You are on page 1of 115

Precast Concrete

Precast Concrete
ความเป็ นมา

ในระยะเวลา 5 - 6 ปี ที่ผา
่ นมา ประเทศไทยมีการเจริญเติบโตด้านอุตสาหกรรมและ

ระบบ Precast
การก่อสร้างอาคารสูง บ้านจัดสรร คอนโดมิเนี ยมที่เกิดขึ้นพร้อมๆ เพื่อตอบสนอง
ความต้อการของลูกค้า
กับอาคาร

การวิวัฒนาการอุตสาหกรรมการก่อสร้างก็ได้มีการเปลี่ยนจากเดิมมาย การนำาเอา
ระบบ Precast เข้ามาช่วยแก้ปัญหาการก่อสร้างต่างๆ ระบบ Precast ในปั จจ
รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง ไม่ว่าจะเป็ นอาคารชุด ศูนย์การค้า หรือ อาคารสูงๆ
แต่อย่างไรก็ตามระบบ Precast ก็มีท้ังจุดเด่นและจุดด้อย ซึ่งวิศวกรจะนำามาประยุกต
ใช้กบ
ั งานให้เหมาะสมกับงานของตัวเอง
ระบบชิ้นส่วนสำาเร็จรูป( Precast Concrete )
         ระบบก่อสร้างสำาเร็จรูปเกิดขึ้นมาเพื่อตอบสนองต่ออาคารที่พักอาศัยเป็ นหลักใน
ระยะเริ่มต้น อย่างไรก็ตามระบบก่อสร้างสำาเร็จรูปนี้ ได้ถูกทบทวนและนำามาเปรียบเทียบ
ข้อดีข้อเสีย กับระบบก่อสร้างแบบเดิมเพื่อตัดสินใจในการเลือกแนวทางการก่อสร้างอยู่เสมอ
ความไม่เข้าใจในระบบของผู้ออกแบบและผู้กอ ่ สร้างทำาให้การก่อสร้างด้วยระบบสำาเร็จรูป
ไม่เป็ นที่นิยมเมื่อเปรียบเทียบต้นทุนการก่อสร้างที่เพิ่มขึ้นอย่างมากของระบบสำาเร็จรูป และ
ไม่ประสบความสำาเร็จในหลายๆ โครงการ ทำาให้นักลงทุนหรือเจ้าของอาคารเลือกที่จะใช้
กระบวนการก่อสร้างแบบเดิมๆ ที่มีความเสี่ยงน้อยกว่าทำาให้ความต้องการการก่อสร้างระบบ
สำาเร็จรูปเต็มรูปแบบมีความนิ ยมลดน้อยลงเรื่อยๆ ในปั จจุบันเทคโนโลยีในการก่อสร้างและ
การขนส่ง เปิ ดโอกาสให้ระบบสำาเร็จกลับมาได้รับความนิ ยมอีกครั้ง หากผู้บริหารโครงการ
หันมาทำาความเข้าใจและศึกษาในหัวข้อนี้ อย่างจริงจัง ระบบสำาเร็จรูปก็น่าจะเป็ นทางเลือก
ในการก่อสร้างที่ดอ ี ีกทางหนึ่ ง เนื่ องจากสามารถดำาเนิ นการได้อย่างรวดเร็ว มีต้นทุนตำ่า
คุณภาพดี อีกด้วย
จุดเด่นของระบบ Precast คือ

1 . สามารถก่อสร้างได้อย่างรวดเร็ว สามารถที่จะทำาการหล่อชิน้ ส่วนคู่ขนานไปกับงานฐานราก


มื่อทำาฐานรากเสร็จก็สามารถนำาชิน้ ส่วนของการทำา Precast มาติดตั้งได้เลย

ใช้วัสดุในการทำาการก่อสร้างอย่างประหยัด และยังช่วยลดความสูญเสียต่างๆ วัสดุคอนกรีต


นงานระบบ Precast ส่วนใหญ่จะจัดด้วยระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยซึ่งช่วยลดความสูญ
องวัสดุ

มีความเรียบร้อยและสวยงามสำาหรับผิวสำาเร็จของ Precast ที่ใช้ไม้แบบเหล็กและยังสาม


นผิวเป็ นรูปสำาเร็จรูปต่างๆ

ระบบต่างๆ สามารถจะจัดรวมอยู่ในระบบ Precast เป็ น Module สำาเร็จ โดยรวมระ


ความร้อนและระบบปรับอากาศรวมในระบบ Precast ทั้งหมด
จุดด้อยที่เห็นได้ชัดของระบบ Precast คือ

1. จะต้องมีการขนย้ายในการติดตั้งอุปกรณ์เครื่องมือเป็ นพิเศษและค่าใช้จ่ายสูง
ระบบ Precast ที่นิยมใช้เมืองไทยมี ดังนี้

กำาแพงรับแรง ( Bearing Wall Structure )

โครงสร้าง Precast กำาแพงรับแรงดันภายนอก ( Facade )

สร้าง Precast ระบบพื้นและหลังคา (Precast Floors and Roofs

cast บ้าน Module สำาเร็จ ( Module System หรือ cell syste

ระบบแบบผสม
mes ิ้ ส่วน Precast
ระบบนี้ จะใช้ชน นำามาต่อกันเป็ น Frame action ดังแ
กำาแพงรับแรง ( Bearing Wall Structure )
Precast แบบนี้ จะเหมาะสำาหรับอาคารอพาร์ทเมนท์ ซึ่งมีอิฐก่อกำาแพงค่อนข้างมากโดยกา
ห้กำาแพงทำาหน้าที่ท้ังเป็ นผนังและเสาไปในตัวพร้อมๆกัน การใช้กำาแพง Precast ทำาให้การ
้ กำาแพงความทึบแบบ Precast
ดเร็ว ผนังกำาแพงมีความเรียบร้อยและสวยงามมากขึน ย
งและทนต่อไฟไหม้ได้ดีกว่าอิฐธรรมดา
โครงสร้าง Precast กำาแพงรับแรงดันภายนอก ( Facade )
ครงสร้างแบบนี้ คล้ายกับแบบ Bearing Wall แต่จะติดตั้งอย่ภ
ู ายนอกอาคารทั้งหมด
กำาแพง Facade นี้ นอกจากจะออกไว้รับแรงแล้วยังมีการตกแต่งกำาแพงให้มีสีสรรลวด
ลายต่างๆ และรูปร่างที่สวยงาม
ง Precast ระบบพื้นและหลังคา (Precast Floors and Ro
recast Floors เป็ นที่นิยมใช้ในประเทศไทยกันอย่างแพร่หลาย ซึ่งมีการผลิตทันท
รูปแบบต่างๆ มากมาย จุดเด่นของงานระบบพื้น Precast ก็คือความสามารถที่จะ
าการก่อสร้างพื้นได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่ตอ
้ งใช้ไม้แบบ หรือพื้นคำ้ายัน
โครงสร้าง Precast ระบบพื้น
โครงสร้าง Precast ระบบพื้น
โครงสร้าง Precast ระบบหลังคา
cast บ้าน Module สำาเร็จ ( Module System หรือ cell sys
ระบบ Precast แบบนี้ เป็ นการก่อสร้างบ้านทั้งหลังหรือบางส่วนของบ้านสำาเร็จจาก
ภายนอกและยกมาวาง โดยทั่วไปบ้านแบบ Module จะมีการตบแต่งพร้อมเสร็จเมื่อ
นำามาติดตั้งนั้น คือ ระบบไฟฟ้ าห้องนำ้า ไฟฟ้ าแสงสว่าง เฟอร์นิเจอร์ต่างๆ มาพร้อม
กับงานโครงสร้าง
ข้อดีของบ้านระบบนี้ คือ ความรวดเร็วในการเปิ ดอาคารให้ลก
ู ค้าได้ใช้ แต่มีข้อจำากัด
อยู่ตรงรูปร่างอาคารจะมีรูปแบบตายตัว และขนาดของ Module ต้องไม่ใหญ่มากนัก
มิฉะนั้นจะไม่สะดวกในการขนย้ายจากโรงผลิตมายังสถานที่ก่อสร้างได้
ระบบแบบผสม

ระบบ Precast แบบนี้ จะเป็ นการใช้ระบบ Precast บางส่วนผสมกับการก่อสร้า


อย่างอื่นๆ เป็ นต้นว่า ผสมกับงานคอนกรีตผสมกับที่ หรือผสมกับระบบบ้านอิฐ
บล็อก
ข้อดีของระบบนี้ อยู่ท่ีความหลากหลายในการก่อสร้าง และไม่มีความจำาเป็ นที่จะต้อง
้ ส่วน Precast
ใช้เครื่องมือที่น้ ำาหนักในการขนส่งและติดตั้งชิน
หลักการและข้อคำานึ งในการออกแบบระบบงานโครงสร้าง Precast

เนื่ องจากกระบบการก่อสร้างแบบงานโครงสร้าง Precast เป็ นการก่อสร้างแบบแยกชิน้


ส่วนของอาคารไปหล่อหรือผลิตแล้วจึงนำามาประกอบในสถานที่ก่อสร้าง ดั้งนั้นขบวน
ผลิตและการออกแบบโครงสร้างจะแตกต่างจากการออกแบบเทกับที่
รผลิตชิ้นส่วน Precast และ Connection ต้องพิจารณาถึงรายละเอียด

- ชิน
้ ส่วนPrecast ควรจะมีรูปแบบเรียบง่าย และรูปแบบต้องซำ้ากันให้มากที่สด

เพื่อสะดวกในการลดจำานวนแบบที่ใช้ในการผลิตได้

-หลีกเลี่ยง Details ที่ใช้เหล็กเสริมแน่ นเกินไป เพราะจะทำาให้เทคอนกรีตและ


การทำางานได้ยากคอนกรีตที่ออกมาอาจไม่ได้คณ ุ ภาพ

-ทำหลี กเลี่ยงวิธีท่ีมก
ี ารเจาะทะลุแบบมากเกินไป เพราะจะทำาให้การทำางานยากและ
าให้ไม้ชำารุดได้ง่าย

-ใช้Details ที่มีชนิ้ ส่วนฝั งในคอนกรีตให้นอ้ ยที่สุด ชิ้นส่วนที่ฝังในคอนกรีต


ได้แก่ Couples ต่างๆ Bolts แผ่นเหล็ก ฯลฯ ความยุ่งยากในการยึดชิน ้ ส่วนต่างๆ
ให้เข้าที่และไม่มีการขยับในขณะเทคอนกรีตนั้นจะทำาได้ยากและเสียเวลา
- การใช้วัสดุ และอุปกรณ์ตา
่ งๆ ที่มีมาตรฐานและหาได้ท่ัวไปเพื่อเป็ นการลดต้น
ทุนและลดวัสดุท่ีจะต้อง Stock ไว้

-หลีกเลี่ยงการใช้ Connection ที่ตอ


้ งใช้เครื่องมือหนักในการขนส่งและติดตั้ง
ทั้งนี้ ก็เพื่อความคล่องตัวในการปฎิบัติงาน
การขนส่งและการติดตั้งชิ้นส่วน

- ชิน้ ส่วนมีขนาดและรูปร่างที่สามารถขนส่งจากโรงงานผลิตไปยังสถานที่
ก่อสร้าง โดยใช้รถขนส่งวัสดุท่ัวไป
-ขนย้
หลีกเลี่ยงชิน
้ ส่วนที่มแ
ายทำาได้ยาก
ี ขนขายื่นออกมา ซึง
่ จะทำาให้การขนส่งติดขัดและการ

-ขนย้
หลีกเลี่ยงชิ้นส่วนที่มีแขนขายื่นออกมา ซึ่งจะทำาให้การขนส่งติดขัดและการ
ายทำาได้ยาก

