็ นต้นไป 76 ตลอดอายุการใช้งาน
2. ตึกครึ่งไม้ 1–5 2 ต่อปี
6 – 15 4 ต่อปี
16 – 21 5 ต่อปี
22 เป็ นต้นไป 85 ตลอดอายุการใช้งาน
3. ไม้ 1–5 3 ต่อปี
6 – 15 5 ต่อปี
16 – 18 7 ต่อปี
19 เป็ นต้นไป 93 ตลอดอายุการใช้งาน
© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 14
การคานวณและการจัดเก็บภาษี
• ภาระภาษี = มูลค่าที่ดิน x อัตราภาษี
ที่ดินเปล่า* • มูลค่าทีด่ นิ = ราคาประเมินทุนทรัพย์ทด่ี นิ (ต่อ ตร.ว.) x ขนาดพืน้ ทีด่ นิ

• ภาระภาษี = (มูลค่าที่ดิน + มูลค่าสิ่ งปลูกสร้าง) x อัตราภาษี


ที่ดินและ • มูลค่าทีด่ นิ = ราคาประเมินทุนทรัพย์ทด่ี นิ (ต่อ ตร.ว.) x ขนาดพืน้ ทีด่ นิ
สิ่งปลูกสร้าง* • มูลค่าสิง่ ปลูกสร้าง = ราคาประเมินทุนทรัพย์โรงเรือนหรือสิง่ ปลูกสร้าง (ต่อ ตร.ม.) x ขนาด
พืน้ ทีส่ งิ่ ปลูกสร้าง) + ค่าเสื่อมราคา

• ภาระภาษี = มูลค่าห้องชุด X อัตราภาษี


ห้องชุด* • มูลค่าห้องชุด = ราคาประเมินทุนทรัพย์หอ้ งชุด (ต่อ ตร.ม.) X ขนาดพืน้ ทีห่ อ้ งชุด (ตร.ม.)

หมายเหตุ
1. กรณี ที่ดินหรือสิ่ งปลูกสร้างมีการใช้ประโยชน์ หลายประเภท : ให้จดั เก็บภาษี ตามสัดส่วนการใช้ประโยชน์ ในที่ดินหรือสิ่ งปลูกสร้าง
2. กรณี ที่ที่ดินและสิ่ งปลูกสร้างต่ างเจ้าของกัน : ให้ถือว่าเจ้าของที่ดินและเจ้าของสิ่ งปลูกสร้างเป็ นผู้มีหน้ าที่ชาระภาษี สาหรับที่ดินหรือสิ่ งปลูก
สร้างที่ตนเป็ นเจ้าของ

* ข้อมูลอ้างอิงจากเอกสารเผยแพร่ของสานักงานเศรษฐกิจการคลัง ณ วันที ่ 12 ตุลาคม 2559


© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 15
การสารวจและจัดทาบัญชีรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
(เพื่อสารวจการใช้ประโยชน์ ในที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง)
ประกาศกาหนดระยะเวลาที่ สภายในเขตพื
ารวจที่ดินและสิ่ งปลูกสร้าง
องค์กรปกครอง จะสารวจทีด่ นิ และสิง่ ปลูก น้ ทีข่ องตน ใน
ส่วนท้องถิ่ น สร้างและแต่งตัง้ พนักงาน ส่วนทีเ่ กี่ยวกับประเภท
สารวจ ไม่น้อยกว่า 15 วัน จานวน ขนาดของที่ดินและ
ก่อนทาการสารวจ สิ่ งปลูกสร้าง การใช้
ประโยชน์ ในทีด่ นิ และสิง่ ปลูก
(มาตรา 25) สร้าง
(มาตรา 24 และ 26)

จัดทาบัญชีรายการที่ดินและ กรณี ที่เห็นว่าบัญชีรายการ กรณี ที่การใช้ประโยชน์ ใน


สิ่ งปลูกสร้าง และประกาศบัญชี ที่ดินและสิ่ งปลูกสร้างไม่ตรง ที่ดินเปลี่ยนแปลงไป ทาให้
ไว้ทท่ี ท่ี าการขององค์กร กับความเป็ นจริ ง อัตราภาษีสงู ขึน้ หรือลดลง ให้
ปกครองส่วนท้องถิน่ - ผูบ้ ริ หารท้องถิ่ นมีอานาจสัง่ ผูเ้ สียภาษีแจ้งการเปลีย่ นแปลง
แก้ไขเพิม่ เติมได้ (มาตรา 29) การใช้ประโยชน์ต่อองค์การ
(มาตรา 28) หรือ ปกครองส่วนท้องถิน่ ภายใน 30
- ผูเ้ สียภาษียน่ื คาร้องขอแก้ไข วันนับแต่วนั ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง
ให้ถูกต้อง (มาตรา 30) (มาตรา 31)
© 2017 Baker & McKenzie Ltd.
16
17

การบรรเทาภาระภาษี (โดยพระราชกฤษฎีกา)*
ลดภาระภาษี ให้ไม่เกิน 90%
ลดอัตราภาษี
กรณี ภาระภาษี
บ้านพักอาศัยหลักซึง่ ได้รบั ลดลง 50% กรณี อัตราภาษี
กรรมสิทธิจากการรั
์ บมรดก ทีด่ นิ ทีอ่ ยูร่ ะหว่างการปลูกสร้าง ยกเว้น
ก่อนที่ พ.ร.บ. ภาษีทด่ี นิ และ บ้านทีเ่ จ้าของใช้เป็ นบ้านของ (1 ปี )
สิง่ ปลูกสร้างมีผลบังคับใช้ ตนเอง
กิจการสาธารณะ ลดลง ทรัพย์สนิ ทีอ่ ยูร่ ะหว่างพัฒนาเพือ่ 0.05%
เช่น โรงพยาบาล ไม่เกิน 75% ทาโครงการทีพ่ กั อาศัย (3 ปี )
และโรงเรียน เป็ นต้น
อสังหาริมทรัพย์รอการขายที่ 0.05%
ได้มาจากการชาระหนี้ (NPA)
ของสถาบันการเงิน (5 ปี )
© 2017 Baker & McKenzie Ltd.
* แหล่งทีม่ า : เอกสารเผยแพร่ของสานักงานเศรษฐกิจการคลัง 17
การบรรเทาภาระภาษี (อานาจของผูบ้ ริหารท้องถิ่น)
กรณีทด่ี นิ หรือสิง่ ปลูกสร้างได้รบั ความเสียหาย
เช่น เกิดภัยพิบตั ิ หรืออาคารบ้านเรือนเกิดเสียหายหรือถูกทาลาย โดยไม่สามารถป้ องกันได้

ผูบ้ ริหารท้องถิ่น
หรือ ผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานคร*

มีอานาจลดหรือยกเว้นภาษี ในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่งได้

*ผูบ้ ริหารท้องถิน่ โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการภาษีทดี ่ นิ และสิง่ ปลูกสร้างประจาจังหวัด หรือผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานครโดยความเห็นชอบจาก


รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 18 18
สิทธิของผูเ้ สียภาษี

การคัดค้านโต้ แย้งบัญชี การคัด ค้ า นโต้ แ ย้ ง ประกาศ


รายการที่ดินและสิ่งปลูก ราคาประเมิ น ทุ น ทรัพ ย์ข อง
สร้างต่อผูบ้ ริหารท้องถิ่น ที่ ดินและสิ่งปลูกสร้าง อัตรา
ภาษี ที่ จ ดั เก็บ จ านวนภาษี ที่
ต้องชาระต่อผูบ้ ริหารท้องถิ่น

© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 19


การยื่นแบบและชาระภาษี

พนักงานเจ้าหน้าทีจ่ ะแจ้งการประเมินไปยังผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษี


