You are on page 1of 22

ความคงสภาพของยาเตรียมเฉพาะคราวในรูปแบบต่างๆ

(Stability of extemporaneous preparations in various dosage forms)


ผศ.ดร.ภญ. อรวรรณ จิ ตรวาณิ ช
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยสยาม
รหัสกิ จกรรม: 1014-1-000-001-01-2562
วันที่รบั รอง: 8 มกราคม 2562
วันที่หมดอายุ: 7 มกราคม 2563
จานวนหน่ วยกิ ต: 2 หน่ วย
บทคัดย่อ
เภสัชกรในโรงพยาบาลโดยเฉพาะของรัฐ มักจะได้รบั ใบสังแพทย์ ่ ให้ เตรียมยาหรือต้องจ่ายยาเฉพาะคราว
(extemporaneous preparation) หรือ ยาเตรีย มเฉพาะรายในรูป แบบต่ า งๆ เนื่ อ งจากในท้อ งตลาด ไม่ มีรูป แบบที่
ต้องการ ยาเตรียมเฉพาะคราวในรูปแบบต่างๆ ทีเ่ ภสัชกรเตรียมขึน้ นัน้ มักขาดข้อมูลของสูตรตารับและความคงสภาพที่
ทาให้มนใจได้
ั่ ว่า ยาเตรียมนัน้ ยังคงปลอดภัยและมีประสิทธิภาพในการรักษา บทความนี้จงึ รวบรวมความคงสภาพของ
ยาเตรียมเฉพาะคราวพร้อมสูตรตารับจากงานวรรณกรรมแหล่งต่างๆ เพื่อใช้เป็ นแนวทางการกาหนดวันหมดอายุ หรือ
วันที่ไม่ควรใช้เภสัชภัณฑ์นัน้ อีกต่อไป (beyond-use date, BUD) ซึ่งพบว่า นอกจากการเสื่อมสลายของตัวยาสาคัญ
จากปั จจัยต่างๆ เช่น การเกิด oxidation, hydrolysis, photolysis หรือ thermolysis ยังมีสาเหตุจากการเกิดปฏิกริ ยิ ากับ
ส่วนประกอบทัง้ ในสูตรของรูปแบบทีน่ ามาเตรียม และทีน่ ามาช่วยในตารับยาเตรียมเฉพาะคราว

คาสาคัญ: ยาเตรียมเฉพาะคราว, ความคงสภาพ, รูปแบบยา

จุดประสงค์
1. เพื่อให้มคี วามรูเ้ กีย่ วกับหลักเกณฑ์ความคงสภาพของยาเตรียมเฉพาะคราว
2. เพื่อให้ได้ขอ้ มูลของสูตรตารับและความคงสภาพของยาเตรียมเฉพาะคราวในรูปแบบต่างๆ

บทนา
ยาเตรียมเฉพาะคราว (extemporaneous preparations) (1) ซึ่งมีความหมายเดียวกับ ยาเตรียมเฉพาะราย
(extemporaneous compounding) (2) หมายถึง ยาเตรียมทีแ่ พทย์หรือทันตแพทย์ให้ผปู้ ่ วยเฉพาะราย ทีต่ อ้ งการขนาด
ยา หรือยารูปแบบอื่นทีไ่ ม่มจี าหน่ ายในท้องตลาดหรือไม่มใี นโรงพยาบาล และต้องจ่ายทันทีหลังเตรียมเสร็จ ไม่มกี าร
เก็บในคลัง (stock) (3) เพื่อความปลอดภัย มีประสิทธิภาพในการรักษา ให้ผู้ป่วยสะดวกในการบริหารยา ให้ความ
ร่วมมือในการรักษา เช่น ผูป้ ่ วยเด็ก ผูส้ งู อายุทไ่ี ม่สามารถกลืนยาเม็ด หรือแคปซูลได้ มีทงั ้ รูปแบบยาทัวไป
่ (nonsterile
products) ได้แก่ ยาน้ าเชื่อม ยาผง ยาครีม ยาทีต่ ้องบดและให้ทางสายยางให้อาหาร และรูปแบบยาที่ต้องผลิตโดยวิธี
ปราศจากเชื้อ (aseptic technique) ส าหรับ ผู้ป่ วยแต่ ละราย ได้แ ก่ ยาตา ยาเคมีบ าบัด หรือ ยาที่เป็ น พิษ ต่ อ เซลล์
สารอาหารทีใ่ ห้ทางหลอดเลือดและ IV admixture (4) เภสัชกรจึงมีหน้าที่ทต่ี ้องเตรียมยาเฉพาะรายนี้ โดยเตรียมจาก
รูปแบบยาทีม่ ใี นท้องตลาด ซึง่ มีทงั ้ เภสัชภัณฑ์ทไ่ี ม่ใช่ยาปราศจากเชือ้ ได้แก่ ยาเม็ด แคปซูล และยาปราศจากเชือ้ เช่น
ยาฉีด หรือเตรียมจากสารตัง้ ต้น (starting materials) ทีเ่ ป็ นตัวยาออกฤทธิ ์ (active pharmaceutical ingredients) ซึง่ มี
ข้อมูลน้อยเกีย่ วกับการศึกษาความคงสภาพ หรือความคงตัวของแต่ละสูตรตารับเหมือนกับทีโ่ รงงานผลิตยาทีไ่ ด้ศกึ ษา
ความคงสภาพของยาที่ผลิต ยกเว้นโรงพยาบาลบางแห่งที่ให้ท างคณะเภสัชศาสตร์ท าการศึกษา บทความนี้ จึงมี
จุดประสงค์นาเอางานวิจยั จากแหล่ง ต่ างๆ ได้แก่ สูตรตารับของ ASHP (The American Society of Health-System

1
Pharmacists) (5) สูต รต ารับ ของโรงพยาบาลในประเทศ (6-10) มาเป็ น ข้อ มูลสาหรับ ผู้ท่ีเตรีย มยาเฉพาะคราวใน
โรงพยาบาลในประเทศได้พจิ ารณา เพื่อมันใจในความปลอดภั
่ ยและประโยชน์ สงู สุดของผูป้ ่ วยทีไ่ ด้รบั ยาเตรียมเฉพาะ
คราวในรูปแบบต่างๆ

สิ่ งที่ต้องคานึ งถึงในการเตรียมยาเฉพาะคราว


เมื่อเภสัชกรได้รบั ใบสังแพทย์
่ ให้เตรียมยาแก่ผปู้ ่ วยเฉพาะราย เภสัชกรต้องคานึงถึงหัวข้อดังต่อไปนี้ (2)
1. รูปแบบของยาทีจ่ ะเตรียม ได้แก่ ยาผง ยาน้าสารละลาย ยาน้าเชื่อม ยาน้าแขวนตะกอน ยาทาใช้ภายนอก ยา
หยอดตา รวมถึงยาทีเ่ ป็ นพิษต่อเซลล์ (cytotoxic drug) สารอาหารทางหลอดเลือดดา (total parenteral
nutrition) และ IV admixture ขึน้ กับการนาไปใช้งานและปลอดภัย รวมทัง้ ให้มปี ระสิทธิภาพการรักษาสูงสุด
2. ความเข้มข้น คานวณได้จากขนาดยาทีแ่ พทย์ตอ้ งการ
3. ปั จจัยทีม่ ผี ลต่อความคงตัวของตัวยาสาคัญ เช่น สภาวะแวดล้อม ได้แก่ อุณหภูมิ แสง อากาศ และความชืน้
รวมทัง้ ส่วนประกอบของภาชนะบรรจุ
4. กระบวนการเตรียมยา ควรเตรียมตามหลักเกณฑ์วธิ กี ารทีด่ ใี นการผลิตยาในโรงพยาบาล โดยเฉพาะยาเตรียม
เฉพาะราย ได้แก่ สถานที,่ บุคลากร, เครื่องมือ อุปกรณ์, การคัดเลือกสารทีต่ อ้ งใช้ในตารับ, ปริมาณทีผ่ ลิต,
ข้อควรระวังในการผลิต
5. ภาชนะบรรจุ การเก็บรักษา และการกาหนด BUD
6. เอกสารควบคุมการผลิตได้แก่ เอกสารทีก่ าหนดในมาตรฐานของการปฏิบตั ิ (standard operating procedure,
SOP)

หลักเกณฑ์ความคงสภาพของยาเตรียมเฉพาะคราว
โดยทัวไป
่ เภสัชตารับสหรัฐอเมริกา (USP) จะกาหนดยาเตรียมเฉพาะคราวให้มอี ายุหรือ BUD ทีม่ ากทีส่ ดุ ใน
แต่ละรูปแบบยา ตามตารางที่ 1 แต่ตอ้ งไม่นานกว่าอายุของสารทีเ่ ป็ นส่วนประกอบในสูตรตารับ และถ้าทราบว่าสารมี
การเสือ่ มสลายทางเคมีได้ จะมี BUD ทีส่ นั ้ กว่านี้ (12) ซึง่ ยาเตรียมทีไ่ ม่ปราศจากเชือ้ จะต้องบรรจุในภาชนะปิ ดแน่น
ป้ องกันแสง และเก็บในอุณหภูมหิ อ้ งทีค่ วบคุม (20-25°C) ยกเว้นทีม่ กี ารกาหนดไว้ ส่วนยาเตรียมปราศจากเชือ้ จะต้อง
มีการการทดสอบความปราศจากเชือ้ (sterility) นอกจากจะมีขอ้ มูลทีเ่ ชื่อถือได้ โดยตารางที่ 2 แสดงหลักเกณฑ์ในการ
ยอมรับความคงสภาพของผลิตภัณฑ์ยาตาม USP สาหรับสูตรตารับทีม่ คี วามเสีย่ งของยาเตรียมเฉพาะคราวจะกาหนด
อายุการเก็บรักษา (shelf life) 28 วัน ถ้ามีสารกันเสีย หรือ 7 วันถ้าไม่ได้ใส่สารกันเสีย แต่ถา้ มีขนาดยาในการรักษาที่
แคบ อาจจะให้เพียง 2 ถึง 3 วัน

ตารางที่ 1 BUD ของสูตรตารับแต่ละชนิด


สูตรตารับทีไ่ ม่มนี ้า (nonaqueous formulation) BUD ไม่เกินอายุของตัวยาสาคัญ แต่ตอ้ งไม่เกิน 6 เดือน