Connection
ใช้ ที่ทำางานง่ายในสนาม เพื่อความรวดเร็วและป้ อง
กันความผิดพลาด
- ควรจะออกแบบให้การติดตั้งใช้ Crane และเครื่องยกหนักให้นอ ้ ยที่สด ุ ชิ้นส่วน
หลักควรจะออกแบบให้สมารถแขวนลอย เพื่อการเคลื่อนย้ายชิ้นส่วนเข้าที่ได้เร็ว
ประหยัดเวลาการใช้เครน
-การตั
ต้องมียะระเผื่อสำาหรับความคลาดเคลื่อนของตำาแหน่ งที่ต้องต่อกัน เพื่อหลีกเลี่ยง
ดเจาะหรือขยายรอยต่อใหม่

-หลีกเลี่ยงการเก็บชิ้นส่วน Precast ให้นอ้ ยที่สุด ถ้าเป็ นไปได้ควรจะมีการวางแผน


ให้ของที่มาจากโรงงานนำาขึ้นติดตั้งในทันทีโดยไม่ต้องนำามาเก็บในโกดังก็จะยิ่งดี
พื้น Half Slab ( HS ) คือ แผ่นพื้นคอนกรีตที่หล่อมาเฉพาะ
ส่วนล่าง ของพื้นโดยมีความหนาที่ 50 มม. สำาหรับคอนกรีตส่วน
บนจะมาเทปรับระดับที่หน้างานก่อสร้างภายหลัง พื้น HS ในระบบ
HP จะถูกเสริมเหล็กล่าง ตามรายการคำานวณส่วนเหล็กบน จะ
เสริมที่หน้างานก่อสร้าง ตามรายการ นำ้าหนัก ที่ต้องการขนาดของ
พื้น HS มีขนาดได้ไม่จำากัดเราสามารถใช้พ้ ืน เป็ นแบบในการ
ก่อสร้างโดยให้มี span พื้นได้ถึง 10 เมตร หรือมากกว่า ( ขึ้นอยู่
กับความหนาทั้งหมดของพื้น ) ดังรูปที่ 7 พื้น HS จะมีเหล็ก
Lattice Girder ตลอดแนวยาวพื้นเป็ นระยะห่างกัน
ประมาณ 600 มม. เพื่อไว้ให้เป็ นตัวหิ้วพื้นและ ทำาหน้าที่เป็ น
เหล็กเสริมไปด้วยในตัว HS สามารถถูกนำาไปใช้ เป็ นพื้นคอนกรีต
เต็มโดยการเทคอนกรีตส่วนบนของ HS หรือใช้เป็ นพื้น Rib
Slab ซึ่งมีลักษณะ เหมือนกับพื้น Hollow Core
พื้น Rib Slab ( RS ) จะมีลักษณะเหมือนพื้นแบบ HS
แต่แตกต่างกันตรงที่จะมีเหล็ก Lattice Girder สูงกว่าใน
พื้นแบบ HS เจตนาก็เพื่อต้องการหล่อพื้น RS ให้เหมือนกับพื้น
แบบ Hollow Core คือมีช่องว่างอากาศอยู่กลางและให้พ้ ืนมี
ความหนาได้มากขึ้นเพื่อรับ Bending Moment ได้ดีกว่าพื้น
แบบ HS ดังนั้นพื้นแบบ RS จึงเหมาะกับโครงสร้างที่มี span
ยาวมากๆ นอกจากนี้ ยังสามารถทำาคานซ่อนในพื้น โดยทำาให้ไม่
เห็นคานใต้พ้ ืนได้ ในบางกรณีจะมีงาน ระบบฝั งอยู่ภายในพื้นได้โดย
ไม่ทำาให้เสียพื้นที่ใต้ฝ้าเพดานเช่น งานระบบไฟฟ้ า
ข้อดีของพื้นแบบ HS และ RS ในระบบHP
1. พื้นผิวเรียบทำาให้ไม่ต้องใช้ฝ้าเพดานทำาให้อาคารทั้งหมดมีขนาดเตี้ยลง
ซึ่งจะประหยัดค่าก่อสร้าง
2. สามารถเดินงานทำาไฟฟ้ าภายในพื้น
3. สามารถเดินงานท่อนำ้าดี , นำ้าเสียภายในพื้น
4. ใช้ทำาหน้าที่เป็ นคาน ( กรณีท่เี ป็ น RS ) โดยการเสริมเหล็กเพิ่มและเทคอนกรีต
ให้เต็ม ความหนาพื้น
5. กรณีพ้ ืน RS จะมีการป้ องกันความร้อนได้ดีเนื่ องจากมีอากาศเป็ นฉนวน
6. ขนาดแผ่นพื้นไม่จำากัด ไม่จำาเป็ นต้องมาตัดที่หน้างาน
7. ไม่จำากัด span พื้น ( ขึ้นอยู่กับความหนาพื้น)
lid Wall คือผนังคอนกรีตเสริมเหล็กซึ่งมีความหนาตั้งแต่ 5 มม. ขึ้นไปผนัง S
อาจใช้ทำาหน้าที่ได้ 2 อย่างคือ เป็ นผนังตกแต่งหรือใช้เป็ น ผนังรับนำ้าหนัก หากใช้เป็ น
หนักจะต้องให้มีความหนาอย่างน้อย 100 มม. ผนัง Solid
Wall    ในระบบ
stem สามารถมีรูปแบบได้ไม่จำากัดโดยมีขนาด ใหญ่สงู สุด 3x18 ม. และมีชอ่ งเจาะต่า
หน้าต่าง , ช่องระบายอากาศ ผิวเนี ยนเรียบทั้ง 2 ด้าน พร้อมทาสีทับได้ทันที เป็ นต้น
ข้อดี ของผนัง Solid Wall มี
ดังนี้
1. สามารถใช้ได้เป็ นทั้งผนังตกแต่ง หรือผนังรับนำ้าหนัก
2. ผิวเรียบเนี ยนทั้ง 2 ด้าน โดยไม่มีการฉาบ และพร้อมทาสีทับ
ได้ทันที
3 . สามารถใช้เป็ นผนังกันตก
4 . การติดตั้งผนังทำาได้ท้ังขอบบนขอบล่างโดยมีงานเชื่อมน้อย
มาก
5 . ไม่จำากัดขนาดและรูปแบบของผนัง ( สูงสุด 3 x 18 ม.
ต่อชิ้น)
6 . ราคาถูก
7 . เจาะช่องประตูหน้าต่าง หรือรูปแบบต่าง ๆ
คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์

1 . ลดขั้นตอนการก่อสร้างได้ เช่น ไม่ต้องใช้ไม้แบบ ไม่มีงาน


ฉาบ ไม่ต้องทำาฝ้ าเพดาน งานเก็บน้อย เจาะผนังติดตั้ง วงกบประตู
หน้าต่าง และ งานระบบไฟฟ้ าจากโรงงาน จึงช่วยร่นระยะเวลาการ
ก่อสร้างเร็วขึ้นและ ลดต้นทุนค่าก่อสร้างลงได้มาก
2 . ผิวของแผ่นผนังและพื้นเนี ยนเรียบดูสวยงามปราศจากรอยร้าวของ
ปูนฉาบ
3 . รอยต่อเชื่อมทำาได้ง่ายและมีความแข็งแรงมั่นคง กว่าการใช้
ผลิตภัณฑ์ คอนกรีตเสริมเหล็ก สำาเร็จรูปแบบอื่น ขั้นตอนติดตั้งง่าย ใช้
แรงงานน้อย
4 . เป็ นฉนวนกันความร้อนและเก็บเสียงได้ดี
5 . ระบบไฟฟ้ า ประปา เดินในผนังเสร็จจากโรงงาน
6 . ลดมลภาวะระหว่างการก่อสร้างโดยเฉพาะฝ่ ุนละอองและเศษวัสดุ
7 . ลดต้นทุนทางการเงินเพราะใช้เวลาก่อสร้างสั้น
8 . สามารถผลิตได้ตามจำานวนที่ต้องการโดยไม่ขึ้นกับปริมาณตำ่ าสุด
ครั้งละหลายรูปแบบหรือ ตามจำานวนที่ต้องการโดยไม่ขน ึ้ กับปริมาณ
ส่วนประกอบของอาคาร

1. ทั่วไป

บทนี้ กล่าวถึงส่วนประกอบของอาคาร ประกอบด้วยวิเคราะห์ศัพท์ การจำาส่วน


ประกอบ
ของโครงสร้าง หรืออาคาร องค์อาคารต่างๆ ระบบโครงสร้าง หรืออาคาร ประโยชน์
สอย
และอื่น ๆ
2. วิเคราะห์ศัพท์
ส่วนประกอบของอาคารหมายถึงองคาพยพต่าง ๆ ที่ประกอบเข้ากันเป็ นอาคาร
ในทางวิศวกรรมเรียกแต่ละส่วนนั้นว่า องค์อาคาร ( Structural
Member ) แต่อาจเรียกให้เข้าใจง่าย ๆ ว่า ชิ้นส่วนโครงสร้าง หรือส่วน
ประกอบของอาคาร ก็ได้ เปรียบเทียบง่าย ๆ อาคารก็เหมือนสรีระ หรือร่างกาย
มนุษย์ มีอวัยวะได้แก่ มือ แขน ขา เท้า ทำาหน้าที่ตา่ งกันเช่น แบก ยก หิว
้ รองรับ
แต่ประสานสัมพันธ์กัน นำ้าหนักสิ่งของต่าง ๆ ที่วางบนมือ หิ้วด้วยแขน ทูนไว้บน
ศีรษะ หรือแบกบนไหล่ ถ่ายลงไปยังขา และเท้า เท้าก็จะถ่ายนำ้าหนักกระจายไป
ยังพื้น นอกจากนั้นรูปลักษณ์ เช่น ความอ้วนผอม ความสูงตำ่า บ่งบอกความแข็ง
แรงมั่นคง ปราดเปรียว หรือบอบบาง อาคารก็เช่นกัน ทั้งนี้ เนื่ องจากส่วน
ประกอบต่าง ๆ ของอาคาร เช่นคาน เสา ฐานราก เลียนรู้ และเลียนแบบสิ่ง
ปรากฏทางธรรมชาติ เช่นสรีระ หรือร่างกายมนุษย์ ในทางที่จะทำาให้สว ่ นต่าง ๆ
ที่ประกอบกันเป็ นอาคาร มีความมั่นคงแข็งแรง ทนทาน รับนำ้าหนัก หรือแรงได้
ตามวัตถุประสงค์
เมื่อกล่าวถึงส่วนประกอบของอาคาร จะต้องจำาแนกเป็ น 2 - 3 ประเด็น คือ
ส่วนประกอบนั้นเรียกว่าอะไร ส่วนประกอบนั้นทำาจากวัสดุอะไร และส่วนประกอบ
นั้นมีหน้าที่อะไร ( หรือมีไว้ทำาอะไร) สองประเด็นแรกอาจตอบในเบื้องต้นได้ว่า
ส่วนประกอบของอาคารหลัก ๆ แล้วมีอย่เู พียงไม่ก่ีส่วน ได้แก่ พื้น คาน เสา และ
ฐานราก ส่วนประกอบอื่น ๆ ที่มิได้กล่าว แต่อาจพบเห็นได้ ( เช่นบันได) ผนัง
หรือกำาแพง มีความสำาคัญเป็ นลำาดับรองลงไป และมีขอ ้ ปลีกย่อยที่จะกล่าวถึงภาย
หลัง ส่วนประกอบบางอย่างไม่ใช่โครงสร้าง หากแต่เป็ นงานประณีต
สถาปั ตยกรรม หรือมัณฑนศิลป์ ( Decorating ) ที่ทำาให้อาคารสวยงาม
หรือตอบสนองความต้องการ และใช้สอยได้เกิดอรรถประโยชน์ ดังเช่นสรีระมนุษย์
ซึ่งมีโครงกระดูกเป็ นแกนหลัก ยึดเกาะกันโดยอาศัยเส้นเอ็น หรือกล้ามเนื้ อ โดยมี
ผิวหนังเป็ นเสมือนเปลือกหุ้ม เสื้อผ้าเครื่องแต่งกายก็เป็ นเพียงส่วนประกอบเช่น
กัน
ส่วนประกอบของอาคารอาจทำาจากวัสดุอะไรก็ได้ แต่ท่ีนิยมใช้ และปรากฏให้เห็น คือ
ไม้ เหล็ก และคอนกรีต ( ซึ่งอาจเป็ นคอนกรีตเสริมเหล็ก หรือเสริมลวดอัดแรง)
การเลือกวัสดุทำาส่วนประกอบของอาคารจะต้องพิจารณาคุณสมบัติทางกายภาพ และ
ทางกล ( Physical or Mechanical properties )
บางกรณีเช่น โครงสร้างเหล็ก อาจต้องคำานึ งถึงกลสมบัติทางเคมี ( Chemical
properties ) ด้วย คุณสมบัติท้งั ปวงอาจเรียกรวม ๆ ว่า คุณสมบัติในเชิง
วิศวกรรม กล่าวง่าย ๆ คือ ต้องเลือกวัสดุท่ีเหมาะสมกับประเภทของอาคาร หรือชนิ ด
ของส่วนประกอบอาคารนั้น ให้แข็งแรงสามารถรับนำ้าหนัก หรือต้านทานแรงได้
( Capability to resist load or forces )
ประหยัด ( Save ) ปลอดภัย ( Safe ) หรือทนทาน ( Durable )
นอกจากนั้น การเลือกวัสดุอาจคำานึ งถึงปั จจัยอื่น ๆ เช่น
งบประมาณ ( หรือราคา) สามารถหาได้ในท้องถิ่น การลำาเลียง หรือขนส่ง วิธี
ก่อสร้าง ระยะเวลาก่อสร้าง ปั ญหา หรืออุปสรรคขณะก่อสร้าง ( เช่น เสียงดัง
ความสั่นสะเทือน หรือฝ่ ุนละออง) พฤติกรรมรับนำ้าหนัก หรือแรง เช่น รับนำ้า
หนัก หรือต้านทานแรงซำ้า ๆ กัน มีแรงกระแทก ( Impact ) เป็ นต้น บาง
ครั้งการเลือกวัสดุใช้ทำาส่วนประกอบของอาคารอาจขึ้นกับเหตุผลทาง
สถาปั ตยกรรม เช่นต้องการใช้เหล็กหรือโลหะให้เห็นผิวมันวาว ต้องการให้เห็น
ลายไม้ หรือต้องการให้เห็นผิวเปลือยของคอนกรีต เป็ นต้น พึงเข้าใจว่า จะใช้วัสดุ
อะไรทำาส่วนประกอบของอาคารก็ให้ความแข็งแรงมั่นคงได้เช่นเดียวกัน ๆ กัน
หากคำานวณออกแบบถูกต้อง แต่อาจมีข้อดีข้อด้อยต่างกัน เช่น ขนาดใหญ่ เสีย
พื้นที่ หรือปริมาตรใช้สอย ค่าก่อสร้างสูง ไม่ทนทาน เป็ นต้น
3. การจำาแนกส่วนประกอบของอาคาร
นอกจากจะจำาแนกส่วนประกอบของอาคารตามประเภทวัสดุ (ซึ่งไม่ใคร่จะเกิด
ประโยชน์ใดนัก) อาจจำาแนกส่วนประกอบอาคารโดยใช้เงื่อนไข หรือหลักเกณฑ์
ต่อไปนี้