ภายในเดือนกุมภาพันธ์เพือ่ เรียกให้ชาระภาษี

ให้ผเู้ สียภาษียน่ื แบบแสดงรายการ ภาษีพร้อมชาระภาษี


ภายในเดือนเมษายนของทุกปี

© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 20 20


การขอคืนภาษี

กรณี ชาระภาษี โดยไม่มีหน้ าที่ต้องเสีย หรือ


ชาระไว้เกินกว่าที่ต้องเสีย

 ให้ขอคืนภาษี ได้ภายใน 2 ปี นับแต่วนั ที่


ชาระภาษี ทงั ้ หมด

© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 21


การประเมินภาษี

เหตุในการประเมิน

• มีการประเมินภาษีผดิ พลาดหรือไม่ครบถ้วน

ระยะเวลาการประเมินภาษี

• ภายใน 3 ปีนบั แต่วนั สุดท้ายของวันทีค่ รบกาหนดชาระภาษี

© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 22


การอุทธรณ์ การประเมินภาษี

อุทธรณ์ ต่อคณะกรรมการวิ นิจฉัย


อุทธรณ์ การประเมิ นภาษี
• ภายใน 30 วันนับแต่วนั ที่ • ภายใน 30 วันนับแต่วนั ที่
ได้รบั แจ้งการประเมินภาษี ได้รบั แจ้งคาวินิจฉัยอุทธรณ์
หรือการเรียกเก็บภาษี • ภายใน 30 วันนับแต่ได้รบั
หนังสือแจ้ง

คัดค้านต่อผูบ้ ริ หารท้องถิ่ น ฟ้ องเป็ นคดีต่อศาล

23
© 2017 Baker & McKenzie Ltd.
ผลกระทบของร่างพระราชบัญญัติภาษี
2 ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. ...
วิเคราะห์โดยสภาหอการค้าไทย
24
ผลกระทบของร่างพระราชบัญญัติภาษี ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. ...

โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์
ทรัพย์สนิ ส่วนกลางของนิติ ทีด่ นิ “เช่า” เพื่อการ
ทีอ่ ยูร่ ะหว่างดาเนินโครงการ ทีด่ นิ ซึง่ รกร้างว่างเปล่า
บุคคลอาคารชุด เกษตรกรรม
เพื่อการพัฒนา

เช่น ทีด่ นิ ตาบอด ทีด่ นิ


การประเมินราคาอาคาร ถือเป็นช่วงการ
ทีอ่ ยูใ่ นเขตข้อกาหนด
อสังหาริมทรัพย์ประเภท ดาเนินการทีไ่ ม่
ผังเมืองห้ามสร้างสิง่
อาคารชุดเพื่อเป็นฐาน ก่อให้เกิดรายได้ จึงควร ควรกาหนดให้ชดั เจนว่า
ปลูกสร้าง หรือทีด่ นิ ทีม่ ี
ในการเรียกเก็บภาษี พิจารณาลดหย่อนภาษี เป็นทีด่ นิ เพื่อการ
ลักษณะเป็นทางน้า
ทีด่ นิ และสิง่ ปลูกสร้าง ในช่วงเวลาหนึ่ง เช่น 3 เกษตรกรรมหรือการ
หลากต้องรับภาระน้า
ควรนาราคาประเมิน ปี และหากเลยเวลาที่ พาณิชย์ เนื่องจากมี
ทางธรรมชาติทไ่ี หลผ่าน
ของทรัพย์สนิ ส่วนกลาง กาหนดจึงจัดเก็บภาษี อัตราภาษีต่างกันมาก
เพื่อไม่ให้เกิดปญั หา
มาหักออกจากราคา เต็มอัตราทีก่ ฎหมาย
อุทกภัย ควรได้รบั
ประเมินอาคาร กาหนด
ยกเว้นภาษี

© 2017 Baker & McKenzie Ltd.


ผลกระทบของร่างพระราชบัญญัติภาษี ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. ...
ทีด่ นิ ทีถ่ อื ครองโดยประชาชนแต่ ข้อยกเว้นการจัดเก็บ
ความเป็นธรรมในการเสียภาษี การแบ่งประเภทอัตราภาษีเป็ น 4
ปล่อยปละละเลยให้กลายเป็นทีร่ ก ภาษีทด่ี นิ และสิง่ ปลูกสร้าง 50 ล้าน
ตามหลัก Ability to pay ประเภท
ร้างว่างเปล่า บาท

ร่างพรบ.นี้ จัดเก็บจากฐาน
ประชาชนผูถ้ อื กรรมสิทธิ ์ ตัวเลขมูลค่าทีด่ นิ และสิง่
ทีด่ นิ และสิง่ ปลูกสร้างมี คานิยามทีใ่ ช้ในการตีความ
หากเจ้าของทีด่ นิ เริม่ ทา ปลูกสร้างทีก่ รมธนารักษ์
มูลค่าเกิน 50 ล้านบาทนัน้ กฎหมายเกีย่ วกับประเภท
การเกษตรกรรม โดยไม่ได้ เป็นผูจ้ ดั ทา โดยไม่
มีจานวนไม่ถงึ 10,000 คน ทีด่ นิ และสิง่ ปลูกสร้าง ขาด
ทาอย่างจริงจัง ภายหลัง คานึงถึงค่าเช่าที่ ความชัดเจน ซึง่ อาจทาให้
จากทีพ่ รบ. ภาษีทด่ี นิ และ ดังนี้ การให้เหตุผลว่า ร่าง ผูป้ ระกอบการได้รบั ในแต่ เจ้าหน้าทีร่ ฐั ผูจ้ ดั เก้บภาษี
สิง่ ปลูกสร้างบังคับใช้ พรบ.ภาษีทด่ี นิ และสิง่ ปลูก ละปี ผูป้ ระกอบการจึงต้อง และประชาชนตีความ
เช่นนี้จะเก็บภาษีในอัตรา สร้าง มีวตั ถุประสงค์เพื่อ เสียภาษีสงู ทุกปีและไม่ กฎหมายต่างกันและ
ใด ลดความเหลื่อล้าจึงไม่ สอดคล้องกับหลัก นาไปสู่ขอ้ พิพาท
สอดคล้องกับความเป็นจริง ความสามารถในการเสีย
ภาษี

© 2017 Baker & McKenzie Ltd.


3 1 ปี กับ “ภาษี มรดก”

27
1 ปี กับ “ภาษี มรดก”
การบังคับใช้ “ภาษี มรดก”

 พระราชบัญญัตภิ าษีการรับมรดก พ.ศ. 2558 มีผลบังคับใช้ตงั ้ แต่วนั ที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559


 ตารางแสดงผลการจัดเก็บรายได้รฐั บาลเบือ้ งต้น แสดงให้เห็นว่า กรมสรรพากรยังไม่สามารถ
จัดเก็บภาษีมรดกได้
 ปญั หาอาจเกิดจากการกาหนดวงเงินมรดกทีต่ อ้ งเสียภาษีไว้สงู รวมถึงมีชอ่ งทางในการจัดการ
มรดกเพือ่ ไม่ให้เสียภาษีได้โดยถูกกฎหมาย

© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 28


29

1 ปี กับ “ภาษี มรดก” * อ้ างอิงจาก http://www.mof.go.th/home/Press_release/News2017/016.pdf

© 2017 Baker & McKenzie Ltd.