สูตรตารับสาหรับรับประทานทีม่ นี ้า BUD ไม่เกิน 14 วัน เมื่อเก็บในทีเ่ ย็น


สูตรตารับทีม่ นี ้าทัง้ รูปแบบของเหลวและกึง่ แข็งสาหรับใช้
BUD ไม่เกิน 30 วัน
ภายนอกบนผิวหนัง, เยื่อบุ

2
สูตรตารับและความคงสภาพของยาเตรียมเฉพาะคราวรูปแบบต่างๆ
เนื่องจากโรงพยาบาลส่วนใหญ่มกั จะไม่มตี วั ยาสาคัญทีเ่ ป็ นสารเคมีบริสุทธิ ์ ดังนัน้ การเตรียมยาเตรียมเฉพาะ
คราวในโรงพยาบาลมักเป็ นการนาเอายาเม็ดมาบดหรือการเทผงยาออกจากเปลือ กเเคปซูล แล้วนามาผสมกับกระสาย
ยา (vehicle) ทาให้ได้ยาน้ าที่มคี วามแรงตามใบสังแพทย์
่ เพื่อจ่ายให้กบั ผูป้ ่ วย อย่างไรก็ตาม การเตรียมยาน้ าเฉพาะ
คราวโดยวิธดี งั กล่าวนัน้ สารช่วยทางเภสัชกรรม (excipient) ทีอ่ ยู่ในยาเม็ด หรือในกระสายยา อาจทาให้เกิดความไม่
คงสภาพ เช่น เกิดปฏิกริ ยิ า oxidation หรือ hydrolysis ของตัวยาสาคัญ มีการเจริญเติบโตของเชือ้ จุลชีพ และความเข้า
กันไม่ ได้ (incompatibility) ระหว่างตัวยาสาคัญ และสารช่วยทางเภสัชกรรม USP จึงได้ก าหนดเกณฑ์การยอมรับ
สภาพของยาเตรียมตามชนิดของความคงสภาพ ดังแสดงในตารางที่ 2

ตารางที่ 2 Criteria for Acceptable Levels of Stability (12)


ชนิดของความคง
สภาพทีย่ งั คงอยู่ตลอด shelf life ของผลิตภัณฑ์ยา
สภาพ

ทางเคมี ตัวยาสาคัญแต่ละตัวยังคงสภาพทางเคมีและมีความแรงตามทีก่ าหนดในฉลาก (labeled


potency) ทีม่ คี ่ากาหนดเฉพาะ
ทางกายภาพ ยังคงมีลกั ษณะกายภาพเหมือนเดิม รวมถึงรูปลักษณ์ทป่ี รากฏ รสชาติ ความเป็ นเนื้อเดียวกัน
การละลาย และความสามารถในการแขวนลอย
ทางจุลชีพ ความปราศจากเชือ้ หรือการต้านจุลชีพเติบโตยังคงอยู่ตามทีต่ อ้ งการเฉพาะไว้ สารกันเสีย
ยังคงมีประสิทธิภาพตามค่ากาหนดเฉพาะ
ผลการรักษา ผลการรักษายังคงอยู่ไม่เปลีย่ นแปลง
ความเป็ นพิษ ความเป็ นพิษไม่เพิม่ ขึน้ อย่างมีนยั สาคัญ

จากบทความทบทวนต่างประเทศ พบว่าเมื่อปี 2006 มีการรวบรวม 83 สูตรตารับทีอ่ ยู่ในรูปแบบยาน้า แต่มี


การกาหนดความคงตัวเพียง 7.2% (13) ASHP (American Society of Health-System Pharmacists) ได้จดั ทาตารา
ทีแ่ สดงสูตรตารับยาเตรียมเฉพาะคราว ซึง่ มีตวั ยา 121 ชนิด ทีม่ สี ตู รตารับ 159 สูตร แบ่งเป็ น รูปแบบยาน้า 84 ชนิด ที่
มีสตู รตารับ 111 สูตร รูปแบบยาตา 9 ชนิด ทีม่ สี ตู รตารับ 11 สูตร และรูปแบบยาน้า ยากึง่ แข็งทีอ่ าจมีในท้องตลาด แต่
มีขนาดยาไม่ตรงกับทีต่ อ้ งการในสถานปฏิบตั กิ าร ได้แก่ ห้องยาในโรงพยาบาล อีก 28 ชนิด ทีม่ สี ตู รตารับ 37 สูตร (5)
ต่อมาปี 2013 มีการสรุปความคงตัวเพิม่ เติมอีก 42 ตารับ (14)
จากการสารวจการเตรียมยาเฉพาะคราวในโรงพยาบาลทัวประเทศไทยปี ่ 2555 พบว่า โรงพยาบาลทีใ่ ห้ขอ้ มูล
มีจานวน 44 แห่ง เป็ นโรงพยาบาลศูนย์/ทัวไป
่ 23 แห่ง ทีม่ เี ภสัชกรรับผิดชอบการตัง้ ตารับและเตรียมยาพิเ ศษเฉพาะ
รายเป็ นยาระบบหลอดเลือด และหัวใจ รองลงมาเป็ นยาปฏิชวี นะ และระบบทางเดินอาหารตามลาดับ มีปัญหาส่วนใหญ่
เรื่องการขาดข้อมูลของความคงตัว ส่วนในโรงพยาบาลชุมชน 21 แห่ง ส่วนใหญ่เป็ นเภสัชกรงานบริการจ่ายยาเตรียม
พิเศษเฉพาะรายเป็ นยาปฏิชวี นะ มีปัญหาคือการขาดสสารเคมี วัสดุอุปกรณ์ในการเตรียม (15)
ในโรงพยาบาลภู เขียว จังหวัดชัยภู มิ ผลิตน้ ากระสายยาไว้ให้พร้อมใช้ และได้เพิ่มรายการยาที่ให้บริการ
เตรีย ม แบ่ ง เป็ น ยาหยอดตา 7 รายการ เช่ น amphotericin B eye drops, ยาน้ า รับ ประทาน 37 รายการ เช่ น
diazepam suspension, spironolactone suspension และยาครีม 3 รายการ (6)
ในโรงพยาบาลนางรอง จังหวัดบุรรี มั ย์ มีการเตรียมยาสาหรับผูป้ ่ วยเฉพาะราย ได้แก่ diazepam 2 mg/5 mL,
furosemide 10 mg/5 mL, norfloxacin 50 mg/5mL, oseltamivir 5 mg/5 mL, phenobarbital 50 mg/5 mL และ
ranitidine 25 mg/5 mL โดยใช้น้ากระสายยาทีม่ ี suspending agent ใช้ในการเตรียมยาดังกล่าว (7)

3
สาหรับโรงพยาบาลสุรนิ ทร์ ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2561 มียาเตรียมเฉพาะรายหรือตารับโรงพยาบาลจานวน
42 รายการ (11) ดังตัวอย่างในตารางที่ 3 ส่วนโรงพยาบาลลาพูน มีรายการยาเตรียมเฉพาะราย ปี พ.ศ. 2561 จานวน
38 รายการ (8) ตามตารางที่ 3

ตารางที่ 3 รายการยาเตรียมเฉพาะคราวทีพ่ บใน (a) โรงพยาบาลสุรนิ ทร์ (b) โรงพยาบาลลาพูน (c) โรงพยาบาล
มหาสารคาม
(a) (a) (b) (c)
ขนาดยา ปริมาณ รูปแบบ และขนาดยา (ขนาดยา/ ขนาดยา
ยาเตรียมเฉพาะคราว
ที่ ทีม่ ใี นโรงพยาบาล ปริมาณ)
เตรียม
1. Gastro-intestinal system:- กลุ่ม 1.3 Ulcer-healing drugs and drugs used in variceal bleeding
Omeprazole suspension 2 mg/mL 60 mL Omeprazole 20 mg Capsule -
Ranitidine HCl 150 mg Tablet 10mg/mL
Ranitidine suspension 10 mg/mL 30 mL Ranitidine hydrochloride 50mg/2mL 30 mL -
sterile sol for inj.
กลุ่ม 1.8 Drugs affecting intestinal secretions
Ursodeoxycholic acid 250 mg 10,30
Ursodeoxycholic acid syrup 50 mg/mL 25 mL -
Capsule (Ursofalk®) mg/mL
2. Cardiovascular system:- กลุ่ม 2.2 Diuretics
Furosemide 40, 50 mg tab
4 mg/mL
Furosamide suspension 4 mg/mL 50 mL Furosemide 20 mg/2 mL, 4 mg/mL
50 mL
250 mg/25 mL sterile sol for inj
Hydrochlorothiazide 10mg/mL
10mg/mL 30 mL Hydrochlorothiazide 25 mg tab -
suspension 30 mL
Spironolactone 25, 100 mg tab 10mg/mL 1, 5, 10
Spironolactone suspension 10mg/mL 30 mL 30 mL
30 mL mg/mL
กลุ่ม 2.4 Beta-adrenoceptor blocking drugs
2 mg/mL
Propanolol suspension 2 mg/mL 30 mL Propranolol 10 mg Tablet 2 mg/mL
20 mL
กลุ่ม 2.5.1 Vasodilator antihypertensive drugs
2 mg/mL 1, 2
Hydralazine HCl suspension 2 mg/mL 25 mL Hydralazine HCl 10, 25 mg tab
25 mL mg/mL
กลุ่ม 2.5.4 Angiotensin-converting enzyme inhibitors
1 mg/mL
Captopril suspension 1 mg/mL 25 mL Captopril 25 mg tab 1 mg/mL
25 mL
1 mg/mL
Enalapril maleate suspension 1 mg/mL 60 mL Enalapril maleate 5, 20 mg tab 1 mg/mL
60 mL
กลุ่ม 2.6.3 Other vasodilators
2 mg/mL
Sildenafil suspension 2 mg/mL 50 mL Sildenafil 50 mg. Tablet 2 mg/mL
50 mL
3. Respiratory system :- กลุ่ม 3.1.3 Theophylline
10mg/mL
Aminophylline suspension 10 mg/mL 60 mL Aminophylline 100 mg tab 5 mg/mL
60 mL
4. Central nervous system :- กลุ่ม 4.1 Hypnotics and anxiolytics
Diazepam suspension 0.5mg/mL 30 mL Diazepam 5 mg Tablet 0.5 0.5