3.1 จำาแนกตามความสำาคัญในการต้านทานแรง

เป็ นการจำาแนกโดยพิจารณาถึงบทบาท หรือความสำาคัญของส่วนประกอบอาคาร


( Function ) ซึ่งได้แก่โครงสร้าง หรือส่วนประกอบหลัก ( Primary
structure ) กับโครงสร้าง หรือส่วนประกอบรอง ( Secondary
or minor structure ) ส่วนประกอบหลักหมายถึงส่วนประกอบที่
เป็ นเสมือนโครงของอาคาร ( คล้ายกับโครงกระดูกซึ่งเป็ นแกนในร่างกายมนุษย์ ที่ยึด
ุ ด้วยเนื้ อหนัง) หากปราศจากส่วน
เกาะกันด้วยเส้นเอ็น และกล้ามเนื้ อ แล้วถูกห่อห้ม
เหล่านี้ แล้ว อาคารก็ไม่อาจคงสภาพอยู่ได้ ไม่อาจรับนำ้าหนัก หรือต้านทานแรงใด ๆ
ส่วนประกอบหลักจึงได้แก่ พื้น คาน เสา และฐานราก สำาหรับส่วนประกอบรองของ
อาคารนั้น เป็ นสิ่งเสริมแต่งให้อาคารแข็งแรงขึ้น มีสภาพที่เหมาะแก่การใช้งาน คงทน
หรือดูดี เปรียบเสมือนเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย บนร่างกายมนุษย์ หากแม้ปราศจากสิ่ง
เหล่านี้
หรือสิ่งเหล่านี้ ชำารุดเสียหาย ร่างกายก็ยังคงอยู่ได้ แม้จะมีสภาพไม่น่ามอง
หรือน่ าอับอายก็ตาม ส่วนประกอบรองของอาคารจึงได้แก่ ผนัง หรือกำาแพง
กันสาด ชายคา หรือราวกันตก เป็ นต้น

3.2 จำาแนกตามตำาแหน่ งของส่วนประกอบ

การจำาแนกตามตำาแหน่ งของงงส่วนประกอบจำาแนกโดยพิจารณาว่าส่วนประกอบ
ู รงส่วนใดของอาคารปกติจำาแนกได้เป็ น 2 กลุ่มหลัก คือ ส่วนประกอบ
นั้น ๆ อย่ต
หรือโครงสร้างส่วนบน ( Super Structure ) ได้แก่ พื้น และคาน
และส่วนประกอบ หรือโครงสร้างส่วนล่าง ( Sub Structure ) ได้แก่
เสา และฐานราก ( ซึ่งหากมีเสาเข็มก็จะผนวกอยู่กับฐานราก) การจำาแนกเช่นนี้
เหมาะกับอาคาร หรือโครงสร้างจำาพวกสะพาน เสียมากกว่า เพราะในอาคาร
ทั่วไปบางครั้งที่ระดับเดียวกับฐานราก ก็มีคานอยู่ดว ้ ย หรือหมายความว่าคาน
เป็ นส่วนหนึ่ งของระบบฐานราก ดังกรณีอาคารที่มีช้น ั ใต้ดน
ิ หรืออาคารขนาดใหญ่
เป็ นต้น ซึ่งอาจทำาให้คนทั่วไปที่ไม่ใช่วิศวกรสับสนได้
3.3 จำาแนกตามระบบ หรือวิธีวิเคราะห์

การจำาแนกเช่นนี้ เข้าใจโดยง่ายเฉพาะในหมู่วิศวกร เพราะองค์อาคาร หรือส่วนประกอบ


ของอาคาร บางครั้งก็อยู่แยกส่วนโดดเดี่ยว เช่นแผ่นพื้น คาน แต่บางครั้งระบบ
โครงสร้างมีหลายชิน ้ ส่วนประกอบเข้าด้วยกัน เช่นโครงหลังคา ประเภทโครงข้อหมุน
หรือโครงถัก ( Truss ) มีหลายชิน ้ ส่วนมาถัก หรือประกอบกันเป็ นโครงสามเหลี่ยม
หรือโครงข้อแข็ง ( Frame ) Column )
มีโครงสร้างในแนวตั้ง ( เรียกเสา -
และโครงสร้างในแนวราบ ( หรือคาน) ประกอบกันเป็ นโครง ( Skeleton )
เปล่า ๆ โล่ง ๆ ยังไม่มีผนัง หลังคา พื้น หรือเพดาน โครงสร้างบางชนิ ดมีลก
ั ษณะเป็ นแผ่น
( Plate ) หรือเป็ นแผ่นพับคล้ายฝาจีบ ( Folded plate ) บ้างก็เป็ น
เปลือกบาง ๆ ( Shell ) หรือโค้งมนสวยงาม เช่นคล้ายเปลือกไข่ หรือคล้ายภาชนะ
ดินเผา แม้ไม่มีโครงอะไรคำ้ายันอยู่ด้านใน แต่แผ่น หรือเปลือกนั้นก็คงรูปอยู่ได้
4. ฐานราก

ฐานราก ( Foundation ) คือส่วนประกอบที่รับนำ้าหนักของอาคาร ซึ่งรวม


ถ่ายลงเสาแล้วถ่ายลงยังดิน หรือหิน โดยผ่านฐานราก ฐานรากชนิ ดที่ง่ายที่สด ุ คือ
ฐานรากแผ่ ( Spread footing ) ซึ่งหมายถึงฐานรากที่ไม่ใช้เสาเข็ม
ฐานรากแผ่จะใช้ตัวมันเอง ถ่ายนำ้าหนักอาคารลงไปยังดิน หรือหินที่รองรับ ดังนั้น
ฐานรากแผ่จึงต้องมีขนาดใหญ่พอที่จะกระจายนำ้าหนักให้แผ่ลงดิน หรือหิน หรือมิเช่น
้ งแข็งแรง เพราะมิเช่นนั้นแล้ว เมื่อนำ้าหนัก
นั้น ดิน หรือหินที่รองรับฐานรากแผ่ตอ
อาคารมาก ๆ หรือดิน หิน ที่รองรับฐานรากมีกำาลังต้านทานน้อย ขนาดฐานรากแผ่จะ
ใหญ่โตเกินความจำาเป็ น ควรใช้ฐานรากอีกชนิ ดหนึ่ งคือฐานรากวางบนเสาเข็ม
( Piled foundation ) นำ้าหนักอาคารที่ถา่ ยลงฐานรากจะถ่ายต่อไป
ยังเสาเข็ม เสาเข็มอาจต้านทานนำ้าหนักโดยอาศัยความฝื ด หรือแรงเสียดทาน
( Friction ) ระหว่างผิวเสาเข็มกับดินที่อยู่รายรอบ หรือหากเสาเข็มยาวมาก
พอ เช่นถูกตอกลงไปวางบนชั้นดินที่แข็งมาก หรือชั้นหิน ( Hard
strata )
ก็จะต้านทานนำ้าหนักโดยอาศัยทั้งความฝื ด และแรงแบกทาน( Bearing ) ที่
ปลายเสาเข็มนั้นกับชั้นดินแข็ง หรือชั้นหิน
นอกจากจะแบ่งประเภทฐานรากตามวิธีถ่ายนำ้าหนักแล้วยังสามารถแยกชนิ ด
ของฐานรากตามรูปร่าง และตามลักษณะของนำ้าหนักบรรทุก ได้ดงั นี้

4.1 ฐานใต้กำาแพง หรือฐานแบบต่อเนื่ อง

ฐานใต้กำาแพง หรือฐานแบบต่อเนื่ อง ( Strip footing ) ใช้รบ ั นำ้าหนัก


กำาแพง ดังนั้นฐานรากจึงมีรูปร่างเป็ นสี่เหลี่ยมผืนผ้า เป็ นแถบยาวต่อเนื่ องไปตามความ
ยาวของกำาแพง ส่วนความกว้างของฐานผันแปรได้ แต่ปกติจะกว้างกว่าความหนาของ
กำาแพง รูปที่ 1 แสดงตัวอย่างฐานแบบต่อเนื่ อง

รูปที่ 1 ตัวอย่างฐานแบบต่อเนื่ อง
4.2 ฐานเดี่ยว

ฐานเดี่ยว ( Isolated footing ) เป็ นฐานรากเพื่อใช้รับนำ้า


หนักบรรทุกของเสา หรือตอม่อต้นเดียว อาจเป็ นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรส
ั สี่เหลี่ยม
ผืนผ้า หรือรูปอื่นก็ได้ รูปที่ 2 แสดงตัวอย่างฐานเดี่ยว