การโอนทรัพย์สินเข้าบริษทั
4 กับสิทธิประโยชน์ ทางภาษี
30
มาตรการส่งเสริมให้บคุ คลธรรมดาประกอบธุรกิจในรูปแบบบริษทั หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
• ค่าธรรมเนียมโอน (0.01% ของราคาประเมิน**)
ได้รบั ยกเว้นภาษี
• ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ตามพระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 630
• ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ (3.3% ของราคาซือ้ ขายหรือราคาประเมินทีส่ งู กว่า) แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราช
• อากรแสตมป์ (0.5% ของราคาซือ้ ขายหรือราคาประเมินทีส่ งู กว่า) กฤษฎีกา ฉบับที่ 644

การจดทะเบียนจัดตัง้ โอนทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบกิจการของบุคคล เพื่อชาระค่าหุ้นออกใหม่


นิตบิ ุคคลผูร้ บั โอน 1. อสังหาริมทรัพย์ตามราคาประเมินหรือราคาต้นทุนการได้มาซึ่งที่ดิน
ทรัพย์สนิ
และการโอนทรัพย์สนิ
จะต้องกระทาใน
 เจ้าของ
แล้วแต่อย่างใดจะสูงกว่า หรือ
2. โอนทรัพย์สินอื่น*ตามราคาตลาด

ช่วงเวลาระหว่างวันที่ ที่ดิน
10 สิงหาคม 2559
ถึงวันที่  ได้ร(ห้บั หุา้นมขายหุ
มูลค่าเท่ากับราคาของอสังหาริ มทรัพย์หรือทรัพย์สิน
้นที่ได้รบั มาในราคาตา่ กว่ามูลค่าทางบัญชี)
31 ธันวาคม 2560
* ทรัพย์สินอื่น หมายถึง ทรัพย์สินทัง้ ที่มีรปู ร่างและไม่มีรปู ร่าง ซึ่งรวมถึงที่ดิน สิ นค้า หุ้น ทรัพย์สินทางปัญญาไม่ว่าจะเป็ น ลิ ขสิ ทธิ์
สิ ทธิ บตั ร เครื่องหมายการค้า
** ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือ่ ง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิตกิ รรม ตามประมวลกฎหมายทีด่ นิ กรณีการโอนอสังหาริมทรัพย์ของผูถ้ อื หุน้ เพือ่ ชาระค่าหุน้ ให้แก่บริษทั หรือห้าง 31
หุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ใหม่ ตามมาตรการเพือ่ ส่งเสริมให้บุคคลธรรมดา ประกอบธุรกิจในรูปของนิตบิ คุ คล ตามหลักเกณฑ์ทคี ่ ณะรัฐมนตรีกาหนด (ประกาศ ณ วันที ่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2559)
มาตรการส่งเสริมให้บคุ คลธรรมดาประกอบธุรกิจในรูปแบบบริษทั หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
เงื่อนไขการได้รบั สิทธิประโยชน์ 1
1. เป็ นการโอนเพือ่ ชาระค่าหุน้ ด้วยทรัพย์สนิ อย่างอื่นนอกจากเงินสด เช่น ทีด่ นิ หุน้ หรือ สินค้า ซึง่ บุคคลดังกล่าวเป็ นเจ้าของ
กรรมสิทธิ ์ ทัง้ นี้ ต้องเป็ นทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบกิจการของบุคคล
2. เป็ นการโอนกรรมสิทธิ ์ในทรัพย์สนิ จากบุคคลให้แก่นติ บิ ุคคลทีจ่ ดั ตัง้ ใหม่ตงั ้ แต่วนั ที่ 10 สิงหาคม 2559 ถึง
วันที่ 31 ธันวาคม 2560 เพือ่ ใช้เป็ นทุนจดทะเบียนของนิตบิ ุคคลดังกล่าว ทัง้ นี้จะต้องเป็ นการโอนทรัพย์สนิ ตามราคาตลาด
เว้นแต่อสังหาริมทรัพย์ให้ใช้ราคาประเมินหรือราคาต้นทุนซื้อที่ดินแล้วแต่อย่างใดจะสูงกว่า
3. บุคคลผูโ้ อนทรัพย์สนิ ต้องได้รบั หุน้ เป็ นจานวนเท่ากับราคาของทรัพย์สนิ ทีโ่ อน
4. บุคคลผูโ้ อนต้องไม่โอนหุน้ อันเกิดจากการโอนกรรมสิทธิ ์ในทรัพย์สนิ ในราคาต่ากว่ามูลค่าทางบัญชี
5. จัดทาหนังสือรับรองการโอนอสังหาริมทรัพย์2 และแจ้งเรือ่ งต่อเจ้าพนักงานทีด่ นิ ท้องที่ และแจ้งต่ออธิบดีกรมสรรพากร3

ระยะเวลาของสิทธิประโยชน์ ทางภาษี คือ 10 สิงหาคม 2559 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2560


ี าร และเงือ่ นไขการยกเว้นภาษีเงินได้ ภาษีมลู ค่าเพิม่ ภาษีธุรกิจเฉพาะและอากรแสตมป์ ตามพระราชกฤษฎีกา ออกตามความใน
1 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร (ฉบับที ่ 4) เรือ่ ง กาหนดหลักเกณฑ์ วิธก

ประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที ่ 630) พ.ศ.2560 และประกาศอธิบดีกรมสรรพากร (ฉบับที ่ 5) เรือ่ ง กาหนดหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไขการยกเว้นภาษีเงินได้ ภาษีมลู ค่าเพิม่ ภาษี
ธุรกิจเฉพาะและอากรแสตมป์ ตามพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที ่ 630) พ.ศ.2560
2 หนังสือรับรองต้องมีขอ
้ ความอย่างน้อยตามเอกสารแนบท้ายของประกาศอธีบดี (ฉบับที ่ 4)
3 ผ่านกรมสรรพากรพื้นที ่ (ในท้องทีท
่ เี ่ ป็นภูมลิ าเนา หรือทีต่ งั ้ สถานประกอบการของผูโ้ อน หรือในเขตทีอ่ สังหาริมทรัพย์ตงั ้ อยู่ )

32
5 ภาษี กบั การฟอกเงิน
ภาษี กบั การฟอกเงิน
 ประเทศไทยเป็ นสมาชิกผูร้ ว่ มก่อตัง้ Asia Pacific Group on Money Laundering (APG)
 ต้องปฏิบตั ติ ามข้อแนะนาของ Financial Action Task Force (FATF)
 กาหนดให้อาชญากรรมเกี่ยวกับภาษี (Tax crimes related to direct taxes and indirect
taxes) เป็ นความผิดมูลฐานตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน)
“มาตรา 37 ตรี ความผิดตามมาตรา 37 มาตรา 37 ทวิ หรือมาตรา 90/4 ทีผ่ กู้ ระทาความผิดเป็นผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีอากรหรือ
นาส่งภาษีอากร และเป็นความผิดทีเ่ กีย่ วกับจานวนภาษีอากรทีห่ ลีกเลีย่ งหรือฉ้อโกงตัง้ แต่สบิ ล้านบาทต่อปีภาษีขน้ึ ไป หรือจานวนภาษี
อากรทีข่ อคืนโดยความเท็จ โดยฉ้อโกงหรืออุบาย หรือโดยวิธกี ารอืน่ ใดทานองเดียวกัน ตัง้ แต่สองล้านบาทต่อปีภาษีขน้ึ ไป และผูม้ ี
หน้าทีเ่ สียภาษีอากรหรือนาส่งภาษีอากรดังกล่าวได้กระทาในลักษณะทีเ่ ป็นกระบวนการหรือเป็นเครือข่าย โดยสร้างธุรกรรมอันเป็นเท็จ
หรือปกปิดเงินได้พงึ ประเมินหรือรายได้ เพือ่ หลีกเลีย่ งหรือฉ้อโกงภาษีอากร และมีพฤติกรรมปกปิดหรือซ่อนเร้นทรัพย์สนิ ทีเ่ กีย่ วกับการ
กระทาความผิดเพือ่ มิให้ตดิ ตามทรัพย์สนิ นัน้ ได้ ให้ถอื ว่าความผิดดังกล่าวเป็ นความผิดมูลฐานตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและ
ปราบปรามการฟอกเงิน เมือ่ อธิบดีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการพิจารณากลันกรองความผิ ่ ดทางภาษีอากรทีเ่ ข้าข่าย ความผิด
มูลฐานส่งข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องให้สานักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินแล้ว ให้ดาเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและ
ปราบปรามการฟอกเงินต่อไป
ในกรณีทมี ่ คี าวินิจฉัยอุทธรณ์ให้เสียภาษีอากรเพิม่ ขึ้น ผูอ้ ุทธรณ์จะต้องชาระภายในกาหนดเวลาเช่นเดียวกับวรรคก่อน”

© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 34


ภาษี กบั การฟอกเงิน
มาตรา 37 ตรี ให้ถือเป็ นความผิดมูลฐานตามกฎหมายว่าด้วยการป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
1. เป็ นความผิดตามมาตรา 37 มาตรา 37 ทวิ หรือมาตรา 90/4 เช่น

• เจตนาแจ้งข้อความเท็จ หรือให้ถอ้ ยคาเท็จ หรือตอบคาถามด้วยถ้อยคาอันเป็ นเท็จ หรือนา


พยานหลักฐานเท็จมาแสดง เพื่อหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากรหรือเพื่อขอคืนภาษี อากร (มาตรา 37)
หรือ

• โดยความเท็จ โดยฉ้ อโกงหรืออุบาย หรือโดยวิธกี ารอื่นใดทานองเดียวกัน หลีกเลีย่ ง หรือพยายาม


หลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากรหรือขอคืนภาษี อากร (มาตรา 37)

• เจตนาไม่ยื่นรายการที่ต้องยื่นตามกฎหมาย เพือ่ หลีกเลีย่ งการเสียภาษีอากร (มาตรา 37 ทวิ)

• เจตนาหลีกเลี่ยง หรือพยายามหลีกเลี่ยงภาษีมลู ค่าเพิ่ ม ออกใบกากับภาษี ใบเพิม่ หนี้ หรือใบลดหนี้


โดยไม่มสี ทิ ธิ (มาตรา 90/4)

• เจตนาหลีกเลีย่ งหรือพยายามหลีกเลี่ยงภาษีมลู ค่าเพิ่ ม หรือขอคืนภาษีมลู ค่าเพิม่ กระทาการใด ๆ โดย


ความเท็จ โดยฉ้ อโกงหรืออุบาย หรือโดยวิธกี ารอื่นใด ทานองเดียวกัน (มาตรา 90/4) เป็ นต้น และ
© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 35
ภาษี กบั การฟอกเงิน
มาตรา 37 ตรี
2. เป็ นความผิดทีเ่ กีย่ วกับ
• จานวนภาษี อากรที่หลีกเลี่ยงหรือฉ้ อโกงตัง้ แต่ 10 ล้านบาทต่อปี ภาษี ขึ้นไป หรือ
• จานวนภาษี อากรที่ขอคืนโดยความเท็จ โดยฉ้อโกงหรืออุบาย หรือโดยวิธกี ารอื่นใดทานอง
เดียวกัน ตัง้ แต่ 2 ล้านบาทต่อปี ภาษี ขึ้นไป และ

3. ได้กระทาในลักษณะทีเ่ ป็ นกระบวนการหรือเป็ นเครือข่าย โดยสร้างธุรกรรมอันเป็ นเท็จหรือปกปิดเงินได้


พึงประเมินหรือรายได้ เพือ่ หลีกเลีย่ งหรือฉ้อโกงภาษีอากรและ

4. มีพฤติกรรมปกปิดหรือซ่อนเร้นทรัพย์สินทีเ่ กีย่ วกับการกระทาความผิดเพือ่ มิให้ตดิ ตามทรัพย์สนิ นัน้ ได้

ผล เมื่ออธิ บดีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการพิจารณากลันกรองความผิ
่ ดทางภาษีอากรทีเ่ ข้า
ข่ายความผิดมูลฐาน
ส่งข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องให้สานักงานป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิ นแล้ว ให้ดาเนินการตาม
กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินต่อไป
© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 36
การกาหนดฐานภาษี เงินได้บคุ คลธรรมดาในการโอน
6 กรรมสิทธ์ ิ หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์
ตามมาตรา 49 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร
*เอกสารนี้ จัดทาขึ้นตามร่างพระราชบัญญัติ ซึง่ อยู่ระหว่างการเปิดรับฟังความคิดเห็นของประชาชน โดย
กรมสรรพากร ดังนี้ กฏหมายดังกล่าวจึงยังไม่มีผลบังคับและอาจมีการแก้ไขเปลีย่ นแปลงได้
ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขประมวลรัษฎากร (ฉบับที่..) พ.ศ. ....
การกาหนดฐานภาษี เงินได้บคุ คลธรรมดาในการโอนกรรมสิทธ์ ิ หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์
ตามมาตรา 49 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร
หลักการอันเป็ นสาระสาคัญ

1. กาหนดให้การโอนกรรมสิทธิ ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ ใช้ราคาดังต่อไปนี้


1) ในกรณี มีค่าตอบแทน
• ให้ใช้ราคาที่ซื้อขายตามความเป็ นจริงหรือ
• ราคาประเมินทุนทรัพย์ทใ่ี ช้อยูใ่ นวันทีม่ กี ารโอนนัน้ แล้วแต่อย่างใดจะสูงกว่า

2) ในกรณี ไม่มีค่าตอบแทน ให้ใช้ราคาประเมินทุนทรัพย์ทใ่ี ช้อยูใ่ นวันทีม่ กี ารโอนนัน้

2. เพือ่ ประโยชน์ในการรับจดทะเบียนสิทธิและนิตกิ รรม เมือ่ พนักงานเจ้าหน้าทีผ่ รู้ บั จดทะเบียนสิทธิและนิตกิ รรม


ได้รบั เงินภาษีหกั ณ ทีจ่ า่ ย โดยใช้ราคาขายทีผ่ มู้ เี งินได้พงึ ประเมินแจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าทีห่ รือราคาประเมิน
ทุนทรัพย์ แล้วแต่อย่างใดจะสูงกว่าเป็ นเงินได้พงึ ประเมิน ให้ถอื ว่าได้รบั เงินภาษีทน่ี าส่งไว้ครบถ้วนแล้ว

© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 38


ภาษี ลาภลอย (Windfall Tax)
7 ร่างพระราชบัญญัติภาษีการได้รบั ประโยชน์ จากการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคขัน้
พื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งของรัฐ พ.ศ. ....

*เอกสารนี้ จัดทาขึ้นตามร่างพระราชบัญญัติ ซึง่ อยู่ระหว่างการเปิดรับฟังความคิดเห็นของประชาชน โดยสศค.


ดังนี้ กฏหมายดังกล่าวจึงยังไม่มีผลบังคับและอาจมีการแก้ไขเปลีย่ นแปลงได้
ร่างพระราชบัญญัติภาษี การได้รบั ประโยชน์ จากการพัฒนาระบบ
สาธารณูปโภคขัน้ พืน้ ฐานด้านคมนาคมขนส่งของรัฐ พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล

• การลงทุนโครงการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคขัน้ พืน้ ฐานด้านคมนาคมขนของรัฐบาลส่งได้สง่ ผลให้มลู ค่า


ของทีด่ นิ และห้องชุดรอบบริเวณโครงการฯ เพิม่ สูงขึน้

 ราคาประเมินทุนทรัพย์ทด่ี นิ บริเวณแนวรถไฟฟ้าในปี พ.ศ. 2559 - 2562 มีการปรับตัวสูงขึน้ ถึง


ร้อยละ 100 -150% เมือ่ เทียบกับในรอบ 4 ปีกอ่ นหน้า

• สร้างความเป็ นธรรม โดยเจ้าของทีด่ นิ หรือห้องชุดได้รบั ประโยชน์จากส่วนต่างของมูลค่าทีด่ นิ และห้องชุด


ทีเ่ พิม่ ขึน้ เป็ นพิเศษควรเสียภาษีให้แก่รฐั

• เพือ่ ลดภาระด้านงบประมาณในการพัฒนาโครงการฯ ทีต่ อ้ งใช้เงินลงทุนจานวนมาก

40

© 2017 Baker & McKenzie Ltd.