4
(a) (a) (b) (c)
ขนาดยา ปริมาณ รูปแบบ และขนาดยา (ขนาดยา/ ขนาดยา
ยาเตรียมเฉพาะคราว
ที่ ทีม่ ใี นโรงพยาบาล ปริมาณ)
เตรียม
mg/mL mg/mL
40 mL
กลุ่ม 4.2.2 Antimanic drugs
20mg/mL
Carbamazepine suspension 20 mg/mL 30 mL Carbamazepine 2, 200 mg tab -
30 mL
กลุ่ม 4.7.1 Opioid analgesics
35 mL Methadone HCL 5 mg Tablet
Methadone syrup 2 mg/mL - -
105 mL Methadone Conc Solution10 mg/mL
Morphine syrup 2,10mg/mL 60 mL Morphine 10 mg/mL Injection - -
กลุ่ม 4.8.1 Drugs used in the control of epilepsy
Phenobarbital suspension 5 mg/mL 60 mL Phenobarbital 60 mg Tablet - 5 mg/mL
Phenytoin sodium 50 mg tab, 100 10mg/mL
Phenytoin sodium suspension 10 mg/mL 30 mL 5 mg/mL
mg prompt released cap 30 mL
5. Infections :- กลุ่ม 5.1.2 Cephalosporins, cephamycins, and other beta-lactams
5% ไม่ได้ Ceftazidime Pentahydrate 1 g inj.
Ceftazidime ED - 5%
(50mg/mL) ระบุ Ceftazidime 2 g Injection
กลุ่ม 5.1.4 Aminoglycosides
5% ไม่ได้
Amikin ED Amikacin 500 mg/2 mL Injection - -
(50mg/mL) ระบุ
กลุ่ม 5.1.5 Macrolides
Clarithromycin suspension 25 mg/mL 60 mL Clarithromycin 500 mg Tablet - -
กลุ่ม 5.1.6 Quinolones
100 mg/5 mL 15 mL 20mg/mL
Norfloxacin suspension Norfloxacin 100 mg Tablet -
20 mg/mL 20 mL
Cyprofloxacin suspension - - Cyprofloxacin 500 mg Tablet - 20mg/mL
กลุ่ม 5.1.7 Some other antibacterials
Clindamycin phosphate Clindamycin hydrochloride 300 mg 20mg/mL
20 mg/mL 30 mL 20mg/mL
suspension cap 30 mL
5% (50 5%
Vancomycin ED ไม่ระบุ Vancomycin 500 mg Injection -
mg/mL) 10 mL
กลุ่ม 5.1.9 Antituberculous drugs
10mg/mL
Ethambutol HCl suspension 10 mg/mL 40 mL Ethambutol HCL 500 mg tab 10mg/mL
40 mL
10mg/mL 10, 40
Isoniazid suspension 50 mg/mL 60 mL Isoniazid 100 mg Tablet
30 mL mg/mL
250 mg/5mL 40mg/mL
Pyrazinamide suspension 60 mL Pyrazinamide 500 mg Tablet -
50 mg/mL 25 mL
100mg/5mL 10mg/mL 20, 50
Rifampicin suspension 60 mL Rifampicin 300 mg Capsule
20 mg/mL 60 mL mg/mL
กลุ่ม 5.2 Antifungal drugs
Amphotericin ED 0.1% Amphotericin B 50 mg Injection 0.15%,
Amphotericin B ED (1 mg/mL) 10 mL Amphotericin B 50 mg/vial sterile 0.3% -
Amphotericin B ear drop 0.15%, powder for injection 10 mL

5
(a) (a) (b) (c)
ขนาดยา ปริมาณ รูปแบบ และขนาดยา (ขนาดยา/ ขนาดยา
ยาเตรียมเฉพาะคราว
ที่ ทีม่ ใี นโรงพยาบาล ปริมาณ)
เตรียม
0.3%,0.6%
0.2% ไม่ได้
Fluconazole ED Fluconazole 2 mg/mL in 50 mL inj. - -
(2 mg/mL) ระบุ
20mg/mL 20
Fluconazole suspension 20 mg/mL 50 mL Fluconazole 200 mg cap
50 mL mg/mL
20mg/mL
Griseofulvin suspension 20 mg/mL 50 mL Griseofulvin 500 mg tab -
50 mL
Itraconazole suspension - - Itraconazole 100 mg capsule - 10mg/mL
10mg/mL 10
Ketconazole suspension 10 mg/mL 20 mL Ketoconazole 200 mg tab
20 mL mg/mL
Metronidazole suspension - - Metronidazole 400 mg capsule 40mg/mL
กลุ่ม 5.3.1 Non-antiretrovirals
10,20
Acyclovir - - Acyclovir 200 mg tablet -
mg/mL
Oseltamivir 30, 45 mg cap (GPO-A- 10mg/mL 15
Oseltamivir suspension 10 mg/mL 30 mL
Flu 75 mg Capsule (Tamiflu®) 37.5 mL mg/mL
Zidovudine 100, 300 mg Cap.
Zidovudine suspension 10 mg/mL 60 mL - -
(AZT300)
กลุ่ม 5.4.1 Antimalarials
1 mg/mL
Primaquine diphosphate susp. 1 mg/mL 30 mL Primaquine phosphate 15 mg tab -
30 mL
กลุ่ม 5.4.2 Other antiprotozoal drugs
4 mg/mL
Pyrimethamine suspension 4 mg/mL 25 mL Pyrimethamine 25 mg tab -
25 mL
6. Endocrine system :- กลุ่ม 6.2.1 Thyroid hormones
0.02 Eltoxin
Levothyroxine sodium susp. Levothyroxine sodium 50, 100 mcg
25 mcg/mL 60 mL mg/mL 0.02
Thyroxine suspension Tablet (Thyroxine®)
25 mL mcg/mL
กลุ่ม 6.3 Corticosteroids
0.08%
Dexamethasone ED ไม่ระบุ Dexamethasone 4 mg/mL Injection - -
0.8 mg/mL
1%
Methylprednisolone ED ไม่ระบุ Methylprednisolone 2 g inj. - -
10 mg/mL
1 mg/mL
Prednisolone Suspension 1 mg/mL 60 mL Prednisolone 5 mg Tablet 1 mg/mL
25 mL
8. Cytotoxic drugs:- กลุ่ม 8.1.2 Cytotoxic antibiotics
0.02%, ไม่ได้
Mitomycin ED Mitomycin-C 2,10 mg inj - -
0.04% ระบุ
9. Nutrition and blood :- กลุ่ม 9.1.2 Drugs used in hypoplastic, haemolytic and renal anaemias
1 mg/mL
Folic acid suspension - - Folic acid 5 mg tablet -
30 mL
กลุ่ม 9.3 Vitamins

6
(a) (a) (b) (c)
ขนาดยา ปริมาณ รูปแบบ และขนาดยา (ขนาดยา/ ขนาดยา
ยาเตรียมเฉพาะคราว
ที่ ทีม่ ใี นโรงพยาบาล ปริมาณ)
เตรียม
20,000 Calciferol-Ergocalcuferol (VitD2)
Calciferal suspension 30 mL - -
U/mL capsule
กลุ่ม 9.5 Minerals
200
Calcium Carbonate susp. 50 mL Calcium Carbonate 1 g Tablet - -
mg/mL
10. Musculoskeletal and joint diseases :- กลุ่ม 10.1.1 Non-steroidal anti-inflammatory drugs (NSAIDs)
1 mg/mL
Indomethacin suspension - - Indomethacin 25 mg capsule 1 mg/mL
25 mL
250
Naproxen suspension 60 mL 250 mg/5
Naproxen
mL sodium
60 mL 250Naproxen
mg Tablet
Sodium. 250 -mg Tablet -
mg/mL
กลุ่ม 10.1.3 Drugs for treatment of gout and hyperuricaemia
10mg/mL
Allopurinol suspension - - 10 mg/mL
Allopurinol 100
30 mL
mg Tablet * -
30 mL
กลุ่ม 10.2.1 Drugs which enhance neuromuscular transmission
Pyridostrigmine suspension - - Pyridostigmine bromide 60 mg tab - 12mg/mL
11 Eye :- กลุ่ม 11.1.1 Anti-bacterials and eye wash solution11.1.3
Cefazolin sodium equivalent to 50%
Cefazolin ED - - -
Cefazolin 1 g sterile powder for inj 10 mL
Gentamycin sulfate ED fortified Gentamicin sulfate equivalent to 13.57
- - Gentamicin 80 mg/2 mL sterile sol mg/mL -
for inj 7 mL
กลุ่ม 11.3 Mydriatics and cycloplegics
0.5% ไม่ได้ Atropine 1% Eye Drop 5 mL. (Isopto
Atropine ED - -
(5 mg/mL) ระบุ atropine®)
12 Ear, nose, oropharynx and oral cavity :- กลุ่ม 12.2.2 Topical nasal decongestants
0.25%
ไม่ได้
Ephedrine Nasal drop 0.25%, 3% pure drug 10 mL -
ระบุ
1% 6 mL
13 Skin :- กลุ่ม 13.6 Preparations for warts and calluses
5, 30,
SA in Betamethasone cream 5% pure drug - -
500mg

ในโรงพยาบาลมหาสารคาม ปี พ.ศ. 2560 มียาเตรียมเฉพาะรายทัง้ สิน้ 43 ตารับดังในตารางที่ 3 โดยเตรียม


จากน้ากระสายยาทีแ่ ตกต่างกันถึง 10 ตารับ (9) กาหนดให้น้ากระสายยา 4 ตารับ เป็ นน้ากระสายยามาตรฐานของ รพ.
มหาสารคาม โดยอ้างอิงสูตรตารับจากสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี ตามตารางที่ 4 โดยกาหนด BUD ที่ 90
วันเมื่อเก็บทีอ่ ุณหภูมิ 2-8 °C จึงนาไปสูก่ ารปรับเปลีย่ นสูตรตารับยาน้าเตรียมพิเศษเฉพาะรายของ รพ.มหาสารคาม
คือ
น้ากระสายยา 1 (type 1) เป็ นน้ากระสายยาน้ าเชื่อมทีม่ สี ารแขวนตะกอน ใช้ในการเตรียมยา 18 ตารับ ได้แก่
acyclovir 10 & 20 mg/mL, captopril 1 mg/mL, diazepam 0.5 mg/mL, ethambutol 20 & 50 mg/mL, furosemide 1
& 2 mg/mL, ketoconazole 10 mg/mL, metronidazole 40 mg/mL, phenobabital 10 mg/mL, phenytoin 10 mg/mL,