ก. ฐานรากเดี่ยวแบบฐานแผ่
ข. ฐานรากเดี่ยววางบน
เสาเข็ม
รูปที่ 2 ตัวอย่างฐานเดี่ยว
4.3 ฐานร่วม

รูปที่ 3 ตัวอย่างฐานร่วม
4.4 ฐานตีนเป็ ด หรือฐานชิดเขต

ฐานตีนเป็ ด หรือฐานรากชิดเขต ( Strap footing ) เป็ นฐานรากร่วม


ชนิ ดหนึ่ ง รับนำ้าหนักบรรทุกของเสา ตอม่อ หรือกำาแพงที่อยู่ริมขอบฐานทำาให้น้ ำา
หนักที่ถ่ายลงส่ฐ ู านเยื้องกับศูนย์ถว
่ งของฐาน เช่น ฐานรากที่อยู่ใกล้แนวเขตที่ดน

ฐานรากชนิ ดนี้ ไม่เสถียร คือมีแนวโน้มที่จะพลิกล้ม ( Overturn ) ได้ง่าย จึง
จำาต้องยึดไว้กับฐานรากอื่นที่อยู่ใกล้เคียงกันโดยมีคานยึด ( Strap beam )
คานยึดนี้ อาจยกระดับขึ้นเหนื อระดับฐานราก หรือซ่อน หรือซ้อนเกย
( Common ) เป็ นส่วนหนึ่งของฐานรากได้ รูปที่ 4 แสดงตัวอย่างฐานรากตีน
เป็ ด

ก.ชนิ ดแผ่ ข. วางบนเสาเข็ม

รูปที่ 4 ตัวอย่างฐานรากตีนเป็ ด
4.4 ฐานแพ

ฐานแพ ( Raft or mat foundation - หากวางบนเสาเข็ม


อาจเรียกว่าฐานปูพรม) เป็ นฐานร่วมขนาดใหญ่ใช้รบ
ั นำ้าหนักบรรทุกของเสา
หลาย ๆ ต้น โดยจะแผ่บนพื้นที่กว้าง ๆ บางครั้งจะใช้รับนำ้าหนักบรรทุกของเสาทุก
ต้นของอาคารก็ได้ โดยมากแล้วเราจะใช้ฐานแพกับอาคารสูง ข้อดีของฐานราก
ชนิ ดนี้ เมื่อเทียบกับฐานรากเดี่ยวคือ กระจายนำ้าหนักสู่ดน
ิ หรือหินเบื้องล่างได้ดี
กว่า และปั ญหาการทรุดตัวต่างระดับแทบหมดไป เพราะฐานรากชนิ ดนี้ มีความต่อ
เนื่ องกันตลอดโยงยึดกันเป็ นแพ แต่การก่อสร้างจะยุ่งยาก และสิ้นเปลือง รูปที่ 5
แสดงตัวอย่างฐานรากแพ

ก. รับผนังค.ส.ล
ข. รับอาคารบางส่วน หรือทั้งหมด
รูปที่ 5 ตัวอย่างฐานรากแพ
5. เสาเข็ม

เสาเข็ม ( Pile ) อาจทำาด้วยไม้ เหล็ก หรือคอนกรีต เสาเข็มคล้ายคลึงเสาธรรมดาที่เป็ น


ส่วนประกอบหลักของอาคาร เพียงแต่เสาเข็มส่วนใหญ่อยู่ใต้ดิน และมีรายละเอียดดังนี้

5.1 กลไกต้านทานแรง

เสาเข็มมีกำาลัง หรือสามารถรับนำ้าหนักของอาคาร หรือโครงสร้างได้โดย โดยอาศัยกลไก


ดังต่อไปนี้
1.1 ความฝื ด หรือแรงเสียดทาน ( Friction )

เกิดที่ผิวเสาเข็มสัมผัสกับดินที่ล้อมรอบ ดังนั้น กำาลังของเสาเข็มจึงขึ้นอย่ก


ู ับพื้นที่ผว

สัมผัส ซึ้งเป็ นผลเนื่ องจาก รูปร่างหน้าตัดของเสาเข็ม หรือเส้นรอบรูป กับความยาวของ
เสาเข็ม ส่วนใหญ่ในประเทศไทยนิ ยมใช้รูปตัว I เพราะมีเส้นรอบรูป มากกว่าหน้าตัด
รูปอื่น ๆ ซึ่งมีพ้ ืนที่ภาคตัดขวางเท่า ๆ กัน ส่วนรูปตัว Y ปั จจุบันไม่มีผลิตจำาหน่ ายแล้ว
เพราะบอบบางมักเสียหายระหว่างขนส่ง

5.1.2 แรงแบกทานที่ปลายเสาเข็ม

วางสัมผัสบนชั้นดินแข็ง หรือชั้นหินนั้นเรียกการถ่ายแรงเช่นนี้ ว่า แรงแบกทาน


( Bearing ) กำาลังของเสาเข็มประเภทนี้จึงขึ้นอยู่กับพื้นที่ภาคตัดขวาง เสาเข็ม
ประเภทนี้ ส่วนใหญ่จึงมักเป็ นรูปหน้าตัดกลม หรือสี่เหลี่ยม หรือกลม โดยอาจเป็ นหน้าตัด
ทึบตัน ( Solid ) หรือกลวง ( Hollow ) ก็ได้
รูปที่ 6 สาธิตกำาลังของเสาเข็มเนื่ องจากแรงเสียดทาน และแรงแบกทาน และ
นอกเหนื อจากการรับนำ้าหนัก หรือถ่ายนำ้าหนักอาคาร ซึ่งส่วนใหญ่เป็ นนำ้าหนัก
ตามแนวดิ่ง ( Vertical load ) แล้ว เสาเข็มยังอาจต้านทานแรงอื่น
ๆ เช่นแรงเฉือน ( Shear ) หรือแรงดึง ( Tension ) อาทิเช่น ใช้เสา
เข็มต้านทานไม่ให้โครงสร้างล้ม หรือลอยตัว หรือโครงสร้างที่ต้านทานแรงทาง
ด้านข้าง เช่น แรงลม แรงแผ่นดินไหว เป็ นต้น รูปที่ 7 แสดงตัวอย่างเสาเข็มใน
โครงสร้างที่ตา้ นทานแรงทางด้านข้าง

รูปที่ 6 กำาลังของเสาเข็มเนื่ องจากแรงเสียดทาน และแรงแบกทาน


5.2 การจำาแนกเสาเข็มตามวิธีก่อสร้างได้ดง
ั นี้

เสาเข็มอาจจำาแนกตามวิธีก่อสร้างได้ดง
ั นี้

2.1 เสาเข็มตอก ( Driven pile )

เสาเข็มอาจถูกตอกโดยแรงคน เช่นใช้สามเกลอตอกเสาเข็มขนาดเล็ก สำาหรับเข็ม


ุ นำ้าหนัก กระแทก หรือตอกลงบนหัวเข็ม
ขนาดใหญ่ มักตอกโดยใช้ป้ั นจั่น ที่ยกต้ม
อาจใช้เครื่องตอกที่เป็ นกลไกแรงดันไอนำ้าบังคับให้ลก ู ต้ม
ุ วิ่งขึน
้ ลง หรืออาจจะใช้
แรงดันนำ้าอัดด้วยความดันสูงลงไปยังปลายเข็มทำาให้เข็มจมลง ข้อดีของเสาเข็ม
ตอกนี้ ก็คอ
ื ราคาถูกกว่าระบบอื่น และการตอกทำาให้เสาเข็มกับดินที่อยู่ข้างล่างมี
ความแน่ นสามารถ่ายนำ้าหนักได้ดี แต่ข้อเสียก็คอ ื เปลืองเนื้ อที่ในการตอก ระหว่าง
ตอกเกิดเสียงดัง หรือสั่นสะเทือนและอาจมีผลกระทบแก่อาคารข้างเคียง และเสา
เข็มอาจเสียหาย เช่นแตกร้าว บิ่น ระหว่างขนส่งได้
2.2 เสาเข็มเจาะ ( Bored pile )
ทำาโดยเจาะเอาดินออกจนถึงระดับที่ต้องการ โดยกรุหลุมเจาะด้วยปลอกเหล็ก
( Casing ) หรือ สารละลายที่ข้นเหลวคล้ายโคลน ( เช่น
Bentonite ) ป้ องกันดินพัง แล้วใส่เหล็กเสริมเข้าไปในหลุมเจาะ เท
คอนกรีตจนเต็มหลุมเจาะ การเจาะดินอาจใช้สว่านเจาะ หรือใช้วิธีกดปลอกเหล็ก
ลงไปเพื่อขุดดินภายในปลอกเหล็กขึ้นมา อาจจำาแนกเสาเข็มเจาะตามวิธีการทำา
เสาเข็มเจาะเป็ น เสาเข็มเจาะระบบแห้ง ( Dry Process ) เป็ นระบบที่
ใช้ท่ว
ั ไป เหมาะสำาหรับงานก่อสร้างที่มีขนาดไม่ใหญ่ เพราะระบบนี้ มีข้อจำากัดเรื่อง
ความยาวของเสาเข็ม โดยทั่วไปเสาเข็มชนิ ดนี้ มห ี น้าตัดกลมเส้นผ่านศูนย์กลางไม่
เกิน 60 เซนติเมตร และความยาวมักไม่เกิน 30 เมตร เป็ นระบบที่กอ ่ สร้าง
ง่าย เครื่องมือที่ใช้มีเพียงแท่น 3 ขา เครื่องยนต์สำาหรับยกตุ้มตอก ปลอกเหล็ก
ตุ้มเหล็กสำาหรับตอก อีกระบบหนึ่ งคือ เสาเข็มเจาะระบบเปี ยก ( Wet
Process ) เหมาะสำาหรับงานก่อสร้างขนาดใหญ่ เช่น เสาเข็มสำาหรับ
อาคารสูง ระบบนี้ สามารถทำาเสาเข็มที่มีรป
ู หน้าตัดวงกลมเส้นผ่านศูนย์กลางได้
ถึง 150 เซนติเมตร และยาวได้ถึง 60 เมตร จึงต้องใช้เครื่องจักรกลขนาด
ใหญ่ และการทำางานซับซ้อนกว่าระบบแห้ง เช่นต้องมีเครื่องเจาะดินแบบสว่าน
และต้องใช้สารละลาย Bentonite เพื่อกรุป้องกัน
ดินรอบหลุมเจาะพังทลาย เป็ นต้น จึงต้องอาศัยผู้ชำานาญ หรือมีประสบการณ์เฉพาะ
และมีเครื่องจักรกลพร้อม ส่วนเสาเข็มเจาะแบบไมโคร ( Micro Pile )
เป็ นเสาเข็มเจาะขนาดเล็ก เส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 25 เซนติเมตร จะใช้เทคนิ ค
ต่างระบบอื่น ๆ เช่นการเทคอนกรีต จะใช้ท่อเหล็กเสียบไปในหลุมเจาะแล้วเท
คอนกรีต โดยสูบอัด ( Pump ) ลงไปในท่อเหล็กด้วยแรงดันขนาดสูง
( Grouting ) เสาเข็มแบบนี้ จะมีราคาแพงกว่าเสาเข็มเจาะระบบแห้งจึงไม่
ค่อยนิ ยม แต่ดว
้ ยวิธีการก่อสร้างที่ต้องการพื้นที่นอ
้ ย และสะอาดกว่าเสาเข็มเจาะ
ระบบแห้ง จึงเหมาะสำาหรับงานที่มีความจำาเป็ น หรือมีข้อจำากัด เช่นต่อเติม หรือ
ซ่อมแซมอาคาร นอกเหนื อจากที่กล่าวมาข้างต้น ยังมีเสาเข็มเจาะแบบพิเศษ ดัง
ตัวอย่างเช่น Barrette Pile ซึ่งเหมือนกับเสาเข็มเจาะระบบเปี ยก
เพียงแต่ จะมีหน้าตัดเป็ นสี่เหลี่ยม รูปเครื่องหมายบวก