ร่างพระราชบัญญัติภาษี การได้รบั ประโยชน์ จากการพัฒนาระบบ
สาธารณูปโภคขัน้ พืน้ ฐานด้านคมนาคมขนส่งของรัฐ พ.ศ. ....
ผู้เสียภาษี
1. บุคคลธรรมดาหรือนิตบิ ุคคล ซึง่ เป็ น
• เจ้าของที่ดินหรือครอบครองทีด่ นิ อันเป็ นทรัพย์สนิ ของรัฐ หรือ
• เจ้าของห้องชุด

2. บุคคลธรรมดาหรือนิตบิ ุคคล ซึง่ เป็ น


• เจ้าของที่ดินหรือครอบครองทีด่ นิ อันเป็ นทรัพย์สนิ ของรัฐ หรือ เจ้าของห้องชุด
• ที่ใช้ประโยชน์ ในเชิงพาณิชย์ที่มีมลู ค่าสูงกว่า 50 ล้านบาท และ

3. ั นาอสังหาริมทรัพย์ทเ่ี ป็ นเจ้าของห้องชุดรอการจาหน่าย ซึง่ อยูร่ อบพืน้ ทีท่ ม่ี โี ครงการพัฒนา


ผู้พฒ
ระบบสาธารณูปโภคขัน้ พืน้ ฐานด้านคมนาคมขนส่งของรัฐ

41

© 2017 Baker & McKenzie Ltd.


ร่างพระราชบัญญัติภาษี การได้รบั ประโยชน์ จากการพัฒนาระบบ
สาธารณูปโภคขัน้ พืน้ ฐานด้านคมนาคมขนส่งของรัฐ พ.ศ. ....
โครงการฯ ที่จดั เก็บภาษี พื้นที่จดั เก็บภาษี
โครงการรถไฟความเร็วสูง
• = พืน้ ทีใ่ นรัศมี 2.5 กิโลเมตร รอบสถานี
รถไฟรางคู่ รถไฟฟ้ าขนส่งมวลชน

สนามบิน • = พืน้ ทีใ่ นรัศมี 5 กิโลเมตร จากแนวเขตห้ามก่อสร้างของสนามบิน

ท่าเรือ • = พืน้ ทีใ่ นรัศมี 5 กิโลเมตร จากแนวเขตทีด่ นิ ของท่าเรือ

โครงการทางด่วนพิเศษ • = พืน้ ทีใ่ นรัศมี 2.5 กิโลเมตร รอบทางขึน้ และทางลง

โครงการอื่น ๆ ที่กาหนดใน
• -
กฎกระทรวง

© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 42


ร่างพระราชบัญญัติภาษี การได้รบั ประโยชน์ จากการพัฒนาระบบ
สาธารณูปโภคขัน้ พืน้ ฐานด้านคมนาคมขนส่งของรัฐ พ.ศ. ....
วิธีการจัดเก็บภาษี - ไม่จดั เก็บภาษี หากใช้ประโยชน์ เป็ นที่อยู่อาศัย หรือทาเกษตรกรรม

การจัดเก็บ การจัดเก็บ
ในระหว่างการดาเนินโครงการฯ เมื่อการดาเนินโครงการฯ แล้วเสร็จ

• จะจัดเก็บจากการขาย • จัดเก็บจากทีด่ นิ หรือห้องชุดทีใ่ ช้


• หรือเปลีย่ นกรรมสิทธิ ์ในทีด่ นิ หรือห้อง ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ทม่ี มี ลู ค่าสูงกว่า
ชุดทุกครัง้ 50 ล้านบาท
• เก็บจากห้องชุดของผูพ้ ฒ ั นา
อสังหาริมทรัพย์ทร่ี อการจาหน่าย

อัตราภาษี ที่จดั เก็บ


อัตราเพดานภาษีสงู สุดไม่เกิน 5% ของฐานภาษี ทัง้ นี้ อัตราภาษีทใ่ี ช้จดั เก็บจริงจะกาหนดในพระราชกฤษฎีกา

© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 43


ร่างพระราชบัญญัติภาษี การได้รบั ประโยชน์ จากการพัฒนาระบบ
สาธารณูปโภคขัน้ พืน้ ฐานด้านคมนาคมขนส่งของรัฐ พ.ศ. ....
ฐานภาษี เพื่อการคานวณภาษี
กรณี ที่ 1 จัดเก็บภาษี จากการขายที่ดินหรือห้องชุด ระหว่างการดาเนินการพัฒนาโครงการฯ
โครงการฯ ที่ทาสัญญาก่อนวันที่ พ.ร.บ. มีผลบังคับใช้ โครงการฯ ที่ทาสัญญาหลังจากวันที่ พ.ร.บ.มีผลบังคับใช้
จัดเก็บจากการขายที่ดินทุกประเภท
ฐานภาษี = มูลค่าทีด่ นิ ในวันทีม่ กี ารโอนกรรมสิทธิ ์ – มูลค่าทีด่ นิ ใน ฐานภาษี = มูลค่าทีด่ นิ ในวันทีม่ กี ารโอนกรรมสิทธิ ์ – มูลค่าทีด่ นิ ใน
วันที่ พ.ร.บ. มีผลบังคับใช้ หรือวันทีเ่ จ้าของซือ้ ทีด่ นิ แล้วแต่กรณี วันทีร่ ฐั เริม่ โครงการฯ (วันทีท่ าสัญญาก่อสร้างโครงการฯ) หรือวันที่
เจ้าของซือ้ ทีด่ นิ แล้วแต่กรณี
จัดเก็บจากห้องชุดที่ขาย
ห้องชุดใหม่ (ห้องชุดทีส่ ร้างระหว่างดาเนินการพัฒนาโครงการฯ) ฐานภาษี = ร้อยละ 20 มูลค่าห้องชุดในวันทีข่ าย
ฐานภาษี = ร้อยละ 20 มูลค่าห้องชุดในวันทีข่ าย

ห้องชุดเก่า (ห้องชุดทีส่ ร้างเสร็จก่อนดาเนินการพัฒนาโครงการฯ) ฐานภาษี = มูลค่าห้องชุดในวันทีม่ กี ารโอนกรรมสิทธิ ์


ฐานภาษี = มูลค่าขายห้องชุด – มูลค่าห้องชุดในวันที่ พ.ร.บ. – มูลค่าห้องชุดในวันทีร่ ฐั เริม่ โครงการฯ (วันทีท่ าสัญญาก่อสร้าง
มีผลบังคับใช้ หรือวันทีเ่ จ้าของซือ้ ห้องชุด แล้วแต่กรณี โครงการฯ) หรือวันทีเ่ จ้าของซือ้ ห้องชุด แล้วแต่กรณี
หมายเหตุ
• การคานวณมูลค่าทีด่ นิ และห้องชุด ให้ใช้ราคาประเมินทุนทรัพย์
• “วันทีร่ ฐั เริม่ ดาเนินโครงการฯ” หมายถึง วันทีท่ าสัญญาก่อสร้างโครงการฯ
© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 44
• “วันทีโ่ ครงการฯ แล้วเสร็จ” หมายถึง วันทีค่ ณะกรรมการตรวจรับพัสดุมมี ติตรวจรับโครงการฯ เสร็จสิน้ ทุกระบบและได้รบั ส่งมอบงาน
ร่างพระราชบัญญัติภาษี การได้รบั ประโยชน์ จากการพัฒนาระบบ
สาธารณูปโภคขัน้ พืน้ ฐานด้านคมนาคมขนส่งของรัฐ พ.ศ. ....
ฐานภาษี เพื่อการคานวณภาษี
กรณี ที่ 2 เมื่อการดาเนินโครงการฯ แล้วเสร็จ
โครงการฯ ที่ทาสัญญาก่อนวันที่ พ.ร.บ. มีผลบังคับใช้ โครงการฯ ที่ทาสัญญาหลังจากวันที่ พ.ร.บ.มีผลบังคับใช้

2.1 จัดเก็บจากที่ดินที่ใช้ประโยชน์ เชิ งพาณิ ชย์ที่มลู ค่าเกิ น 50 ลบ.