7
pyridostrigmine 12 mg/mL, PZA 40 & 50 mg/mL, sildefinafil 2 mg/mL และ ursodeoxychlolic acid 10 & 30
mg/mL
น้ากระสายยา 2 (type 2) เป็ นน้ากระสายยาทีม่ สี ารแขวนตะกอนแต่ปราศจากน้าเชื่อม ใช้ในการเตรียมยา 4
ตารับ ได้แก่ hydralazine 1 & 2 mg/mL และ INH 10 & 40 mg/mL
น้ากระสายยา 3 (type 3) เป็ นน้ากระสายยาน้าเชื่อมทีป่ ราศจากสารแขวนตะกอน แต่ปรับ pH ให้เป็ นกรดที่ 3
- 4 ด้วย citric acid ใช้ในการเตรียมยา 8 ตารับ ได้แก่ clindamycin 20 mg/mL, enalapril 0.25, 0.5 & 1 mg/mL,
HCTZ 1, 5, 10 mg/mL และ propranolol 2 mg/mL
น้ากระสายยา 4 (type 4) เป็ นน้ากระสายยาน้าเชื่อมทีป่ ราศจากสารแขวนตะกอน และปรับ pH ให้เป็ นกรดที่
3-4 ด้วย citric acid ใช้ในการเตรียมยา 10 ตารับ ได้แก่ ciprofloxacin 50 mg/mL, indomethacin 1 mg/mL,
itraconazole 10 mg/mL, oseltamivir 15 mg/mL, prednisolone 1mg/mL, rifampicin 20 & 50 mg/mL และ
spironolactone 1, 2 & 10 mg/mL
และใช้ sterile water ในการเตรียมยา 3 ตารับ ได้แก่ aminophylline 5 mg/mL, eltoxin 0.02 mcg/mL และ
fluconazole 20 mg/mL ผูว้ จิ ยั ได้ยดึ ตามหลักเกณฑ์ของสถาบันสุขภาพเด็กฯ คือ กรณี BUD ไม่เกิน 30 วัน ยึดตาม
สูตรตารับทีท่ บทวนได้ แต่กรณีทเ่ี กิน 30 วัน จะกาหนด BUD ที่ 30 วัน แม้จะมีขอ้ มูลวิชาการสนับสนุนว่าสามารถเก็บ
ได้นานกว่านี้กต็ าม เนื่องจากการศึกษาส่วนใหญ่ทาในสภาวะทีไ่ ม่มกี ารเปิ ดใช้ยาบ่อยครัง้ และอยู่ในสภาวะควบคุม ซึง่
แตกต่างจากเมื่อผูป้ ่ วยนายาไปใช้จริง และขนาดบรรจุยากาหนดสูงสุดที่ 60 ซีซี ซึง่ ผูป้ ่ วยสามารถใช้ยาได้หมดภายใน
30 วัน รวมถึงเพื่อให้สอดคล้องกับ BUD ของน้ากระสายยาทีก่ าหนด 90 วัน ส่วนการเก็บรักษา ยาเตรียมทุกตารับ
บรรจุในขวดแก้วสีชากันแสง เก็บในตูเ้ ย็น 2-8 °C เพื่อลดอัตราการสลายตัวของตัวยาจากตัวเร่งปฏิกริ ยิ าเคมีคอื แสง
และความร้อน

ตารางที่ 4 น้ากระสายยาทีส่ ถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี (Queen Sirikit National Institute of Child Health,


QSNICH) พัฒนาสาหรับใช้เป็ นน้ากระสายยาพร้อมใช้ ( ready-to-use vehicle) (10)
ปริมาณ / pH / BUD
ชนิดของส่วนประกอบ
type 1 type 2 (DM) type 3 type 4
CMC Mucilage* 14% 14% - -
70% Sorbitol 20% 20% - -
Glycerol (Glycerin) - 1.5% - -
Citric Acid adjust pH pH 5-6 pH 5-6 pH 3 pH 5-6
sodium benzoate - - - -
Paraben Concentrate 1% 1% - -
Flavor - 0.2% - -
Purified Water (RO/EDI) 5% q.s.to 100% 2% -
Simple Syrup qs to 100% - 100% 100%
BUD 3 months 3 months 3 months 3 months
CMC mucilage
CMC 1500 1.4 g
Paraben conc 1.4 mL
Purified water to 100 mL
Simple Syrup
Sucrose 80 g
Sodium benzoate 0.1 g

8
Purified water to 100 mL
Paraben conc
Methyl paraben (MP) 10 g
Propyl paraben (PP) 2 g
Propylene glycol to 100 mL
IWK health center (16) และ Michigan Collaborative Standardization of Compounded Oral Liquids (17)
ได้รวบรวมสูตรตารับ วิธเี ตรียม วิธเี ก็บรักษา และความคงตัวของหลายตารับ จากงานวิจยั ทีบ่ างตารับใช้ น้ ากระสาย
ยาสาเร็จรูป ที่มีขายในท้องตลาด (18) ดังแสดงในตารางที่ 5 ส่วนบทความในประเทศ ปี พ.ศ. 2550 อมรรัตน์ ได้
รวบรวมยาเตรียมเฉพาะคราวในรูปแบบยาน้าแขวนตะกอนสาหรับยารับประทาน 11 ตารับ (19) ซึง่ มีตวั อย่างดังแสดง
ในตารางที่ 6 ทีค่ ดั เลือกไว้ตามชนิดยาเตรียมเฉพาะคราวในตารางที่ 3 บางตัว และเรียงตามอักษรภาษาอังกฤษ ซึง่ จะ
กล่าวถึงเฉพาะสูตรตารับและความคงสภาพของรูปแบบทีไ่ ม่ปราศจากเชือ้ ชนิดยาน้ารับประทาน และยาหยอดตา

ตารางที่ 5 ส่วนประกอบในน้ากระสายยาทีม่ ขี ายในท้องตลาด


Cherry syrup
ส่วนประกอบ Ora-sweet Ora-sweet SF Ora-plus HSC*
USP NF (9)
purified water     
Sucrose  - -  
Glycerin   - - -
Sorbitol   -  -
xanthan gum -   - -
microcrystalline cellulose - -  - -
Sod. CMC * - -  - -
methyl cellulose 1500 - - -  -
Flavouring    - -
sodium saccharin -  - - -
citric acid    - -
sodium phosphate  -  - -
sodium citrate -  - - -
Simethicone - -  - -
Methylparaben    - -
Propylparaben -  - - -
potassium sorbate    - -
sodium benzoate - - -  -
cherry juice - - - - 
Alcohol - - - - 

9
 มี ในสูตรน้ากระสายยา - ไม่มี ในสูตรน้ากระสายยา
Ora Blend : Ora-plus : Ora-sweet = 1:1 Ora Blend/SF : Ora-plus : Ora-sweet/SF = 1:1
Sod.CMC : carboxymethylcellulose sodium
HSC* = hospital sick children

ตารางที่ 6 สูตรตารับของยาเตรียมเฉพาะคราวของแต่ละแหล่ง พร้อมภาชนะบรรจุ การเก็บรักษา และวันทีค่ วรใช้ก่อน


(BUD)
ยาเตรียมเฉพาะคราว/สูตรตารับ เอกสารอ้างอิง ภาชนะบรรจุ ระยะเวลาทีค่ งตัว
และการเก็บรักษา
รูปแบบยาน้ารับประทาน
Acyclovir 43 mg/mL suspension 20 ภาชนะปิ ดแน่น 14 วัน
Acyclovir 4.3 g ป้ องกันแสง เก็บที่
sorbitol solution 45 g อุณหภูมหิ อ้ ง ให้ห่าง
methyl paraben 100 mg จากความร้อน
propyl paraben 20 mg
cellulose microcrystalline 1.5 g
glycerin 15 g
flavor qs
water, purified USP qs to 100 mL
Allopurinol 20 mg/mL oral suspension
- Allopurinol qs 21 เก็บในตูเ้ ย็น ให้พน้ 30 วัน
Methylcellulose 1% 50 mL แสง
Citric acid 250 mg
Syrup 20 mL
Water to 100 mL
- Allopurinol (100 mg) 20 tablet 17 เก็บในอุณหภูมหิ อ้ ง 60 วัน
Ora Blend® qs 100 mL และตูเ้ ย็น
หรือ Ora-Plus:Ora-Sweet qs to 100 mL
- Allopurinol (300 mg) 8 tablet 16 ขวดพลาสติกสีชา 60 วัน
Ora Blend® qs 120 mL และเก็บในตูเ้ ย็น
หรืออุณหภูมหิ อ้ ง
ป้ องกันจากแสง
Aminophylline 5 mg/mL suspension 21
- เจือจาง aminophylline injection (25mg/mL) กระบอกฉีดยา 90 วัน
ด้วย bacteriostatic water for injection ทีม่ ี 0.9% พลาสติกทีอ่ ุณหภูมิ
benzyl alcohol 4, 22°C
- เจือจาง aminophylline injection (25mg/mL) เก็บในภาชนะปิ ด 30 วัน
ด้วย water for injection เตรียมแบบวิธปี ลอดเชือ้ แน่นในตูเ้ ย็น ให้พน้
โดยใช้กระบอกฉีดยาใช้รบั ประทานพลาสติก แสง