รูปตัว H หรือรูปตัว T ก็ได้ ทั้งนี้ เนื่ องจากใช้เครื่องจักรขุดดินเช่น กระเช้าดักดิน


( Clam shell or grab bucket ) ลักษณะคล้ายก้ามปูตักดิน
ขึ้นมา ขนาดของเสาเข็มแบบนี้ จึงขึ้นอยู่กบ
ั ขนาดของกระเช้าตักดิน สามารถขุดได้ลึก
กว่าเสาเข็มเจาะระบบเปี ยก ข้อได้เปรียบของเสาเข็มเจาะ เมื่อเทียบกับเสาเข็มชนิ ดอื่น
คือ รับนำ้าหนักได้มาก คงทน เลือกความยาวของเสาเข็มได้ตามต้องการ ไม่เสียหาย
เนื่ องจากการยก หรือขนส่ง ( เพราะทำาในที่) แม้อาจส่ง
เสียงดังระหว่างทำางาน แต่อาคารข้างเคียงไม่เสียหายเพราะแรงสั่นสะเทือนดังเช่นเสา
เข็มตอก ส่วนข้อเสียของเสาเข็มชนิ ดนี้ กค
็ ือ ตรวจสอบคุณภาพของคอนกรีตที่เทลงใน
หลุมเจาะยาก มีราคาแพงกว่าเสาเข็มตอก และหากเป็ นระบบเปี ยกขณะทำางานจะ
สกปรก

2.3 เสาเข็มระบบเจาะกด ( Auger Press )

เป็ นเทคโนโลยีคอ ่ นข้างใหม่สำาหรับงานก่อสร้างเสาเข็ม โดยทั่วไป เสาเข็มที่ใช้


ระบบนี้ จะเป็ นเสาเข็มคอนกรีตอัดแรงแบบแรงเหวี่ยง ( Spun Pile ) ซึ่ง
คอนกรีตจะมีความหนาแน่ นสูงกว่าการหล่อแบบธรรมดา เสาเข็มหน้าตัดกลมมีรู
กลวงตรงกลาง จะถูกกดลงไปในดิน โดยเครื่องกดไฮดรอลิคซึ่งติดตั้งอยู่กบ ั รถ
ปั้ นจั่น ในขณะกดเสาเข็มลงไปนั้น สว่านซึ่งใส่อย่ใู นรูเสาเข็มก็จะหมุน และเจาะ
( กว้าน) ดินขึ้นมาตามดอกสว่าน และกดเสาเข็มให้ลงไปแทนที่ดินที่เจาะขึ้นมา
เมื่อเจาะ และกดเสาเข็มจมลงได้ระดับพอสมควร ก็หยุดกด ดึงดอกสว่านออกมา
จากรู แล้วตอกด้วยลูกตุ้มจนได้ระดับที่ต้องการ ข้อดีของเสาเข็มระบบนี้ คือลดแรง
สั่นสะเทือนในการตอก และลดผลกระทบเนื่ องจากการเคลื่อนตัวของชั้นดิน
5.3 การจำาแนกเสาเข็มตามวัสดุ
เสาเข็มอาจจำาแนกตามวัสดุ ดังนี้

.1 เสาเข็มไม้ ( Timber pile )

ใช้มาตั้งแต่สมัยโบราณ ปั จจุบันไม่นิยม เพราะไม้ราคาแพง หายาก ควบคุม


คุณภาพยาก อีกทั้งไม้ผุกร่อน หรือเสื่อมสลายได้ตามกาลเวลา โดยเฉพาะในสภาพ
ที่แห้ง สลับกับเปี ยกชื้น ปกติเสาเข็มไม้ ใช้ไม้เบญจพรรณ ตัดกิ่ง และทุบเปลือก
ออก ตอนตอกเอาด้านปลายลง เสาเข็มไม้ท่ีดต ี ้องมีลำาต้นตรง และต้องให้อย่ใู ต้
ระดับนำ้าตลอดเวลาทุกฤดูกาล เพื่อป้ องกันปลวก หรือมอดทำาลายเนื้ อไม้ได้

.2 เสาเข็มคอนกรีต ( Concrete pile


ปกติแล้วมักจะหล่อเสาเข็มในโรงงานก่อน เมื่อคอนกรีตได้อายุแล้วจึงค่อยขนย้าย
ไปยังสถานที่กอ่ สร้าง หรือกรณีขนย้ายลำาบากอาจหล่อเสาเข็มในบริเวณที่กอ่ สร้าง
้ ยกัน 2 ชนิ ดคือ เสาเข็ม
ได้เลย เสาเข็มคอนกรีตหล่อสำาเร็จมีดว
คอนกรีตเสริมเหล็ก รูปร่างของเสาเข็มประเภทนี้ ขึน
้ อยู่กับการออกแบบ มีเหล็ก
เสริมภายในเสาเข็ม ( Reinforced concrete ) เพื่อกันไม่ให้
เสาเข็มแตกร้าวในขณะขนย้าย หรือตอก อีกประเภทหนึ่ งคือ
เสาเข็มคอนกรีตเสริมลวดเหล็กอัดแรง ( Prestressed
concrete ) รูปร่างขึน
้ อยู่กบ
ั การออกแบบเช่นกัน แต่ข้อดีคอ ื ผลิตได้
ความยาว หรือลึกกว่า และพื้นที่หน้าตัดมักมากกว่าเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก
ธรรมดา ก็คือ สามารถทำาได้ยาวกว่า และมีพ้ ืนที่หน้าตัดเล็กกว่า ปั จจุบันจึงนิ ยม
แพร่หลายในงานก่อสร้าง เสาเข็มประเภทนี้ มีลวดอัดแรง ( คือลวดเหล็กที่
ต้านทานแรงดึงได้สูง อยู่ตามยาว ซึ่งสามารถแยกประเภทตามขึน ้ ตอนการดึงลวด
ได้อีก 2 ประเภท คือ ชนิ ดดึงลวดก่อนแล้วหล่อคอนกรีต ชนิ ดหล่อคอนกรีตก่อน
แล้วค่อยถึงลวดทีหลัง ( ปั จจุบันนิ ยมทำาแบบหลังมากกว่า) การอัดแรงช่วย
ป้ องกันไม่ให้เสาเข็มแตกร้าวเนื่ องจากยก หรือขนส่ง อย่างไรตาม ต้องยกเสาเข็ม
ณ จุดที่ผผ
ู้ ลิตกำาหนดไว้ มิฉะนั้นเสาเข็มอาจแตกร้าว หรือเสียหายได้
3.3 เสาเข็มเหล็ก ( Steel pile

ส่วนใหญ่จะใช้เหล็กรูปตัว H หรือท่อเหล็กกลม เพราะหน้าตัดสมมาตร ตอกง่าย


กว่าชนิ ดอื่น ๆ สามารถตอกทะลุช้น ั หินบางได้ และรับนำ้าหนักบรรทุกได้มากกว่ารูป
อื่น ๆ ข้อเสียของเสาเข็มเหล็กก็คือ มีราคาแพง ความเสียดทานระหว่างผิวเสาเข็ม
เหล็ก และดินด้อยกว่าเสาเข็มคอนกรีต ( เพราะเส้นรอบรูป หรือพื้นที่ผิวของเสาเข็ม
เหล็กมักจะน้อย และผิวเหล็กลื่นกว่าคอนกรีต) และอาจถูกกัดกร่อนได้ง่าย อาจ
ป้ องกันการกัดกร่อน โดย ป้ องกันส่วนที่ฝังอย่ใู นชั้นดินที่ถูกรบกวน เช่น มีน้ ำาขึ้น
นำ้าลง หรือเปี ยก ๆ แห้ง ๆ ด้วยการเทคอนกรีตหุ้ม หรือ ทายางมะตอย อีกวิธีหนึ่ ง
โดยเผื่อความหนาของเหล็กเพิ่มขึ้น หรือชุบสังกะสีเพื่อป้ องกันสนิ มก็ได้
6. ตอม่อ หรือเสา

ตอม่อ ( Pier or Pedestal ) เป็ นองค์อาคารที่ตา ้ นทานนำ้าหนัก หรือแรงใน


แนวดิ่งเหมือนกับเสา ( Column ) โดยทั่วไปนั่นเอง สำาหรับอาคารทั่วไป ตอม่อจะเป็ น
ส่วนต่อของเสากับฐานราก หรือเป็ นส่วนของเสาที่อยู่ใต้ดน ิ เพื่อถ่ายนำ้าหนักจากเสาลงสู่
ฐานราก สำาหรับอาคารบางประเภท เช่น สะพาน จะเรียกส่วนของเสาที่เห็นพ้นดินว่า
ตอม่อด้วยเช่นกัน ซึ่งตอม่อเหล่า อาจมีรูปหน้าตัดเป็ นสี่เหลี่ยมจัตรุ ัส สี่เหลี่ยมผืนผ้า กลม
หรืออาจมีรูปหน้าตัดที่แปลกแตกต่างจากที่กล่าวก็เป็ นได้

เสา ( Column ) เป็ นส่วนประกอบที่ต่อขึ้นมาจากฐานราก ส่วนใหญ่ต้ังใน


แนวดิ่ง อาจมีหน้าตัดกลม สี่เหลี่ยม หรืออื่น ๆ โดยวัสดุท่ีใช้ทำาเสาอาจเป็ น
คอนกรีต เหล็ก ไม้ หรือผสมก็ได้ เช่นคอนกรีต และเหล็กรูปพรรณเสาถ่ายนำ้า
หนักบรรทุกตั้งแต่ช้น
ั หลังคาของอาคารลงสู่ฐานราก โดยเสาจะเชื่อมต่อกับคาน
ถ่ายนำ้าหนักบรรทุกจากคาน ลงสู่ฐานราก
เสาอาจจำาแนกตามประเภทวัสดุได้แก่ เสาไม้ ใช้มากในอดีต เนื่ องจากไม้เป็ นวัสดุ
ที่แข็งแรงพอควร หาง่าย ราคาไม่แพง แต่ปัจจุบันลดความนิ ยม เพราะราคาแพง
หาขนาดที่ตอ ้ งการได้ยากขึ้น โดยเฉพาะเสาซึ่งต้องการไม้ขนาดลำาต้นค่อนข้าง
ใหญ่ ต้องเป็ นไม้เนื้ อแข็ง มีตำาหนิ นอ
้ ย อย่างไรก็ตามเสาไม้มีข้อด้อยเรื่องความทน
ไฟ และการพุพัง หรือเสื่อมสลายเนื่ องจากความขึ้น มด ปลวก หรือแมลงอื่น