ฐานภาษี = มูลค่าทีด่ นิ ในวันทีโ่ ครงการฯ แล้วเสร็จ – มูลค่าทีด่ นิ ฐานภาษี = มูลค่าทีด่ นิ ในวันทีโ่ ครงการฯ แล้วเสร็จ – มูลค่าทีด่ นิ ในวันทีร่ ฐั เริม่
ในวันที่ พ.ร.บ. มีผลบังคับใช้ โครงการฯ

2.2 จัดเก็บจากห้องชุดที่ Developer ยังไม่ได้ขาย และห้องชุดที่ใช้ประโยชน์ เชิ งพาณิ ชย์ที่มีมลู ค่าเกิ น 50 ลบ. ที่เป็ นห้องชุดใหม่
ฐานภาษี = ร้อยละ 20 ของมูลค่าห้องชุดในวันทีโ่ ครงการฯ แล้วเสร็จ ฐานภาษี = ร้อยละ 20 ของมูลค่าห้องชุดในวันทีโ่ ครงการฯ แล้วเสร็จ

2.3 จัดเก็บจากห้องชุดที่ใช้ประโยชน์ เชิ งพาณิ ชย์ที่มีมลู ค่าเกิ น 50 ลบ.ที่เป็ นห้องชุดเก่า


ฐานภาษี = มูลค่าห้องชุดในวันทีโ่ ครงการฯ แล้วเสร็จ – มูลค่าห้องชุดในวันที่ ฐานภาษี = มูลค่าห้องชุดในวันทีโ่ ครงการฯ แล้วเสร็จ – มูลค่าห้องชุดในวันที่
พ.ร.บ. มีผลบังคับใช้ หรือวันทีเ่ จ้าของซือ้ ห้องชุด รัฐเริม่ โครงการฯ หรือวันทีเ่ จ้าของซือ้ ห้องชุด

หมายเหตุ
• การคานวณมูลค่าทีด่ นิ และห้องชุด ให้ใช้ราคาประเมินทุนทรัพย์
• “วันทีร่ ฐั เริม่ ดาเนินโครงการฯ” หมายถึง วันทีท่ าสัญญาก่อสร้างโครงการฯ
© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 45
• “วันทีโ่ ครงการฯ แล้วเสร็จ” หมายถึง วันทีค่ ณะกรรมการตรวจรับพัสดุมมี ติตรวจรับโครงการฯ เสร็จสิน้ ทุกระบบและได้รบั ส่งมอบงาน
ร่างพระราชบัญญัติภาษี การได้รบั ประโยชน์ จากการพัฒนาระบบ
สาธารณูปโภคขัน้ พืน้ ฐานด้านคมนาคมขนส่งของรัฐ พ.ศ. ....
ผูจ้ ดั เก็บภาษี
กาหนดให้กรมสรรพากรเป็ นหน่ วยงานรับผิดชอบจัดเก็บภาษี
โดยมอบอานาจให้
 กรมทีด่ นิ จัดเก็บภาษีแทนในกรณีท่ี 1 และ
 องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จัดเก็บภาษีแทนในกรณีท่ี 2

• ทัง้ นี้ กรมทีด่ นิ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ อาจรับค่าใช้จา่ ยตามอัตราทีก่ าหนดในกฎกระทรวง แต่ไม่เกินร้อยละ


3 ของภาษีทร่ี บั ชาระ

46

© 2017 Baker & McKenzie Ltd.


E-commerce Tax
8 ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ...
เพื่อรองรับการจัดเก็บภาษีจากผู้ประกอบการธุรกรรอิเล็กทรอนิกส์ (e-Business)

*เอกสารนี้ จัดทาขึ้นตามร่างพระราชบัญญัติ ซึง่ อยู่ระหว่างการเปิดรับฟังความคิดเห็นของประชาชน โดย


กรมสรรพากร ดังนี้ กฏหมายดังกล่าวจึงยังไม่มีผลบังคับและอาจมีการแก้ไขเปลีย่ นแปลงได้
ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
เพื่อรองรับการจัดเก็บภาษี จากผูป้ ระกอบการธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (e-Business)

หลักการอันเป็ นสาระสาคัญ
1. ให้ถือว่านิ ติบคุ คลตามกฎหมายต่างประเทศประกอบกิ จการใน .co.th
ประเทศไทย และให้มีหน้ าที่เสียภาษีเงิ นได้ ในประเทศไทย
.ac.th
เฉพาะที่เกี่ยวกับเงิ นได้หรือผลกาไรนัน้ ถ้า .in.th
• เป็ นนิตบิ ุคคลซึง่ ตัง้ ขึน้ ตามกฎหมายของต่างประเทศ .go.th

• ประกอบกิจการโดยการใช้ส่อื อิเล็กทรอนิกส์ โดยในการประกอบ .or.th


กิจการนัน้ มีลกั ษณะใดลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้
1) มีการใช้โดเมนท้องถิน่ ของไทย
2) มีการสร้างระบบการชาระเงินเป็ นสกุลเงินไทยหรือมีการ .mi.th
โอนเงินจากประเทศไทย
3) กรณีอ่นื ตามทีอ่ ธิบดีกาหนด

• การประกอบกิจการนัน้ เป็นเหตุให้ได้รบั เงินได้หรือผลกาไรใน .net.th


ประเทศไทย

© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 48


ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
เพื่อรองรับการจัดเก็บภาษี จากผูป้ ระกอบการธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (e-Business)

หลักการอันเป็ นสาระสาคัญ (ต่อ)

2. ให้ผจู้ า่ ยหักภาษีจากเงิ นได้ที่จ่ายในอัตราร้อยละ 15 และ


นาส่งกรมสรรพากร ต่อเมื่อ
• จ่ายเงินได้ให้นิตบิ ุคคลซึง่ ตัง้ ขึน้ ตามกฎหมายของ
ต่างประเทศ และ

• นิตบิ ุคคลตามกฎหมาต่างประเทศประกอบกิจการโดย
การใช้สื่ออิ เล็กทรอนิ กส์และมิ ได้ประกอบกิ จการ
ในประเทศไทย

• นิตบิ ุคคลตามกฎหมาต่างประเทศได้รบั เงินได้พงึ


ประเมินจากการประกอบกิจการดังกล่าวอันเป็ นเงิ นได้
ประเภทค่าโฆษณาออนไลน์ ค่าใช้พืน้ ที่ในเว็บไซต์
หรือประเภททีจ่ ะได้กาหนดโดยกฎกระทรวง

© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 49


ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
เพื่อรองรับการจัดเก็บภาษี จากผูป้ ระกอบการธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (e-Business)

หลักการอันเป็ นสาระสาคัญ (ต่อ)


3. กาหนดให้ผป้ ู ระกอบการที่อยู่นอกราชอาณาจักรซึง่ ขายสินค้าทีไ่ ม่มรี ปู ร่างหรือให้บริการโดยการใช้สื่ออิ เล็กทรอนิ กส์ แก่ผู้
ซือ้ สินค้าหรือผูร้ บั บริการทีไ่ ม่ได้เป็ นผูป้ ระกอบการจดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่

• หากมีรายรับจากการขายสินค้าหรือให้บริการดังกล่าวเกินกว่า 1.8 ล้านบาทต่อปี


• ให้ยื่นคาขอจดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิ่ มและมีหน้ าที่เสียภาษีมลู ค่าเพิ่ ม

4. กรณีผปู้ ระกอบการทีอ่ ยูน่ อกราชอาณาจักรได้ขายสินค้าไม่มรี ปู ร่างหรือให้บริการผ่านทางเว็บไซต์หรือแอปพลิ เคชันของผูอ้ ื่น