10
ยาเตรียมเฉพาะคราว/สูตรตารับ เอกสารอ้างอิง ภาชนะบรรจุ ระยะเวลาทีค่ งตัว
และการเก็บรักษา
Captopril 1mg/mL suspension ขวดสีชา 56 วัน ที่ 4 °C
- Captopril tablet (12.5 mg) 8 tablet 19 ทีอ่ ุณหภูมิ 4 °C 14 วัน ที่ 22 °C
Sodium ascorbate injection 500 mg ทีอ่ ุณหภูมิ 22 °C การเติม sodium
Sterile water for irrigation qs ad 100 mL ascorbate จะช่วย
- Captopril tablet (50 mg) 2 tablet 17 ขวดสีชา ลดการสลายตัวจาก
Ascorbic acid tablet (500 mg) 1 tablet ทีอ่ ุณหภูมิ 4 °C ปฏิกริ ยิ า
Distilled water qs ad 100 mL ทีอ่ ุณหภูมิ 22 °C ออกซิเดชันจาก
โลหะในสูตรยาเม็ด
Carbamazepine 40 mg/mL suspension 21 ขวดแก้วสีชา หรือ 30 วัน
Carbamazepine (200 mg) 20 tablet กระบอกฉีดยา
Syrup to 100 mL พลาสติกสาหรับ
ถ้า syrup ไม่มสี ารกันเสียให้ใช้ 0.1% parabens รับประทานทีป่ ิ ด
หรือปรับ pH < 5, 0.1% sodium benzoate แน่น
เก็บในตูเ้ ย็น
Ciprofloxacin 50 mg/mL Suspension 21 ไม่ได้ระบุชนิดขวด 30 วัน
Ciprofloxacin (750 mg) 4 tablet เก็บในตูเ้ ย็น มี pH = 4.5
Ora-Plus 30 mL หรือเก็บที่ 24–26°C มีรสขม อาจแต่ง
Syrup 30 mL ด้วย chocolate
อาจใช้ 1:1 ของ 1% methyl cellulose : syrup ที syrup
กันเสียด้วย paraben แทน Ora-plus กับ syrup
Diazepam 0.5 mg/mL oral solution
Diazepam (5 mg) 10 tablet 21 เก็บในตูเ้ ย็น 30 วัน
Ethanol 95% 5 mL
Methylcellulose 1g
Parabens 0.1 %
Glycerol 20 mL
Water to 100 mL
Diazepam 1 mg/mL oral solution 22 ขวดเเก้วสีชา 60 วัน
Diazepam (10 mg) 10 tablet ทีอ่ ุณหภูมหิ อ้ งหรือ
Ethanol 95% 3.6 mL ตูเ้ ย็น
propylene glycol 5g
Syrup with 1% sodium CMC and 2%
magnesium aluminium silicate to 100 mL
ปรับ pH ให้ได้ 4.2 ด้วย hydrochloric acid
Diazepam 0.4 mg/mL oral solution 19 ขวดเเก้วสีชา 42 วัน
Diazepam injection (10 mg/2 mL) 4 ampules ทีอ่ ุณหภูมิ 30 °C
0.1% HCl solution (adjust pH to 5.2) ห้ามเก็บยาในตูเ้ ย็น
Vehicle qs. To 100 mL เนื่องจากยาเตรียม
(vehicle ประกอบด้วย sodium benzoate 0.12 จะตกตะกอนที่ 4 °C
%w/v, glycerol 13 %v/v, propylene glycol 22
%v/v เเละ 70% sorbitol solution 32 %v/v ในน้า)

11
ยาเตรียมเฉพาะคราว/สูตรตารับ เอกสารอ้างอิง ภาชนะบรรจุ ระยะเวลาทีค่ งตัว
และการเก็บรักษา
Enalapril oral suspension 1 mg/mL 16 ขวดพลาสติกสีชา 90 วัน
Enalapril (10 mg) 10 tablet และเก็บในตูเ้ ย็น
*Oral Mix® qs 100 mL หรืออุณหภูมหิ อ้ ง
Oral Mix มี pH เป็ นกรดเล็กน้อย ประกอบด้วยสาร ให้พน้ แสง
กันเสียกับ buffering agents แต่งกลิน่ เชอรี่ (ของ
Medisca)
Ethambutol 50 mg/mL suspension
- Ethambutol (400 mg) 15 tablet 17 ทีอ่ ุณหภูมหิ อ้ ง 30 วัน
Cherry syrup USP qs ad 120 mL
- Ethambutol (400 mg) 4 tablet 10 เก็บในตูเ้ ย็น 30 วัน
Vehicle type 1 (QSNICH) qs ad 32 mL
ยาเม็ดเคลือบฟิ ลม์ไว้ เนื่องจากไวต่อความชืน้

Fluconazole 1 mg/mL suspension 21 ขวดแก้ว เก็บในทีม่ ดื 15 วัน


Fluconazole (100 mg) 1 tables ที่ 4, 23 และ 45 °C
Deionized water ad to 100 mL
Folic acid 1 mg/mL solution
- Folic Acid injection (5mg/mL) 4 mL 21 เก็บในตูเ้ ย็น ป้ องกัน 30 วัน
Parabens 0.1 % จากแสง 7 วัน ถ้าไม่มี
Sodium hydroxide solution 1M qs to pH 8 paraben
Water to 60 mL
- Folic acid tablets 5mg 10 tablets เก็บทีอ่ ุณหภูมหิ อ้ ง 30 วัน
Sodium hydroxide solution 1M qs to pH 8
Parabens 0.1 %
Water to 50 mL
- Folic Acid (1 mg) 100 tablets 17
Methylparaben 200 mg
Propylparaben 20 mg
Sodium hydroxide 10% qs to pH 8-8.5
Purified water to 100 mL
Furosemide 1 mg/mL oral solution 19 ขวดแก้วสีชา 42 วัน
furosemide injection (20 mg/2mL) 5 ampules ทีอ่ ุณหภูมิ 4 °C furosemide จะ
0.05% NaOH solution (adjust pH to 7.5 - 9.5) หรือที่ 30°C สลายตัวใน pH เป็ น
Vehicle qs. to 100 mL กรด จึงควรควบคุม
(vehicle ประกอบด้วย sodium benzoate 0.12 ให้ pH > 8
%w/v, glycerol 21 %v/v เเละ 70% sorbitol
solution 60 %v/v ในน้า)
Furosemide 2 mg/mL syrup
23 ภาชนะกันแสง (ขวด 360 วัน
สูตรตารับของฝ่ ายผลิต โรงพยาบาลศิรริ าช
PET) ขนาด 60 mL
ที่ 2-8 °C

12
ยาเตรียมเฉพาะคราว/สูตรตารับ เอกสารอ้างอิง ภาชนะบรรจุ ระยะเวลาทีค่ งตัว
และการเก็บรักษา
Griseofulvin 20 mg/mL suspension 21 เก็บทีอ่ ุณหภูมหิ อ้ ง 15 วัน
Grisoefulvin (500 mg) 4 Tablet qs หรือตูเ้ ย็น ป้ องกัน
Ethanol 1 mL แสง
Propylene Glycol (if available) 5 mL
Parabens 0.1 %
Methylcellulose 1% 50 mL
Water to 100 mL
Hydralazine 4 mg/mL suspension
Hydralazine (100 mg) 4 tablet 17 ขวดพลาสติกสีชา 2 วัน
Ora-Sweet SF 50 mL เก็บในตูเ้ ย็น
Ora-Plus 50 mL
Hydrochlorothiazide oral suspension 5 mg/mL 16 ขวดพลาสติกสีชา 60 วัน
Hydrochlorothiazide (50 mg) 10 tablet และเก็บในตูเ้ ย็นหรือ
Ora Blend® qs 100 mL อุณหภูมหิ อ้ ง ให้พน้
แสง
Hydrochlorothiazide oral suspension 10mg/mL 23 ภาชนะกันแสง (ขวด 30 วัน
สูตรตารับของฝ่ ายผลิต โรงพยาบาลศิรริ าช PET) ขนาด 60 mL
ที่ 2-8 °C
Indomethacin 5 mg/mL suspension 16 ภาชนะสีชา 60 วัน
Indomethacin (50 mg) 10 capsule เก็บในตูเ้ ย็น ป้ องกัน
Ora Sweet® qs ad 100 mL จากแสง

Isoniazid 10 mg/mL suspension 19 ทีอ่ ุณหภูมิ 25 °C 30 วัน


- Isoniazid powder 2g isoniazid เข้ากัน
Citric acid 0.5 g ไม่ได้กบั lactose
Sodium citrate 2.4 g ใน
Glycerol 80 mL ยาเม็ด รวมทัง้
Compound hydroxybenzoate solution 2 mL น้าตาล
Purified water qs to 200 mL อื่นๆ ที่ pH 1.0 –
6.0 ทาให้เกิด
- Isoniazid (100 mg) 3 tablet 10 เก็บในตูเ้ ย็น 1-isonicotinoyl-2-
Vehicle type 2 (QSNICH) qs ad 30 mL lactostlhydrazine
21 วัน
Itraconazole 40 mg/mL suspension 21 เก็บในตูเ้ ย็น 30 วัน
Itraconazole (100 mg) 24 capsule 24
*Ethanol 95% 5 mL
Syrup to 60 mL
*ethanol ทาให้ bead นิ่ม ง่ายต่อการทาเป็ น
paste

13
ยาเตรียมเฉพาะคราว/สูตรตารับ เอกสารอ้างอิง ภาชนะบรรจุ ระยะเวลาทีค่ งตัว
และการเก็บรักษา
Ketoconazole 20 mg/mL suspension 17 เก็บในตูเ้ ย็น หรือที่ 60 วัน
Ketoconazole (200 mg) 12 tablet อุญหภูมหิ อ้ ง
Ora-Blend(or 1:1Ora-Plus:Ora-Sweet) to
120mL
* vehicle ใช้ Ora-Blend SF หรือ cherry syrup
แทนได้
Levothyroxine sodium 25 mcg/mL suspension 17 ขวด vial สีชา
Levothyroxine (200 mcg) 10 tablet เก็บในตูเ้ ย็น 14 วันในตูเ้ ย็น
Ora-Plus:Ora-Sweet (1:1 mixture) to 80 mL 7 วันใน
Levothyroxine sodium 10 mcg/mL suspension 3 ขวดสีชา เก็บใน อุณหภูมหิ อ้ ง
levothyroxine sodium (100 mcg) 10 tablet ตูเ้ ย็น 7 วัน
*preserved xanthan gum 0.4% (or similar)
suspending agent to 100 mL