เสาเหล็ก แข็งแรงทนทานกว่าเสาไม้ สามารถสั่งซื้อขนาดมาตรฐานต่าง ๆ ได้


เหล็กแข็งแรง ทนทาน นำ้าหนักเบา ก่อสร้างง่าย รวดเร็ว แต่ก็ยังมีปัญหาเรื่อง
สนิ ม และความทนไฟ จึงอาจต้องห้ม ุ ด้วยคอนกรีต หรือทาสีกนั สนิ มทับ นอกจาก
นั้นเสาเหล็กจะต้องออกแบบรอยต่อให้ดี ไม่ว่าจะต่อกับโครงสร้างชนิ ดใด ไม่ว่าจะ
โดยวิธีเชื่อม หรือใช้สลักเกลียว มิเช่นนั้นโครงสร้าง หรืออาคารไม่แข็งแรง จน
กระทั่งวิบัติได้
เสาคอนกรีต นิ ยมใช้มากที่สุดในปั จจุบัน เนื่ องจากสามารถหล่อขึ้นรูปต่าง ๆ
เช่น อาจเป็ นเสากลม หรือเหลี่ยมได้ตามที่ตอ ้ งการโดยทั่วไปนิ ยมหล่อเสา
คอนกรีตหน้าตัดสี่เหลี่ยมเนื่ องจากทำาแบบหล่อง่ายกว่า ส่วนหน้าตัดกลมต้อง
ใช้แบบหล่อพิเศษ เสาคอนกรีตจะเสริมยืน ( ที่มุม หรือรอบ ๆ หน้าตัด และ
ตลอดความยาวเสา) เพื่อช่วยต้านทานนำ้าหนัก หรือแรง และเหล็กปลอกอาจ
เป็ นวงเดี่ยว ๆ ( เหล็กปลอกเดี่ยว) หรือเหล็กปลอกที่พันต่อเนื่ องเป็ นเกลียว
รอบ ๆ เหล็กยืน โดยเหล็กปลอกจะช่วยต้านทานการวิบัติ เช่น แตกปริ หรือ
ระเบิดทางด้านข้าง รูปที่ 9 แสดงตัวอย่างหน้าตัดเสาไม้ และเสาเหล็กแบบ
ต่าง ๆ รูปที่ 10 แสดงตัวอย่างเสา ค. ส. ล. รูปตัดต่าง ๆ และรูปที่ 11
แสดงตัวอย่างเสาตอม่อของสะพาน และรูปที่ 12 แสดงการแตก หรือพัง
ทลายของเสาปลอกเดี่ยว หรือเสาปลอกเกลียว
7. คาน

คาน ( Beam ) เป็ นองค์อาคารที่มักจะอยู่ในแนวราบ เชื่อมต่อกับองค์อาคารในแนวตั้ง


เช่นเสา หรือผนัง โดยมีรายละเอียดดังนี้

7.1 นำ้าหนักบรรทุก

ปกติคานจะรับนำ้าหนักตัวมันเอง และนำ้าหนักพื้นที่วางบนคานนั้น รวมเรียกว่า


นำ้าหนักของโครงสร้าง ( Self weight or structural
dead load ) นอกจากนั้นยังรับนำ้าหนักที่บรรทุกอยู่บนแผ่นพื้น หรือ
คานอย่างค่อนข้างคงที่ หรือถาวร ( Permanent ) เรียก นำ้าหนักคงที่
ส่วนเพิ่ม ( Super - imposed dead load ) ตัวอย่างเช่นผนัง
ฝ้ าเพดาน กระเบื้อง หรือวัสดุตกแต่งพื้น เป็ นต้น นอกจากนั้นยังมีน้ ำาหนักจร
( Live load ) ที่บรรทุกบนแผ่นพื้น และถ่ายลงสู่คาน เช่น น้ไหนักผู้อยู่
อาศัย สัมภาระ นำ้าหนักยวดยานพาหนะ เป็ นต้น
7.2 รูปหน้าตัด

ปกติคานมีรูปหน้าตัดสี่เหลี่ยมผืนผ้า เพราะคำานวณออกแบบง่าย ก่อสร้างง่าย


ประหยัด แต่หากมีความจำาเป็ น หรือในเชิงปฏิบัติ คานอาจมีรูปหน้าตัดเป็ นอื่นได้
เช่นคานรูปตัวที ( Tee beam ) ซึ่งอาจเกิดจากความตั้งใจที่จะออกแบบ
หรือก่อสร้างให้คานนั้นมีรูปเป็ นตัวที หรืออาจเกิดในกรณีท่ค ี านหน้าตัดรูป
สี่เหลี่ยมผืนผ้ารองรับพื้น ค. ส. ล. หล่อเป็ นเนื้ อเดียวกัน
( Monolithic ) ทำาให้สามารถหรือพิจารณา หรือผนวกส่วนหนึ่งของ
แผ่นพื้นเป็ นเสมือนปี ก ( Flange ) ของตัวที หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ งว่า ได้คิด
พื้นที่ส่วนหนึ่ งของพื้นมาผนวกเข้ากับคานสี่เหลี่ยมผืนผ้านั้น ในการวิเคราะห์
โครงสร้างจะทำาให้คานมีความแข็งแกร่ง เพิ่มมากขึ้นกว่าเดิมเมื่อเทียบกับรูปตัด
สี่เหลี่ยมผืนผ้าธรรมดา ทำาให้กำาลังต้านทานแรงเพิ่มมากขึ้น

7.3 วัสดุท่ใี ช้ทำาคาน

คานอาจทำาด้วยไม้ เหล็ก คอนกรีตเสริมเหล็ก หรือคอนกรีตเสริมลวดอัดแรง ขึน


้ อยู่กับ
ปั จจัย หรือเหตุผลหลายประการเช่น ช่วงความยาว ( Span ) นำ้าหนักบรรทุก หรือ
แรงที่กระทำาต่อคาน ความประหยัด หรือเหตุผลทางสถาปั ตยกรรมที่ตอ้ งการแสดง เนื้ อ
วัสดุให้แสดงเป็ นรูปลักษณ์ของอาคาร
คานไม้ มักใช้ประกอบกับระบบพื้น และตงไม้ โดยสมัยโบราณ ตัวคานมักจะวางฝากอยู่
กับเสาไม้ ยึดด้วยลิ่ม หรือบากไม้ให้เข้ามุมกัน ปั จจุบันอาจใช้ตะปู ยึดด้วยสลักเกลียว
แหวน หรืออุปกรณ์อ่ ืน ๆ โดยคานจะรองรับตง ( Joist ) และตงรองรับพื้นไม้
กระดาน ตามลำาดับ คานไม้อาจวาง หรือฝากกับเสาคอนกรีต หรือเสาเหล็กก็ได้
คานเหล็ก นิ ยมใช้ในอาคารขนาดใหญ่ หรืออาคารที่ต้องการลดระยะเวลาก่อสร้าง หรือ
ต้องการให้โครงสร้างโดยรวมมีน้ ำาหนักเบากว่าใช้คอนกรีตเสริมเหล็ก ไม่นิยมใช้กับ
อาคารขนาดเล็ก เพราะราคาจะค่อนข้างแพง อีกทั้งต้องออกแบบจุดต่ออย่างพิถพ ี ิถน
ั ให้
มั่นคงแข็งแรง และต้องป้ องกันอัคคีภยั คานเหล็กใช้เหล็กรูปพรรณชนิ ดรีดร้อน
( Hot - rolled steel ) หรือเหล็กรีดเย็น ( Cold work
steel ) ตามความจำาเป็ น คานเหล็กอาจใช้ประกอบกับเสาเหล็ก หรือเสา
คอนกรีต คานเหล็กอาจใช้รองรับตงไม้ หรือตงเหล็ก อีกนัยหนึ่ ง คานเหล็กอาจรองรับ
พื้นเหล็ก พื้นคอนกรีต หรือระบบพื้นไม้ก็ได้
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก ส่วนใหญ่หล่อในที่ โดยยื่นเหล็กเสริมเข้าไปในเสา
คอนกรีตเพื่อยึด หรือถ่ายนำ้าหนัก โดยทั่วไปไม่ใช้คานคอนกรีตกับเสาเหล็ก
หรือเสาไม้ เนื่ องจากทำาการเชื่อมต่อ หรือยึดกันได้ยาก ดังนั้นคาน
คอนกรีตเสริมเหล็กมักใช้ร่วมกับเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก แต่คาน
คอนกรีตเสริมเหล็ก ใช้รว ่ มกับระบบพื้นได้แทบทุกชนิ ด เช่น พื้นคอนกรีต ( ทั้ง
แผ่นพื้นสำาเร็จรูป หรือแผ่นพื้นหล่อในที่) พื้นเหล็ก หรือแม้แต่พ้ ืนไม้
คานคอนกรีตอัดแรง มีหลักการคล้ายคลึงกับคานคอนกรีตเสริมเหล็ก แต่เสริม
ลวดอัดแรง ( Prestressing wire or tendon )
ทำาให้มีกำาลังต้านทานแรงมากขึ้น จึงเหมาะกับโครงสร้างขนาดใหญ่เช่นคาน
สะพาน ( Girder )
นอกจากที่ได้กล่าวมาแล้ว ยังมีคานประกอบ ( Composite beam )
ซึ่งใช้วัสดุมากกว่าชนิ ดเดียว เช่นใช้คานเหล็กรูปพรรณประกอบกับคอนกรีต
หรือเหล็กกับไม้ มักพบเฉพาะในอาคาร หรือโครงสร้างที่ใช้วัสดุหลายชนิ ดผสม
ผสานกัน
7.4 การจำาแนกคานในเชิงวิศวกรรม

ในทางวิศวกรรมจำาแนกคานตามลักษณะที่รองรับ ( Support - ตัวอย่างที่


รองรับคานได้แก่เสา หรือผนัง ค. ส. ล.) ได้แก่คานช่วงเดียว ( มีท่ีรองรับ 2 แห่งที่
ปลายทั้งสอง - Simply support or simple beam )
คานต่อเนื่ อง ( Continuous beam ) มีสองช่วงขึ้นไป และคานยื่น
( Cantilever beam ) ปลายหนึ่งยึดกับที่รองรับ และอีกปลายหนึ่งยื่น
ี ำาแนกเป็ น 3 ประเภทเพราะเมื่อคานเหล่านี้ รับ
อย่างอิสระปราศจากที่รองรับ เหตุท่จ
นำ้าหนัก หรือแรง จะถูกดัด (Bend) ทำาให้เกิดแรงในคาน และคานโก่งตัวใน
ลักษณะที่แตกต่างกัน
อนึ่ ง การบอกความยาวช่วงคานปกติมี 2 วิธี คือบอกระยะระหว่างศูนย์กลางที่รองรับ
รูปที่ 13 แสดงรูปหน้าตัดคาน และวัสดุท่ใี ช้ทำาคาน ( คานไม้ คานเหล็ก คาน
คอนกรีตเสริมเหล็ก) รูปที่ 14 แสดงตัวอย่างคานคอนกรีตอัดแรง รูปที่ 15
แสดงการจำาแนกคานในเชิงวิศวกรรม ( คานช่วงเดียว คานยื่น และคานต่อเนื่ อง)
8. แผ่นพื้น

แผ่นพื้นเป็ นองค์อาคารที่มักจะอยู่ในแนวราบ มีลักษณะเป็ นแผ่นบาง ใช้บรรทุก


นำ้าหนักตัวมันเอง นำ้าหนักวัสดุตกแต่ง ตลอดจนนำ้าหนักบรรทุกจร เช่นผู้อยู่อาศัย
ยวดยานพาหนะ ( กรณีพ้ ืนอาคารจอดรถ หรือสะพาน) และถ่ายนำ้าหนักลงสู่
คานรองรับซึ่งอยู่ท่ีขอบ หรือโดยรอบพื้นนั้น อย่างไรก็ตามแผ่นพื้นอาจจำาแนก
ตามวัสดุ วิธีก่อสร้าง หรือการรับแรงในเชิงวิศวกรรม ดังนี้

8.1 ระบบพื้นและตงไม้

พื้นไม้ปกติจะใช้กระดานไม้ ( Plank ) แผ่นบาง ๆ จึงต้องแบ่งกระจายนำ้าหนัก


อย่างสมำ่าเสมอผ่านตงที่วางเรียงกันค่อนข้างถี่ ดังนั้น ตงก็คือคานซอย หรือคาน
ู นคานหลัก ขนาดของตง หรือระยะที่วางเรียงจะขึ้นกับนำ้าหนัก
ย่อย ๆ ที่วางอย่บ
บรรทุก และชนิ ดของไม้ท่ีใช้ พื้นไม้วางบนตงปกติจะยึดด้วยตะปู รูปที่ 16 แสดง
ตัวอย่างระบบพื้นและตงไม้
2.8.1 แผ่นพื้นคอนกรีตหล่อในที่