• กาหนดให้ผเ้ ู ป็ นเจ้าของเว็บไซต์หรือแอปพลิ เคชันนัน้ เป็ นตัวแทนของผูป้ ระกอบการดังกล่าว
• โดยต้องยื่นคาขอจดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิ่ มแทนผูป้ ระกอบการ และเมื่อจดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ แล้ว มีสทิ ธิ
หน้าที่ และความรับผิดเช่นเดียวกับผูป้ ระกอบการนัน้

5. กาหนดให้ยกเลิกการยกเว้นภาษีมลู ค่าเพิม่ สาหรับสินค้าทีม่ กี ารนาเข้าทางไปรษณียท์ ม่ี รี าคาต่ากว่า 1,500 บาท

© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 50


มาตรการป้ องกันการกาหนดราคาโอนระหว่างบริษทั หรือห้าง
9 หุ้นส่วนนิติบคุ คลที่มีความสัมพันธ์กนั (Transfer Pricing))
(ร่าง พ.ร.บ. Transfer Pricing)
*เอกสารนี้ จัดทาขึ้นตามร่างพระราชบัญญัติ ซึง่ อยู่ระหว่างการเปิดรับฟังความคิดเห็นของประชาชน โดย
กรมสรรพากร ดังนี้ กฏหมายดังกล่าวจึงยังไม่มีผลบังคับและอาจมีการแก้ไขเปลีย่ นแปลงได้
ร่าง พ.ร.บ. Transfer Pricing
ร่างมาตรา 71 ทวิ วรรคหนึ่ ง แห่งประมวลรัษฎากร

• ในกรณีทเ่ี จ้าพนักงานประเมินตรวจสอบพบว่า
 บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลที่มีความสัมพันธ์กนั
 มีข้อกาหนดทางด้านการพาณิชย์และการเงินระหว่างกันแตกต่างไปจากที่ควรได้กาหนด
หากบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลดังกล่าวได้ดาเนินการโดยอิสระ

• เจ้าพนักงานประเมินมีอานาจปรับปรุงรายได้และรายจ่ายในการคานวณภาษีเงินได้นติ บิ ุคคลของ
บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลดังกล่าว

 ให้ได้รายได้ทพ่ี งึ ได้รบั และรายจ่ายทีพ่ งึ ได้จา่ ยหากบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลดังกล่าว


ได้ดาเนินการโดยอิสระ
 ในการปรับปรุงดังกล่าวจะคานึ งถึงการขจัดภาระภาษี ซ้อนให้แก่ค่สู ญ ั ญาด้วย ซึง่ เป็ นไป
ตามมาตรฐานสากลและข้อตกลงตามสัญญาระหว่างประเทศทีร่ ฐั บาลไทยได้ทาไว้กบั รัฐบาล 52

ต่างประเทศ ทัง้ นี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไขทีก่ าหนดในกฎกระทรวง

© 2017 Baker & McKenzie Ltd.


ร่าง พ.ร.บ. Transfer Pricing
ร่างมาตรา 71 ทวิ วรรคสอง แห่งประมวลรัษฎากร
• คานิยามของ “บริษทั หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์กนั ”
(1) นิตบิ ุคคลหนึ่งถือหุ้นหรือเป็ นหุ้นส่วนในอีก (2) ผูถ้ ือหุ้นหรือผูเ้ ป็ นหุน้ ส่วนซึง่ ถือหุน้ หรือเป็ น (3) นิตบิ ุคคลทีม่ คี วามสัมพันธ์ระหว่าง
นิตบิ ุคคลหนึ่งไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมไม่ หุน้ ส่วนในอีกนิตบิ ุคคลหนึ่งไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม กันในด้านทุน การจัดการ หรือการ
น้ อยกว่า 50% ของทุนทัง้ หมด ไม่น้อยกว่าร้อยละห้ าสิ บของทุนทัง้ หมด ถือหุ้น ควบคุมในลักษณะทีน่ ิตบิ ุคคลหนึ่งไม่
หรือเป็ นหุ้นส่วนในอีกนิ ติบคุ คลหนึ่ งไม่ว่าโดย อาจดาเนินการโดยอิสระจากอีกนิตบิ ุคค
บริษทั ก ทางตรงหรือทางอ้อมไม่น้อยกว่าร้อยละห้ าสิ บของ หนึ่งตามทีก่ าหนดโดยกฎกระทรวง
ทุนทัง้ หมด หรือ
บริษทั ก บริษทั ก
80% ทางอ้อม

50%
 ความสัมพันธ์ระหว่างกัน
บริษทั A ในด้านทุน
ทางตรง
การจัดการ หรือ
บริษทั ข 50% 50% 50% การควบคุม
บริษทั ก บริษทั ข
บริษทั ข บริษทั ข

© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 53


ร่าง พ.ร.บ. Transfer Pricing
ร่างมาตรา 71 ทวิ วรรคสาม แห่งประมวลรัษฎากร
• อายุความการขอคืนภาษี (กรณีทเ่ี จ้าพนักงานประเมินใช้อานาจปรับปรุงรายได้และรายจ่ายของบริษทั )
• 3 ปีนบั แต่วนั สุดท้ายแห่งกาหนดเวลายืน่ รายการภาษีตามทีก่ ฎหมายกาหนด หรือ
• 60 วันนับแต่วนั ทีไ่ ด้รบั แจ้งการปรับปรุงนัน้ จากเจ้าพนักงานประเมินเป็ นหนังสือ
ร่างมาตรา 71 ตรี แห่งประมวลรัษฎากร
• บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลทีม่ คี วามสัมพันธ์กนั และมีรายได้เกินกว่ารายได้ขนั ้ ต่าตามจานวนทีจ่ ะกาหนดใน
กฎกระทรวง

 หน้ าที่จดั ทารายงานข้อมูลเกีย่ วกับบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลทีม่ คี วามสัมพันธ์กนั และมูลค่ารวมของ


ธุรกรรมระหว่างกันในรอบระยะเวลาบัญชีตามแบบทีอ่ ธิบดีกาหนด และ
 นาส่งต่อเจ้าพนักงานประเมินพร้อมกับการยืน่ รายการภายในกาหนดเวลาตามมมาตรา 69
 ภายใน 5 ปี นับแต่วนั ที่ได้ยื่นรายงาน เจ้าพนักงานประเมิ นโดยอนุ มตั อิ ธิบดีอาจแจ้งให้บริ ษทั หรือห้าง
หุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลที่มีความสัมพันธ์กนั ยืน่ เอกสารหรือหลักฐานแสดงข้อมูลทีจ่ าเป็ นสาหรับวิเคราะห์การ
กาหนดราคาโอนของธุรกรรมระหว่างกันตามทีอ่ ธิบดีประกาศกาหนด
 ผูไ้ ด้รบั แจ้งต้องปฏิบตั ติ ามภายใน 60 วันนับแต่วนั ทีไ่ ด้รบั แจ้ง
 เว้นแต่มเี หตุจาเป็ นจนไม่สามารถปฏิบตั ไิ ด้ อธิบดีจะขยายกาหนดเวลาได้
แต่ตอ้ งไม่เกิน 120 นับแต่วนั ทีไ่ ด้รบั แจ้ง
© 2017 Baker & McKenzie Ltd.
54
ร่าง พ.ร.บ. Transfer Pricing
ร่างมาตรา 35 ตรี แห่งประมวลรัษฎากร
• โทษปรับอาญา ไม่เกิน 200,000 บาท สาหรับ

 ผูใ้ ดทีไ่ ม่ยน่ื รายงานหรือเอกสารหรือหลักฐานตามมาตรา 71 ตรี หรือ


 ยืน่ รายงานหรือเอกสารหรือหลักฐานโดยแสดงข้อมูลไม่ถูกต้องครบถ้วนโดยไม่มเี หตุอนั สมควร

© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 55


ระบบภาษี และเอกสารธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ตามแผน
10 ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงการพืน้ ฐานระบบการชาระเงินแบบ
อิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ (National e-Payment Master Plan)
*เอกสารนี้ จัดทาขึ้นตามร่างพระราชบัญญัติ ซึง่ อยู่ระหว่างการเปิดรับฟังความคิดเห็นของประชาชน โดย
กรมสรรพากร ดังนี้ กฏหมายดังกล่าวจึงยังไม่มีผลบังคับและอาจมีการแก้ไขเปลีย่ นแปลงได้
ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร(ฉบับที่..) พ.ศ. ....
เพื่อรองรับระบบภาษี และเอกสารธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงการ
พืน้ ฐานระบบการชาระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ (National e-Payment Master Plan)

สาระสาคัญ
1. ผูม้ หี น้าทีห่ กั และนาส่งภาษีหกั ณ ทีจ่ า่ ย ซึง่
• จ่ายเงินได้พึงประเมินไปยังผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษี
• โดยวิธีการโอนเงินหรือวิธกี ารอื่นใดทานองเดียวกัน
• ซึ่งธนาคารตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจสถาบันการเงินหรือกฎหมายเฉพาะ หรือบุคคล
อื่นทีก่ าหนดโดยกฎกระทรวงเปิดให้บริการ
• สามารถเลือกหักภาษี และนาส่งผ่านธนาคารหรือบุคคลอืน่ ทีก่ าหนดโดยกฎกระทรวง
พร้อมการจ่ายเงินได้พงึ ประเมินนัน้ ได้
2. ให้ธนาคารมีหน้ าที่รบั เงินและให้ส่งกรมสรรพากร ตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร
และเงือ่ นไขทีอ่ ธิบดีกาหนด และ
• ความรับผิดกรณี ที่มิได้ส่งเงินตามกาหนดหรือส่งไม่ครบถ้วน ให้
ธนาคารหรือบุคคลอืน่ นัน้ รับผิดเท่าจานวนเงินภาษีทไ่ี ด้รบั ไว้หรือส่งไม่
ครบถ้วนให้แก่กรมสรรพากร และเสียเงินเพิม่ ร้อยละ 1.5 ต่อเดือนหรือ
เศษของเดือนของเงินภาษีทไ่ี ด้รบั ไว้หรือส่งไม่ครบถ้วน

© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 57


ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร(ฉบับที่..) พ.ศ. ....
เพื่อรองรับระบบภาษี และเอกสารธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงการ
พืน้ ฐานระบบการชาระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ (National e-Payment Master Plan)

ข้อมูลจากเอกสารเผยแพร่ของกรมสรรพากร
© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 58
11 การร่วมมือกับองค์กรระดับสากล
การร่วมมือกับองค์กรระดับสากล
โครงการแลกเปลี่ยนข้อมูลของผูเ้ สียภาษี
 “Global Forum on Transparency and Exchange of Information for Tax Purposes” เป็ นโครงการความ
ร่วมมือเพือ่ ความโปร่งใสและการแลกเปลีย่ นข้อมูลด้านภาษี เพือ่ ต่อต้านการหลบหลีกภาษีและการหนีภาษี
 ประเทศไทยเป็ นประเทศที่ 139 ทีเ่ ข้าร่วมโครงการดังกล่าว
 ตัวอย่างประเทศทีเ่ ข้าร่วมโครงการ เช่น BVI, Cayman Islands, The Bahamas, Singapore, Hong Kong เป็ น
ต้น
 ประเทศทีเ่ ข้าร่วมโครงการจะต้องดาเนินการเพือ่ ให้เป็ นไปตามมาตรฐานขององค์กร
 ประเทศไทยอาจต้องดาเนินการแก้ไข มาตรา 10 แห่งประมวลรัษฎากร เพือ่ ให้สามารถเปิดเผยข้อมูลของผูเ้ สีย
ภาษีได้
 มาตรา 10 เจ้าพนักงานผูใ้ ดโดยหน้าทีร่ าชการตามลักษณะนี้ ได้รเู้ รือ่ งกิจการของผูเ้ สียภาษีอากรหรือของผูอ้ นื ่ ทีเ่ กีย่ วข้อง
ห้ามมิให้นาออกแจ้งแก่ผใู้ ดหรือยังให้ทราบกันไปโดยวิธใี ด เว้นแต่จะมีอานาจทีจ่ ะทาได้โดยชอบด้วยกฎหมาย

© 2017 Baker & McKenzie Ltd.


60
การร่วมมือกับองค์กรระดับสากล
โครงการ Base Erosion and Profit Shifting Project (BEPS Project) ภายใต้ Inclusive Framework

 เข้าร่วมในฐานะ Associate Country ภายใต้ Inclusive Framework ซึง่ ต้องปฏิบตั ติ าม


 Action Plan 5 : Countering Harmful Tax Practice
 Action Plan 6 : Preventing the Granting of Treaty Benefit in Inappropriate Circumstances
 Action Plan 13 : Transfer Pricing Documentation and Country-bu-Country Reporting
 Action Plan 14 : Making Dispute Resolution Mechanisma More Effective

 เขตเศรษฐกิจทีเ่ ข้าร่วมเป็นสมาชิกแล้วในปจั ุบนั : 94 เขตเศรษฐกิจ เช่น สิงคโปร์ บรูไนดารุสซาลาม อินโดนีเซีย


จีน อินเดีย ญีป่ นุ่ สาธารณรัฐเกาหลี มาเก๊า และฮ่องกง

© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 61


การร่วมมือกับองค์กรระดับสากล
โครงการ Base Erosion and Profit Shifting Project (BEPS Project) ภายใต้ Inclusive Framework (ต่อ)

• เป็ นการแสดงจุดยืนของไทยในการป้องกันการกัดกร่อนฐานภาษี • ค่าสมาชิก 20,000 ยูโรต่อปี (760,380 บาท)


และการโอนกาไร ซึง่ เป็นวาระสาคัญของเวทีต่างๆ ทัวโลก
่ เช่น • ไทยต้องปรับปรุงกฎหมายหลายมาตรา เช่น
World Bank, G20
• การกาหนดราคาโอน
• ทาให้ไทยไม่รวมอยูใ่ นรายชื่อประเทศทีไ่ ม่ให้ความร่วมมือทาง
ภาษีของ EU และไม่ถูกมาตรการตอบโต้จาก EU • กาหนดให้บริษทั ไทยทีม่ รี ายรับ 750 ล้านยูโรจัดส่ง
Country-by-country Reports เพือให้สรรพากรนาส่ง
• ทาให้ไทยหลุกพ้นจากการประกาศโดย OECD ว่าเป็นประเทศที่ ไปยังประเทศต่างๆ ทีบ่ ริษทั ดังกล่าวประกอบกิจการ
อาจเป็นภัยคุกคามต่อประเทศอื่น (country of Relevance) รูปบริษทั ในเครือ / สาขา
• ไทยสามารถเชื่อโยงข้อมูลกับสรรพากรต่างประเทศ เพื่อให้ได้มา
ซึง่ ข้อมูล อันจะช่วยป้องกันการหลบเลีย่ งภาษีระหว่างประเทศ
• มีช่องทางพิเศษในการเพิม่ ข้อบทใน DTA เพื่อป้องกัน Treaty
shopping แทนการเปิดเจรจาเป็ นรายประเทศจานวน 60 ประเทศ
• กรมสรรพากรสามารถขอความช่วยเหลือทางเทคนิคจากองค์กร
ระหว่างประเทศ เพื่อดาเนินการตามมาตรฐานขัน้ ต่าได้

© 2017 Baker & McKenzie Ltd. 62


เมษายน 2560 63
ถาม - ตอบ
ขอบคุณ
ศาสตราจารย์พิเศษ กิติพงศ์ อุรพีพฒ
ั นพงศ์
ประธานกรรมการ
บริษทั เบเคอร์ แอนด์ แม็คเค็นซี่ จากัด
โทรศัพท์ 0-2636-2000 ต่อ 3776
โทรสาร 0-2636-2111 ต่อ 3776
อีเมล bmku@bakermckenzie.com

64

You might also like