Methadone 2 mg/mL syrup 24 ขวดชนิดใดไม่ได้ระบุ 91 วัน


methadone 10 mg/mL injection diluted with เก็บที่ 22 และ 6°C
orange-flavored Tang drink
sodium benzoate qs
Metronidazole 15 mg/mL suspension 21 เก็บในตูเ้ ย็น 30 วัน
Metronidazole (250mg) 6 tablet
Water 2 mL
Chocolate-Cherry syrup to 100 mL
Metronidazole 50 mg/mL suspension 17 เก็บในตูเ้ ย็น หรือที่ 60 วัน
Metronidazole USP Powder 6g อุณหภูมหิ อ้ ง
Ora-Blend(or1:1 Ora-Plus:Ora-Sweet) ป้ องกันแสง
to 120 mL
* vehicle ใช้ Ora-Blend SF แทนได้
ถ้ามี Metronidazole (250 mg) tablet ให้ใช้ 24
เม็ด
Morphine 0.4 mg/mL solution 17 ไม่ระบุชนิดขวด เก็บ 7 วัน
Morphine Sulfate injection (2 mg/mL) 1 mL ในตูเ้ ย็น ป้ องกันแสง
Normal Saline 4 mL
Morphine 1 mg/mL oral solution 25 ขวดพลาสติกชนิด 2 อาทิตย์ท่ี
morphine HCl powder 1g HDPE ปิ ดด้วยฝา อุณหภูมหิ อ้ ง (พบ
water for irrigation to 100 mL พลาสติกชนิด เชือ้ )
เจือจางสารละลายทีไ่ ด้ดว้ ย sterile water for polypropylene 4 อาทิตย์ ทีเ่ ก็บใน
irrigation ให้ได้ 0.1% โดยเตรียมในห้อง class 8 เก็บในอุณหภูมิ ห้อง ตูเ้ ย็น
ของ ISO 146441-1 และตูเ้ ย็น
Morphine 2 mg/mL oral solution
Morphine HCl Powder 10 g 26 ขวดพลาสติกชนิด 12 เดือน ที่ pH = 4
X-Temp Oral Suspension System qs ad HDPE ปิ ดด้วยฝา
5000 mL พลาสติกชนิด PP
(X-Temp ประกอบด้วย orange flavoured, เก็บเก็บที่ 4 และ

14
ยาเตรียมเฉพาะคราว/สูตรตารับ เอกสารอ้างอิง ภาชนะบรรจุ ระยะเวลาทีค่ งตัว
และการเก็บรักษา
sweetened, sugar-free vehicle containing 30°C 75%RH
suitable preservatives)
Norfloxacin 20 mg/mL suspension 21 ขวดแก้วสีชา ให้พน้ 30 วัน
Norfloxacin (400mg) 5 tablet แสง เก็บทีอ่ ุณหภูมิ
Water 15 mL ห้อง
*Vehicle to 100 mL
* ประกอบด้วย Tragacanth 1g
Saccharin sodium 1g
Sorbitol solution 100 mL
Glycerol 100 mL
Parabens 0.1 %
Peppermint spirit BP 30 mL
Water 300 mL
Syrup BP to 1000 mL
Omeprazole 2 mg/mL oral solution 3 ขวดแก้วสีชา 7 วัน ในตูเ้ ย็น
Omeprazole Capsule (20 mg) 5 caps 19, 21 หรือขวดพลาสติกสี 14 วัน ที่ 24°C
8.4% Sodium Bicarbonate injection solution ชา 30 วัน ที่ 5°C
เก็บที่ 24°C , 5°C omeprazole ไม่คง
qs to 50 mL mL
สภาพในกรด ดังนัน้
มักใช้สารละลายทีม่ ี
pH เป็ นด่าง
Oseltamivir 10 mg/mL suspension 27 ขวดแก้วสีชา 10 วัน กรณีไม่เปิ ด
Oseltamivir (75 mg) 4 4 capsule เก็บในตูเ้ ย็น ขวด
*Syrup with preservative qs to 30 - mL 5 วัน กรณีเปิ ดขวด
**Water with preservative qs to - 30 mL
* ประกอบด้วย sucrose 80%, sodium benzoate
0.1% ในน้า
** ประกอบด้วย sodium benzoate 0.1% ในน้า
Oseltamivir 6 mg/mL suspension 17 ขวดแก้วหรือ
Oseltamivir (75 mg) 12 capsule พลาสติกสีชา
Water 10 mL เก็บทีอ่ ุณหภูมหิ อ้ ง 5 วัน
Cherry Syrup or Ora Sweet SF เก็บในตูเ้ ย็น 35 วัน
or Simple Syrup to 150 mL
Phenobarbital 3, 5 mg/mL suspension
phenobarbital (30 mg) 10 10 tablet 3 อุณหภูมหิ อ้ ง 28 วัน
Ora-Plus 50 30 mL
Ora-Sweet SF to 100 60 mL
Phenobarbital 5 mg/mL suspension 28 ไม่ได้ระบุชนิดขวด 150 วัน
Phenobarbital sodium (60 mg) 10 10 tablet เก็บทีอ่ ุณหภูมหิ อ้ ง
Glycerol 24 48 mL (25 °C) ป้ องกันแสง
Sorbitol 70% 36 - mL
10% Saccharin sodium aq. sol. 4.8 4.8 mL
Methyl hydroxybenzoate 96 96 mg

15
ยาเตรียมเฉพาะคราว/สูตรตารับ เอกสารอ้างอิง ภาชนะบรรจุ ระยะเวลาทีค่ งตัว
และการเก็บรักษา
Propyl hydroxybenzoate 24 24 mg
Raspberry flavor 312 312 mg
Lemon flavor 312 312 mg
Distilled water (C02 free) to 120 120 mL
Phenytoin 10 mg/mL suspension 29 ขวดพลาสติกสีชา 56 วัน
phenytoin sodium (100 mg) 4 capsule และขวดแเก้ว สีชา
sugar free suspension structured vehicle to ทีอ่ ุณหภูมิ 5, 25,
40 mL 40°C
Prednisolone 5 mg/mL suspension 16 ขวดพลาสติกสีชา 90 วัน
Prednisone (50 mg) 10 tablet เก็บในตูเ้ ย็น ป้ องกัน ตัวยาเสือ่ สลายที่
Oral Mix® qs to 100 mL จากแสง pH เป็ นด่าง

Primaquin diphosphate 1.2 mg/mL suspension 17 เก็บในตูเ้ ย็น 7 วัน


Primaquine 26.3 mg (15 mg base) 10 tablet
Carboxymethylcellulose 1.5% 10 mL
Simple syrup, NF to 125 mL
Propanolol 2, 5 mg/mL suspension 30 ขวดพลาสติกสีชา 120 วัน
propranolol (40-mg) 20, 50 tablet ขนาด 100 mL ที่ 25
Ora-Blend SF qs to 400 mL และ 4 °C
Propanolol 5 mg/mL suspension
propranolol (40-mg) 12.5 tablet 21 12.5 เก็บในตูเ้ ย็น 30 วัน
Citric acid monohydrate 1 g ป้ องกันแสง
Parabens 0.1% 0.1 %
Syrup or Glycerol 40 mL 40 mL
Water qs to 100 mL to 100 mL
Pyrazinamide 40 mg/mL suspension 10 เก็บในตูเ้ ย็น 30 วัน
Pyrazinamide (500 mg) 2 tablet
Vehicle type 1 (QSNICH)) qs ad 25 mL
Pyrazinamide suspension 100 mg/mL 21 ขวดแก้วหรือ 30 วัน
Pyrazinamide (500mg) 20 tablet พลาสติกสีชา ที่
Methylcellulose 1% 50 mL อุณหภูมหิ อ้ ง หรือ
Parabens 0.1 % ตูเ้ ย็น
Syrup to 100 mL
Pyrimethamine 2 mg/mL suspension 21 ภาชนะปิ ดสนิท 30 วัน
- Pyrimethamine (25mg) 40 tablet ป้ องกันแสง
Methylcellulose Solution 1% 250 mL mL เก็บในตูเ้ ย็น
Syrup BP 250 mL
- Pyrimethamine (25mg) 10 tablet 17 ขวดสีชา เก็บใน 91 วัน
Simple Syrup : Methylcellulose1% (1:1) ตูเ้ ย็น หรือที่
qs ad 125 mL อุณหภูมหิ อ้ ง

16
ยาเตรียมเฉพาะคราว/สูตรตารับ เอกสารอ้างอิง ภาชนะบรรจุ ระยะเวลาทีค่ งตัว
และการเก็บรักษา
Ranitidine 15 mg/mL Suspension
- Ranitidine (150 mg) 10 tablet 21 เก็บในตูเ้ ย็น ให้พน้ 7 วัน
Water 50 mL แสง
Simple syrup qs to 100 mL
- Ranitidine (150 mg) 10 tablet 31 ขวดพลาสติกสีชา 7 วัน
Distilled or Sterile water 50 mL เก็บทีอ่ ุณหภูมหิ อ้ ง
Simple syrup qs to 100 mL
Rifampin 50 mg/mL suspension 10 เก็บในตูเ้ ย็น 30 วัน
Rifampin capsule (300 mg) 5 capsule
Vehicle type 4 (QSNICH) qs ad 30 mL
ผงยาฟู เปี ยกน้ายาก ใช้ปริมาณมาก

Rifampin 10 mg/mL suspension 21 ขวดพลาสติกสีชา 28 วัน


Rifampin capsule (300 mg) 4 capsule เก็บในตูเ้ ย็น
Vehicle qs ad 120 mL ให้พน้ แสง
vehicle เป็ นได้ทงั ้ simple syrup, syrup NF, wild
cherry syrup หรือ raspberry syrup

Rifampin oral suspension 25 mg/mL 17 เก็บในตูเ้ ย็น หรือที่ 28 วัน


Rifampin (300 mg) 10 capsule อุณหภูมหิ อ้ ง
*Ora-sweet/Ora-plus qs 120 mL
* แทนด้วย cherry syrup
หรือ Ora-sweet SF/Ora-plus 1:1
Sildenafil oral suspension 2.5 mg/mL
- Sildenafil 50 mg* 5 tablet 16 ขวดพลาสติกสีชา 60 วัน
Ora Blend® qs 100 mL เก็บทีอ่ ุณหภูมหิ อ้ ง
*สามารถใช้ขนาดยา 20 mg จานวน 10 เม็ดเตรียม ให้พน้ แสง
80 mL
- Sildenafil (100 mg) 3 tablet 17 ขวดพลาสติกสีชา 91 วัน
Ora-Sweet/Ora-Plus* qs ad 120 mL เก็บทีอ่ ุณหภูมหิ อ้ ง
* ใช้ 1:1 หรือ หรือตูเ้ ย็น
1:1 ของ 1%methyl cellulose : simple syrup NF