แผ่นพื้นคอนกรีตหล่อในที่ ( Cast in place slab ) จะต้องตั้งแบบ


พื้น ผูกเหล็กเสริมแล้วจึงเทคอนกรีตพร้อมกับส่วนบนของคานที่อยู่รอบ ๆ เพื่อให้พ้ ืน
เป็ นผืนเดียวกับคาน และต้องคำ้ายันแบบเพื่อรับนำ้าหนักพื้นก่อนที่พ้ ืนคอนกรีตแข็งตัว
และรับนำ้าหนักได้ เมื่อถอดแบบแล้วอาจฉาบปูนทาสีใต้ท้องพื้นเพื่อความสวยงาม หรือ
อาจติดฝ้ าเพดาน ซึ่งฝ้ าเพดาน หรือสิ่งยึดเกาะอื่น ๆ เช่นท่อนำ้า ท่อระบบปรับอากาศ
ต่างก็เป็ นนำ้าหนักบรรทุกที่แขวน หรือยึดกับแผ่นพื้น ความหนา หรือเหล็กเสริมของพื้น
ู ับความกว้าง ความยาวของพื้น และนำ้าหนักบรรทุก แผ่นพื้นหล่อในที่ แบ่งเป็ น
ขึ้นอย่ก
ประเภทย่อย ๆ ดัง
.1 แผ่นพื้นทางเดียว ( One - way slab
มีช่วงสั้น หรือสัดส่วนความยาวต่อความกว้างของแผ่นพื้นมาก ก็จะกระจายนำ้า
หนักในทิศทางเดียว คือกระจายนำ้าหนักลงยังที่รองรับสองด้านซึ่งรองรับพื้นใน
ช่วงสั้น วางบนคานแบบทางเดียว ( รูปที่ 17 ) อนึ่ ง หากแผ่นพื้นทางเดียว
หลายแถบวางต่อเนื่ องกัน แผ่นพื้นทางเดียวเช่นว่านั้น ก็จะเป็ นเสมือนแผ่นพื้นต่อ
เนื่ อง ( ดูเรื่องถัดไป)

1.2 แผ่นพื้นสองทาง ( Two - way Slab )


สัดส่วนด้านกว้างยาวพอ ๆ กัน หรือแตกต่างกันไม่มาก ดังนั้น นำ้าหนักบรรทุกจะ
กระจายสองทิศทาง ( รูปที่ 18 )

3 แผ่นพื้นยื่น ( Cantilever slab )


มีท่ีรองรับดานเดียว อีกปลายหนึ่ งอิสระปราศจากที่รองรับ ปกติมักพบเห็นแผ่นพื้นยื่นเป็ น
ชายคาหรือกันสาด ( รูปที่ 19 )
1.4 แผ่นพื้นไร้คาน ( Flat plate )

เป็ นแผ่นพื้นสองทางชนิ ดหนึ่ ง เพียงแต่คานมีความหนาเท่ากับแผ่นพื้น หรืออีกนัย


หนึ่ งคือแถบแผ่นพื้นซึ่งเชื่อมต่อระหว่างที่รองรับ เช่นเสา ถือเสมือนเป็ นคาน แผ่น
พื้นไร้คานอาจเป็ นคอนกรีตเสริมเหล็ก หรืออาจเป็ นคอนกรีตอัดแรงหล่อในที่
( Post - Tensioned ) โดยลวดจะร้อยอยู่ในตัวพื้น เหลือปลายลวดไว้ท่ี
ด้านข้างของพื้นสำาหรับดึงให้ตง ึ แล้วตัดลวด เพื่อให้ลวดนั้นอัดพื้น ทำาให้พ้ ืนรับนำ้า
หนักได้มากขึ้นในขณะที่ความหนาของพื้นไม่มากนัก นำ้าหนักโดยรวมของพื้นน้อย
ลง ซึ่งจะส่งผลให้ขนาดโครงสร้างอื่น ๆ ลดลงด้วย เป็ นระบบที่กอ ่ สร้างได้รวดเร็ว
นิ ยมใช้กับอาคารขนาดใหญ่

บางครั้งอาจจำาเป็ นต้องเพิ่มความหนาของแผ่นพื้นไร้คานที่บริเวณหัวเสา เพื่อเพิ่ม


กำาลังต้านทานแรง ( และป้ องกันมิให้แผ่นพื้นถูกเฉือนจนแตกทะลุรอบ ๆ หัวเสา)
เรียกความหนาส่วนเพิ่มนี้ ว่า แป้ นหัวเสา ( Drop panel ) หากบริเวณหัว
เสาที่รองรับแผ่นพื้น หรือแป้ นหัวเสาขยายขนาดให้โตขึ้น เรียกว่า หมวกเสา
( Capital ) รูปที่ 20 ก และ 20 ข แสดงตัวอย่างแผ่นพื้นไร้คาน ชนิดแผ่น
เรียบ หรือมีแป้ นหัวเสา หรือหมวกเสา อนึ่ ง พื้นระบบนี้ ไม่นิยมใช้ในอาคารขนาดเล็ก
หรือที่พักอาศัย เนื่ องจากมีราคาแพงกว่าแบบแรก มักใช้ในอาคารที่ต้องการจำานวน
ชั้นมาก ๆ ไม่ต้องการให้มีคานเกะกะ เช่นอาคารจอดรถเป็ นต้น
รูปที่ 20 ตัวอย่างแผ่นพื้นไร้คาน ชนิ ดแผ่นเรียบ หรือมีแป้ นหัวเสา หรือหมวกเสา
1.5 แผ่นพื้นระบบกระทงทางเดียว ( One - way joist )
ประกอบด้วยแผ่นพื้นทางเดียวหลายผืนต่อเนื่ องกัน หล่อเป็ นเนื้ อเดียวกับคาน หรือ
วางบนคานสำาเร็จรูป ( เช่นกรณีของสะพาน) หรือเกิดจากการเอาคานรูปตัวทีมา
วางเรียงให้ปีกคานชิดติดกันแล้วหล่อคอนกรีตพื้น ( Topping ) ให้เป็ นผืนต่อ
เนื่ องกัน ( ดูเรื่องถัดไป) รูปที่ 21 แสดงตัวอย่างแผ่นพื้นกระทงทางเดียว

รูปที่ 21 ตัวอย่างแผ่นพื้นกระทงทางเดียว
.1.6 แผ่นพื้นกระทงสองทาง ( Waffle slab )
เป็ นแผ่นพื้นสองทางที่มีขนาดใหญ่ มาก ๆ ดังนั้น ภายในแผ่นพื้น ( ภายในแผ่นพื้น
ซึ่งรองรับด้วยคานหลักที่เชื่อมยึดระหว่างหัวเสา) จึงแบ่งซอยเป็ นคานย่อย ๆ ทั้ง
สองทิศทาง จึงแลดูเสมือนประกอบด้วยแผ่นพื้นสองทางเล็ก ๆ หลายผืน แผ่นพื้น
ชนิ ดนี้ แม้จะใช้ได้กบ
ั อาคารที่มีช่วงระหว่างเสาห่างมาก ๆ แต่กก
็ ่อสร้างย่ง
ุ ยาก โดย
เฉพาะต้องเตรียมไม้แบบ ซับซ้อนตามรูปร่างของแผ่นพื้น และอาจมีปัญหายุ่งยาก
ในเรื่องวิศวกรรมระบบ เช่น การติดตั้งดวงโคมไฟฟ้ า การเดินสายไฟ หรือท่อนำ้า
ดับเพลิงเป็ นต้น รูปที่ 22 แสดงตัวอย่างแผ่นพื้นกระทงสองทาง
8.2 ระบบแผ่นพื้นกึ่งสำาเร็จ

ะบบแผ่นพื้นกึง่ สำาเร็จประกอบด้วยส่วนที่ผลิตจากโรงงาน ยกมาติดตั้ง หรือวางบนคาน


ล้วเสริมเหล็ก เทคอนกรีตทับหน้า ( Topping ) เพื่อให้เป็ นผืนเดียวกัน จำาแนกเป็ นประเภ
อยได้ดงั นี้

8.2.1 ระบบแผ่นพื้นคอนกรีตหล่อสำาเร็จ หรือแผ่นพื้นสำาเร็จรูปอัดแรง


ชนิ ดแผ่นเรียบ ( Precast Plank )

รูปหน้าตัดสี่เหลี่ยมทึบตัน เสริมลวดอัดแรง ความหนาจึงไม่มากนัก นิ ยมใช้ โดย


เฉพาะอาคารขนาดเล็ก หรือที่พักอาศัย เพราะมีลก ั ษณะเหมือนแผ่นกระดานที่
สามารถวางพาดบนคานเรียงกัน โดยไม่ต้องใช้ไม้แบบ ผูกเหล็กเสริมกันร้าว
และเทคอนกรีตทับหน้าได้ทันที และใช้ค้ ำายันเท่าที่จำาเป็ นตามคำาแนะนำาของผู้
ผลิต เช่นที่กึ่งกลางของช่วงพื้นเท่านั้น พื้นชนิ ดนี้ คือใต้ทอ
้ งพื้นจะเรียบจึงไม่จำา
ต้องฉาบแต่งผิว หรือทำาฝ้ าปิ ด รูปที่ 23 แสดงตัวอย่าง ระบบพื้น
คอนกรีตอัดแรงสำาเร็จรูปชนิ ดแผ่นเรียบ อนึ่ ง แผ่นพื้นชนิ ดนี้ เมื่อช่วงยาวขึ้น หรือ
มีความหนาเพิ่มขึ้น ผู้ผลิตก็อาจทำาให้แกนกลางตามยาวของแผ่นพื้นกลวง
( Hollow core Slab ) เพื่อลดทอนนำ้าหนักของแผ่นพื้นนั่นเอง
8.2.2 ระบบแผ่นพื้นกึง
่ สำาเร็จรูปชนิ ดตงคอนกรีตอัดแรง

แผ่นพื้นชนิ ดนี้ ใช้ตงคอนกรีตอัดแรงสำาเร็จรูปมาพาดบนคานแล้วประกอบไม้แบบที่


ช่องว่างระหว่างตง เสริมเหล็ก และเทคอนกรีต วิธีน้ี จะก่อสร้างง่ายกว่าระบบพื้น
คอนกรีตเสริมเหล็กธรรมดา เพราะสามารถตั้งแบบกับตงสำาเร็จรูป ดังนั้นไม่ต้องใช้
แบบและคำ้ายันมากเท่ากับระบบพื้นคอนกรีตทั่วไป ตงสำาเร็จรูปชนิ ดนี้ จะมีรูสำาหรับ
่ ยนิ ยมใช้ รูปที่ 24 แสดง
เสียบสลักที่ใช้ไว้สำาหรับรับแบบไม้ในตัว ปั จจุบันไม่คอ
ตัวอย่างระบบแผ่นพื้นกึง ่ สำาเร็จรูปชนิ ดตงคอนกรีตอัดแรง
8.2.3 ระบบแผ่นพื้นคอนกรีตสำาเร็จรูปชนิ ดหน้าตัดรูปตัวที

แผ่นพื้นชนิ ดใช้ปริมาณคอนกรีตน้อย และแอ่นตัวน้อย ก่อสร้างได้รวดเร็วโดย


การนำามาวางพาดกับคานเรียงชิดติดกัน เสริมเหล็ก และเทคอนกรีตทับหน้าเพื่อ
ให้เป็ นแผ่นพื้นเดียวกัน แต่ตอ ้ งระมัดระวังขณะก่อสร้างเพราะแผ่นพื้นที่วางบน
คานนั้นอาจพลิกตัวได้ง่ายก่อนที่จะเทคอนกรีตทับ ข้อเสียของพื้นระบบนี้ คือ ด้านใต้
พื้น หากไม่มฝี ้ าปิ ด มักเป็ นอุปสรรคต่อการติดตั้งดวงโคมไฟฟ้ า หรือระบบส่อง
สว่าง และท่อของวิศวกรรมงานระบบต่าง ๆ รูปที่ 25 แสดงตัวอย่างแผ่นพื้น
สำาเร็จรูปหน้าตัดรูปตัวที
8.2.4 ระบบแผ่นพื้นคอนกรีตบล็อกและตงรูปทีควำ่า