17
ยาเตรียมเฉพาะคราว/สูตรตารับ เอกสารอ้างอิง ภาชนะบรรจุ ระยะเวลาทีค่ งตัว
และการเก็บรักษา
Spironolactone oral suspension 5 mg/mL 16 ขวดพลาสติกสีชา 60 วัน
Spironolactone 100 mg* 5 tablet และเก็บในตูเ้ ย็น
Sterile Water for Irrigation 4 mL หรืออุณหภูมหิ อ้ ง
Ora Blend® qs 100 mL ให้พน้ แสง

Spironolactone 2.5 mg/mL suspension 19 ขวดแเก้ ว สีชา 60 วัน


Spironolactone tablet (25 mg) 4 tablet ทีอ่ ุณหภูมิ 5 °C
Sterile water for injection 5 mL หรือที่ 22 °C
Potassium sorbate 0.2% w/v
Syrup BP qs ad 40 mL

Spironolactone 2 mg/mL suspension 23 ภาชนะกันแสง (ขวด 60 วัน


สูตรตารับของฝ่ ายผลิต โรงพยาบาลศิรริ าช PET) ขนาด 60 mL
ที่ 2-8 °C
Ursodeoxycholic acid 50 mg/mL suspension ขวดพลาสติกสีชา
Ursodeoxycholic acid (300mg) 20 caps 21 อุณหภูมหิ อ้ ง 30 วัน
Ora-Blend SF qs to 120 mL
(Ora-plus:Ora-Ora-sweet SF 60:60 mL)

รูปแบบยาตา
Amikin 2.5% ED Fortified 32 เก็บในตูเ้ ย็นที่ 4 °C 7 วัน
- Amikacin parenteral 250 mg/2mL 2 mL
artificial tears 8 mL
Amikacin forte 2% ED 33 ขวดยาตาพลาสติก 7 วัน
- Amikacin 500 mg/2mL injection 0.4 mL
BSS *** 4.6 mL
Amphotericin B 0.15% ED 32 เก็บในตูเ้ ย็น (4 °C) 7 วัน ในตูเ้ ย็น
amphotericin B powder (50 mg) for injection เก็บทีอ่ ุณหภูมหิ อ้ ง 4 วัน ที่
distilled or sterile water 10 mL อุณหภูมหิ อ้ ง
ดูดมา 3 mL เติม 7mL ของ artificial tears ED
Cefazolin 5% ED
- Cefazolin powder for injection 500 mg 32 เก็บในตูเ้ ย็น (4 °C) 7 วัน
sterile water 2 mL 4 วัน เมื่อเก็บที่
artificial tears to 8 mL อุณหภูมหิ อ้ ง
- Cefazolin powder for injection 250 mg 33 เก็บในตูเ้ ย็น 14 วัน เมื่อเก็บใน
BSS*** 5 mL ตูเ้ ย็น
- sodium cefazolin dry injection 34 เก็บในตูเ้ ย็น (4 °C) 30 วัน
citrate buffer pH 6.11-6.27 9-15 วัน เมื่อเก็บที่
polyvinyl alcohol 20 °C
0.001% phenylmercuric borate ผสมกับ 0.4%
beta-phenylethyl alcohol

18
ยาเตรียมเฉพาะคราว/สูตรตารับ เอกสารอ้างอิง ภาชนะบรรจุ ระยะเวลาทีค่ งตัว
และการเก็บรักษา
Ceftazidime eye drops: 50 mg/mL( 5%)
- Ceftazidime parenteral 500 mg 32 ไม่ได้ระบุ 7 วัน ที่ 4 °C
sterile water/BSS 2 mL เก็บในตูเ้ ย็นที่ 4 °C 3 วัน ที่
artificial tears 8 mL และทีอ่ ุณหภูมหิ อ้ ง อุณหภูมหิ อ้ ง
- Ceftazidime powder for injection 250 mg 33 ขวดยาตาพลาสติก
BSS 5 mL 14 วัน
Gentamicin 1.4% ED fortified 32 เก็บในตูเ้ ย็น (4 °C)
7 วัน
gentamicin (80 mg/2mL) parenteral 2 mL 4 วัน เมื่อเก็บที่
gentamicin (0.3%) ophthalmic solution 5 mL อุณหภูมหิ อ้ ง
Gentamycin sulfate 1.357% ED fortified 35 เก็บในตูเ้ ย็น (2–8 28 วัน
gentamicin injection (40 mg/mL) 2 mL °C) หรือที่ 28 °C.
gentamicin (0.3%) eye drops 5 mL
Mitomycin C (MMC) 0.02% ED
สกัด lyophilized MMC (2, 10 mg) ด้วย methanol 36 ขวดยาตา 28 วัน
และ centrifuge เพื่อกาจัดเกลือทีไ่ ม่ละลาย ได้สาร เก็บในตูเ้ ย็น (4°C )
เรียก methanolic MMC ปริมาณเป็ น microliter
เติมลงใน vials ทีป่ ราศจากเชือ้ เติม Phosphate
buffer (pH 7, and 8) จนได้ความเข้มข้น 0.02%

Vancomycin 5% (50 mg/mL) ED 32 เก็บในตูเ้ ย็น ที่ 4 °C 28 วัน


vancomycin powder for injection 500 mg
sterile water/BSS 2 mL
artificial tears 8 mL

*** BSS (balance salt solution) เป็ นกระสายยา isotonic ในยาหยอดตาทีเ่ ตรียมเฉพาะราย ที่ ใน 1 mL จะ
ประกอบด้วย sodium chloride 0.64%, potassium chloride 0.075%, calcium chloride 0.048%, magnesium
chloride 0,03%, sodium acetate 0.39%, sodium citrate 0.17%, sodium hydroxide and/or hydrochloric acid (to
adjust pH), and water for injection (37)

นวภรณ์ (38) ได้แนะนาให้เตรียมในรูปยาผงหรือแคปซูล สาหรับยาทีไ่ ม่มขี อ้ มูลความคงตัวหรือยาทีล่ ะลายน้า


แล้วไม่คงตัวและในการเตรียมยาพิเศษเฉพาะรายทีอ่ าจจาเป็ นต้องใช้ยาฉีดมาเตรียมในรูปยาน้าเพื่อรับประทาน เช่น
aminophylline solution เตรียมจากยาฉีด aminophylline ผสมกับน้ากลัน่ เพื่อใช้รกั ษาเด็กทีม่ ภี าวะ apnea เป็ นต้น
จะต้องคานึงถึงว่า ยาฉีดนัน้ อาจถูกทาลายในสภาวะเป็ นกรด เช่น omeprazole ส่วนยาฉีดทีม่ ี first-pass metabolism
ทีร่ บั ประทานยาเข้าไปในร่างกาย ยาจะถูกทาลายได้ทต่ี บั ทาให้ตอ้ งใช้ยาฉีดปริมาณมาก เช่น propranolol 10 mg/mL
ในรูปยาน้ารับประทาน ต้องใช้ยาฉีดถึง 10 หลอด (ยาฉีด 1 mg/mL) สาหรับยาฉีดอยู่ในรูปเกลือถ้าต่างกับยา
รับประทาน อาจส่งผลให้การดูดซึมและความคงตัวต่างกัน เช่น ยาฉีด cefuroxime และ enalapril ในกรณีทย่ี าฉีดนัน้ มี
สารอื่นๆเป็ นส่วนประกอบ เช่น สารเพิม่ ปริมาณ (excipients) และสารเพิม่ ความคงตัว เช่น antioxidant สารกันเสีย
เมื่อต้องเจือจางด้วยน้ากระสายยา สารเหล่านี้จะถูกเจือจาง มีผลให้ตวั ยาเสือ่ มสลายไม่คงตัว เช่น ยาฉีด phenobarbital
มี propylene glycol ช่วยทาให้ยาคงตัว เมื่อนามาเตรียมเป็ นยาน้า สารนี้จะถูกเจือจางทาให้ความคงตัวของยา

19
เปลีย่ นไป นอกจากนี้ propylene glycol ในเด็กทารกอาจทาให้เกิด hyperosmolality ได้ สุดท้ายยาฉีดส่วนใหญ่มรี าคา
แพง อาจไม่คมุ้ ค่า คงต้องใช้รปู แบบอื่นมาเตรียมเป็ นยาน้ารับประทาน

สรุป
ความคงสภาพของการเตรียมยาเฉพาะคราวขึน้ กับหลายปั จจัยทีอ่ าจควบคุมได้ ในบทความนี้แสดงให้เห็นว่า
การใช้สารช่วยหรือส่วนประกอบในน้ากระสายยาก็มผี ลต่อความคงตัวของยาทีเ่ ตรียมได้ในรูปแบบต่างๆ จึงทาให้มี
ความคงตัวต่างกัน เมื่อใช้น้ากระสายยาทีต่ ่างกัน หรือความเข้มข้น (ขนาดยา) ต่างกัน เมื่อเก็บรักษาในสภาวะเดียวกัน
ตัวอย่างเช่น การใช้ sodium ascorbate เป็ นสารต้านออกซิเดชันจะช่วยเพิม่ ความคงตัวของ captopril ในยาเตรียม
เฉพาะคราวรูปแบบของ เหลว ทีเ่ ก็บที่ 4ºC., การใช้สารกันเสียในสารผสม levothyroxine sodium ทีค่ วามเป็ นกรดด่าง
ต่า มีผลให้ความคงตัวลดลง การใช้สารช่วยในสูตรตารับต่างๆของ hydralazine hydrochloride, isoniazid และ
phenoxybenzamine hydrochloride อาจเกิดอันตรกิรยิ ากับตัวยาดังกล่าว รวมถึงขนาดยาซึง่ พบว่า ถ้าขนาดยาสูงมักมี
อายุของยาสัน้ กว่าขนาดยาต่ากว่า เภสัชกรควรคานึงถึงปั จจัยเหล่านี้

เอกสารอ้างอิ ง
1. ศัพท์เภสัชศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พิมพ์ครัง้ ที่ 2 (แก้ไขเพิม่ เติม) พ.ศ. 2549 บริษทั ด่านสุทธาการพิมพ์
จากัด กรุงเทพฯ 2549.
2. เภสัชตารับโรงพยาบาล พ.ศ. 2549 บทที่ 3 หลักเกณฑ์วธิ กี ารทีด่ ใี นการผลิตยาในโรงพยาบาล. คณะกรรมการ
แห่งชาติดา้ นยา โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย 2549.
3. Jackson M., Lowey A. Handbook of Extemporaneous Preparation: A guide to pharmaceutical
compounding. London: Pharmaceutical Press 2010;2:447.
4. งานผลิตยาเตรียมเฉพาะราย. เว็บสารสนเทศสุขภาพไทย [internet] . [cited 2018 Jun 24] Available from:
www.hiso.or.th/hiso/picture/reportHealth/add_pro4_13.pdf.
5. Rita K. Jew, Winson Soo-Hoo, Sarah C. Erush. Extemporaneous Formulations for Pediatric, Geriatric, and
Special Needs Patients. 2nd ed. Maryland: The American Society of Health-System Pharmacists Inc.
Publishing; 2010.
6. เภสัชกรฐิตพิ งศ์ อ่าศรี การพัฒนางานผลิตยาสาหรับผูป้ ่ วยเฉพาะรายในโรงพยาบาลชุมชน รายละเอียดการส่งผล
งานเข้าสูร่ ะบบ 2559 การจัดการความรู้ WECANDO ก้าวสูส่ ขุ ภาพดี จังหวัดชัยภูมิ [cited 2018 Jun 24]
Available from: http://203.157.182.17/k9/expcpho/?portfolios=.
7. การเตรียมยาในโรงพยาบาล โรงพยาบาลนางรอง 2553 [cited 2018 Jun 24] Available from: http://slide
player.in.th/slide/3092838/.
8. ศูนย์ขอ้ มูลยาและผลิตภัณฑ์ยา (กลุ่มงานเภสัชกรรม) โรงพยาบาลลาพูน; บัญชียาโรงพยาบาลลาพูน ประจาปี
งบประมาณ 2561 [cited 2018 Jun 24] Available from:
http://www.lpnh.go.th/newlp/wpcontent/uploads/2013/10/ Drug-edit120759.pdf.
9. ศิรมิ า ไชยมูล ยาน้าเตรียมพิเศษเฉพาะรายสาหรับเด็ก โรงพยาบาลมหาสารคาม oral presentation มหกรรม
วิชาการด้านสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม ประจาปี 2561 วันที่ 22-23 มีนาคม 2561 ณ โรงแรมตักศิลา จังหวัด
มหาสารคาม [cited 2018 Jun 24] Available from: http://mkho.moph.go.th/research2018/show
data2.php?id=81.
10. ภญ.เพ็ญนภา ม่วงศรี Extemporaneous preparation of Anti-tuberculosis Drugs สถาบันสุขภาพเด็กแห่ง ชาติ
มหาราชินี เอกสารประกอบการประชุมวิชาการของสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) วันที่ 18
กรกฎาคม 2554 [cited 2018 Jun 24] Available from: http://thaihp.org/index2.php?option=
showfile&tbl=home&id=754.

20
11. ศูนย์ขอ้ มูลยาและผลิตภัณฑ์ยา (กลุ่มงานเภสัชกรรม) โรงพยาบาลสุรนิ ทร์; บัญชีรายการยาโรงพยาบาลสุรนิ ทร์
ปี งบ ป ระมาณ 2561 [cited 2018 Jun 24] Available from: https://sites.google.com/site/dissurinhospital/
download/hospital_druglist.
12. The United State Pharmacopoeia. The National Formulary. Pennsylvania: National Publishing; 2014.
(USP 37, NF 32).
13. Glass BD, Haywood A. Stability considerations in liquid dosage forms extemporaneously prepared from
commercially available products. J Pharm Pharm Sci. 2006;9 (3):398-426.
14. Haywood A, Glass BD. Liquid dosage forms extemporaneously prepared from commercially available
products - considering new evidence on stability. J Pharm Pharm Sci. 2013;16(3):441-55.
15. นวภรณ์ วิมลสาระวงค์ การสารวจการเตรียมยาพิเศษเฉพาะรายชนิดรับประทานสาหรั บเด็กในโรงพยาบาลของ
ประเทศไทย Thai Pediatric Journal. 2014;31(1):21-22 .
16. IWK Health Center. IWK Compounding formulas. 2018. [cited 2018 Aug 8] Available from:
http://www.iwk.nshealth.ca/page/iwk-compounding-formulas.
17. Michigan Pediatric Safety Collaboration. State-Wide Initiative to Standardize the Compounding of Oral
Liquids in Pediatrics. 2018. [cited 2018 Aug 5] Available from: http://www.mipedscompounds.org
18. Jackson M., Lowey A. Handbook of Extemporaneous Preparation: A guide to pharmaceutical
compounding. Appendix 7, suspending agents. London : Pharmaceutical Press; 2010.
19. อมรรัตน์ วิรยิ ะโรจน์ ยาเตรียมเฉพาะคราวรูปแบบยาน้ารับประทาน Thai Pharmaceutical and Health Science
Journal. 2007;2(3):320-326.
20. Allen Loyd V Jr. Acyclovir Formulas. International Journal of Pharmaceutical Compounding [internet].
2011 [cited 2018 Jan 24] Available from: https://es.fagron.com/sites/default/files/page/attachment/
aciclovir_43_mgmL_oral_suspension_preserved.pdf.
21. Database of Oral Liquid Formulations – eMixt. [cited 2018 Aug 8] Available from:
http://www.pharminfotech.co.nz/manual/Formulation /mixtures/.
22. Strom JG, Agbai KU. Formulation and stability of diazepam suspension compounded from tablets. Am J
Hosp Pharm, 1986;43:1489-91.
23. Thaweethamcharoen T., Tummarintra P., Komesmuneeborirak P., Noparatayaporn P. Siriraj Med J,
2014;66(1)15-20.
24. Donnelly R. Chemical stability of methadone concentrate and powder diluted in orange-flavored drink. Int
J Pharm Compd. 2004 Nov-Dec; 8(6) : 489-91.
25. Chia-Yu Lin, Li-Jiuan Shen, Chih-Fen Huang, Hsiu-Li Yang, Ying-Jung Chen, Fe-Lin Lin Wu. Beyond-use
date of extemporaneous morphine hydrochloride oral solution. Journal of food and drug analysis 2013:
21:142-146.
26. Lian T. Chan, Lucy Yeoh. Formulation and Stability of Extemporaneously Prepared Morphine Oral
Suspension. Malaysian Journal of Pharmacy 2014:1(11):19-28.
27. นันทกาญจน์ สุวรรณปิ ฏกกุล ชไมพร แซ่เตีย รัชนีกร เจวประเสริฐพันธุ์ การเตรียมยา Oseltamivir suspension 10
mg/mL และการกาหนดอายุยา R&D Newsletter 2553;17(1):4-9.
28. C. Simon, W. Griffiths, H. Ing, F.Sadeghipour, P. Bonnabry. Development, stability and flavor acceptability
of two oral liquid formulations of phenobarbital for use in pediatrics. Poster presented at 9th Congress of
European association of hospital pharmacist 2004 Mar. 17-19 Sevilla, Spain.

21
29. Amornrat Viriyaroj, Sripratya Klapachan, Channarong Phanpleewan, Vichit Viriyaroj, Chayanid
Sornchaithawatwong and Chutima Wiranidchapong. Physicochemical and Microbiological Stability of
Phenytoin Sodium Extemporaneous Suspension. Thai Pharmaceutical and Health Science Journal.
[Internet]. 2009 [cited 2018 August 6];4(4):463-70. Available from: http://ejournals.swu.ac.th/index.php/
pharm /article/download/2777/2789 · PDF file.
30. Mary H H Ensom, Jennifer Kendrick, Susan Rudolph, Diane Decarie. Stability of Propranolol in
Extemporaneously Compounded Suspensions. Can J Hosp Pharm. [Internet]. 2013 [cited 2018 Sep
10];66(2):118–24. Available from: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3633496
31. Your Medication Information Service. College of Pharmacy and Nutrition. University of Saskatchewan.
[cited 2018 Aug 5]. Available from: http://m.medsask.usask.ca/documents/drug-shortages/ Ranitidine_
Oral_Solution.pdf.
32. Academic materials and slideshows. How to prepare fortified antimicrobial drops. 2007 [cited 2018 Aug 5].
Available from: http://www.boamumbai.com/pdfs/misc/Fortified%20antibiotic%20eye%20drops .pdf.
33. การจัดการความรู้ คณะแพทย์ศาสตร์ ศิรริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล งานผลิตยาปราศจากเชือ้ ฝ่ ายเภสัช
กรรม การปรับปรุงกระบวนการผลิตยาหยอดตาปฏิชวี นะ [cited 2018 Aug 6]. Available from: http://www1.
si.mahidol. ac.th/km/sites/default/files/18_0.pdf.
34. Kodym A, Bilski P, Domańska A, Heł miniak Ł , Jabł ońska M, Jachymska A. Physical and chemical
properties and stability of sodium cefazolin in buffered eye drops determined with HPLC method. Acta Pol
Pharm. 2012;69(1):95-105.
35. Anutra Khangtragool, Banyong Khantawa and Phuriwat Leesawat. Potency of Extemporaneous
Gentamicin Eye Drops Used in Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital. CMU. J. Nat. Sci. [Internet] 2009
[cited 2018 Sep 8];8 ):161-64. Available from: http://cmuj.cmu.ac.th/sites/default/files/pdf/Natural Sciences/
Volume 8, Number 2, July-December 2009/03 Journal 2009 V8-2.pdf
36. Velpandian T., Saluja V., Ravi A. K., Kumari S. S., Mathur R., Biswas N. R., and GHOSE S. Evaluation
of the Stability of Extemporaneously Prepared Ophthalmic Formulation of Mitomycin C. Journal of Ocular
Pharmacology and Therapeutics. 2005;21(3):217-22.
37. Information presented by Malahyde Information Systems. South African Electronic Package Inserts 2017.
[cited 2018 Augl 8]. Available from: http://home.intekom.com/pharm/alcon/bss.htmL.
38. นวภรณ์ วิมลสาระวงค์. ยาเตรียมพิเศษเฉพาะรายรูปแบบยาน้าสาหรับเด็ก Thai Pediatric Journal. 2012;19(3):
193–99.

22

You might also like