พื้นชนิ ดนี้ ใช้ตงคอนกรีตรูปตัวทีควำ่าวางพาดบนคานตามระยะที่กำาหนด และใช้


คอนกรีตบล็อคชนิ ดกลวงวางเรียงระหว่างตงดังกล่าวจนเต็ม เสริมเหล็ก และเท
คอนกรีตทับหน้า เดิมพื้นชนิ ดนี้ ใช้ในอาคารขนาดเล็ก และที่พักอาศัย เพราะ
ก่อสร้างได้รวดเร็ว ข้อเสียคือนำ้าอาจรั่วซึมได้ง่าย และรับนำ้าหนักได้น้อยกว่าพื้น
สำาเร็จระบบอื่น ๆ เนื่ องจากคอนกรีตบล็อคนั้นเป็ นเพียงแบบหล่อคอนกรีตถาวร
เท่านั้น มิได้มีส่วนช่วยรับนำ้าหนักใด ๆ ( ขณะที่เฉพาะตงรูปตัวทีควำ่ารับนำ้าหนัก
บรรทุก) ดังนั้น หากฉาบปิ ดใต้ทอ ้ งพื้นไปแล้ว อาจไม่ทราบตำาแหน่ ง หรือแนว
ของตงรูปตัวทีควำ่า จะหาตำาแหน่ งแขวนยึดสิ่งที่มีน้ ำาหนักมากได้ลำาบาก ปั จจุบันพื้น
ชนิ ดนี้ เสื่อมความนิ ยมลงไป เพราะมีขอ ้ ด้อยกว่าแผ่นพื้นชนิ ดเรียบในเกือบทุกด้าน
รูปท26 แสดงตัวอย่างแผ่นพื้นแผ่นพื้นคอนกรีตบล็อกและตงรูปทีควำ่า
ระบบพื้นคอนกรีตแผ่นพื้นเหล็ก ( Composite Metal Deck )
แผ่นพื้นชนิ ดนี้ ยังหล่อในที่ โดยใช้แผ่นเหล็กพับขึ้นรูปเป็ นลอนลักษณะต่าง ๆ ที่ผลิต
จากโรงงาน แผ่นเหล็กที่วางพาดบนคานจะต้องมีหัวหมุดเหล็ก ( Shear
stud ) ยึดเป็ นระยะ ๆ และแผ่นเหล็กนี้จะเป็ นทั้งแบบ และเหล็กเสริมไปในตัว ดัง
นั้นเหล็กเสริมจะลดน้อยลงกว่าแผ่นพื้นระบบอื่น ๆ ( แต่ยังคงต้องเสริมเหล็ก เช่นเพื่อ
กันร้าว) แผ่นเหล็กจะเป็ นทั้งไม้แบบ และฝ้ าเพดานสำาหรับชั้นใต้พ้ ืนนั้นไปในตัวด้วย
อย่างไรก็ตามจะต้องป้ องกันเหล็กไม่ให้เป็ นสนิ ม และต้องกันไฟด้วย พื้นชนิ ดนี้ ค่อน
ข้างเบา และก่อสร้างรวดเร็ว แต่จะมีราคาค่อนข้างแพง มักใช้ประกอบกับโครงสร้าง
เหล็กเช่นวางบนคานเหล็กเป็ นต้น
8.3 พื้นเหล็ก

พื้นเหล็ก ( Steel deck ) ประกอบด้วยระบบตงเหล็ก วางบนคานเหล็ก


หรือคานคอนกรีต แล้วปูปิดทับด้วยแผ่นเหล็กผิวเรียบ หรือผิวมีลวดลายผลิตจาก
โรงงาน ไม่นิยมนัก เนื่ องมีราคาค่อนข้างแพง และเช่นเดียวกับโครงสร้างเหล็กอื่น ๆ
ที่ต้องใช้ฝีมือแรงงานในการประกอบหรือเชื่อมต่อส่วนประกอบต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ข้อ
ด้อยของพื้นเหล็กได้แก่ ลื่น เสียงดัง ทำาความสะอาดยาก และมีปัญหาเรื่องสนิ ม จึง
มักใช้ในโรงงานอุตหสาหกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่ไม่ได้รับนำ้าหนักบรรทุก
มากนัก เช่นสะพานทางเดินในโกดังเก็บสินค้า หรือชั้นลอยต่าง ๆ อาจใช้พ้ ืนแบบ
โปร่งที่ถักเป็ นตารางคล้ายฝาตะแกรง เพื่อให้น้ ำาหนักเบา บางกรณีอาจต้องเคลือบ
หรือทับผิวหน้าด้วยวัสดุอ่ ืน เพื่อลดข้อด้อยดังกล่าวข้างต้น
9. บันได

บันได ( Staircase ) เป็ นองค์อาคารที่เชื่อมต่อระหว่างชั้นเช่นเดียวกับ


เสา มีลักษณะคล้ายคลึงกับแผ่นพื้น ส่วนใหญ่จึงออกแบบเสมือนเป็ นแผ่นพื้นที่
พาดอยู่ระหว่าง 2 ชั้น หรือกล่าวได้ว่าในเชิงวิศวกรรม บันไดก็คือแผ่นพื้น
นั่นเอง บันไดอาจทำาได้หลายรูปแบบ บันไดอาจมี หรือไม่มีชานพัก
( Landing ) ก็ได้ขึ้นกับการออกแบบตามความจำาเป็ น และประโยชน์
ใช้สอย สำาหรับบันไดตอนกรีตเสริมเหล็ก บันไดทั่วไปแบบง่ายที่สุดเปรียบ
เสมือนพื้น หรือคานซึ่งถ่ายนำ้าหนักลงคานที่รองรับที่ปลายพื้นของแต่ละชั้นหรือ
บางกรณี อาจมีคานรองรับที่ชานพัก) บันไดประเภทนี้ อาจมีทอ ้ งเรียบ หรือ
เป็ นลักษณะพับผ้า คือท้องบันไดพับเป็ นขั้น ๆ คล้ายด้านบน ดังแสดงในรูปที่
28
บันไดบางชนิ ดมีคานแม่บันไดขนาบทั้งสองข้างต่อเนื่ องควบคู่ไปกับตัวบันได ( รูปที่
29 ) พื้นบันไดจึงเสมือนเป็ นแผ่นพื้นทางเดียวที่รองรับด้วยคานแม่บันไดซึ่งขนาบ
ทั้งสองข้าง คานแม่บันไดนี้ อาจออกแบบให้บาง และลึก เป็ นเสมือนแผงกันตก หรือ
ราวบันไดในตัว บันไดประเภทนี้ อาจมีท้องเรียบ หรือเป็ นลักษณะพับผ้า
บันไดบางชนิ ดคล้ายพื้น หรือคานที่ย่ น ื ออกมาจากคานแม่บันไดที่รองรับด้านใด
ั บันไดนั้น ( รูปที่ 30 ก และ 30 ข ตามลำาดับ) โดย
ด้านหนึ่ ง หรือรองรับใต้ตว
คานที่รองรับดังกล่าวนี้ จะยาวต่อเนื่ องควบค่ไู ปกับตัวบันได บันไดบางชนิ ดเป็ น
คล้ายพื้น หรือคานยื่นออกมาจากผนังคอนกรีตเสริมเหล็ก ( เช่นผนังปล่องลิฟท์ -
รูปที่ 30 ค) บันไดประเภทนี้ อาจมีทอ ้ งเรียบ หรือพับผ้า

ข. ยื่นสองด้านจากคานแม่บันได ค. ยื่นจากผนัง

รูปที่ 30 บันไดยื่น รูปที่ 31 ตัวอย่างบันไดชานพักลอย


สำาหรับบันไดวน หรือบันไดเวียน หรือบันไดโค้งต่าง ๆ อาจมีคานขนาบทั้งสองข้าง
ตลอดระหว่างชั้น หรืออาจมีคานเพียงตัวเดียวรองรับข้างใต้บันได หรืออาจปราศจาก
คาน โดยออกแบบให้ตว ั บันไดทั้งชิน
้ เป็ นเสมือนคาน นั่นเอง บันไดประเภทนี้ อาจมีทอ
้ ง
เรียบ หรือพับผ้า รูปที่ 32 แสดงตัวอย่างบันไดเวียนวน หรือบันไดเวียน

ส่วนบันไดไม้ และเหล็ก ปกติมักเป็ นระบบคานแม่บันไดพาด แล้วทำาลูกขั้นด้วยไม้ หรือเหล็ก


ตามแต่กรณี
10 . หลังคา

หลังคาเป็ นส่วนประกอบที่คลุมอาคารเพื่อป้ องกันความร้อน ฝน หรือความชื้น จำาแนก


ตามความลาดชันได้ 3 ประเภท

10 . 1 หลังคาเรียบ

หลังคาเรียบ ( Flat roof ) มักเป็ นหลังคาคอนกรีต เช่นหลังคาเรียบ


คอนกรีตเสริมเหล็ก ที่เป็ นพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กชนิ ดวางบนคาน หรือชนิ ดไร้
คาน ดังที่ได้กล่าวข้างต้น หากแต่จะต้องมีความทึบนำ้าสูง เช่นผสมสารกันซึม
หรือทำาระบบกันซึมคลุมผิวด้านบน อีกแบบหนึ่ งเป็ นหลังคาที่ใช้เหล็กแผ่นพับ
เป็ นไม้แบบสำาหรับเทคอนกรีต ความหนาของคอนกรีตและเหล็กเสริมในพื้น
คอนกรีตจะน้อยกว่าหลังคาเรียบคอนกรีตเสริมเหล็ก หลังจากคอนกรีตแข็งตัว
แล้ว แผ่นเหล็กพับจะเป็ นทั้งเหล็กเสริมของพื้นหลังคา และเป็ นฝ้ าเพดานของชั้น
ที่อยู่ถด
ั ลงมา
10 . 2 หลังคาลาดชัน

นิ ยมใช้กับอาคารทั่วไปรวมทั้งโรงงานอุตสาหกรรม หลังคาชนิ ดนี้ ประกอบไปด้วย


องค์ประกอบที่สำาคัญ 2 ส่วนคือ วัสดุมุงหลังคา ปั จจุบันใช้กระเบื้อง หรือแผ่น
เหล็กพับขึ้นรูปสำาเร็จ ( Metal sheet ) วัสดุเหล่านี้ มีคุณสมบัติ และนำ้า
หนักต่างกัน ดังนั้นใช้ตอ้ งพิจารณาหลายปั จจัยได้แก่ นำ้าหนัก ราคา วิธีก่อสร้าง
หรือติดตั้ง องค์ประกอบสำาคัญซึ่งรับนำ้าหนักหลังคา หรือแรงอื่น ๆ คือโครง
หลังคา ( Roof structure ) สามารถจำาแนกได้ 2 ลักษณะคือ
ระบบจันทัน ตะเฆ่ และแป ( Rafter and purlin ) โครงหลังคา
ระบบนี้ จะมีจันทัน และตะเฆ่ราง ( Valley rafter ) หรือตะเฆ่สัน
( Hip rafter ) เป็ นส่วนประกอบหลัก หรือเป็ นโครงเพื่อให้วัสดุมุงยึด
เกาะและถ่ายนำ้าหนักลงแป แปถ่ายนำ้าหนักลงสู่ตะเฆ่ หรือจันทัน แล้วถ่ายลงคาน
( อเส) เสา หรือกำาแพง ตามลำาดับ อนึ่ง หากจั่วหลังคาเป็ นทรงสูง หรือหลังคามี
สันยาว ก็จะมีด้ง ั ( Post ) รองรับจันทันหลัก มีอกไก่ ( Ridge ) เชื่อมยึด
หรือพาดบนดั้งเพื่อพรางจันทัน ( หรือให้จันทันพรางวางพาด) วัสดุท่ใี ช้ทำา
จันทัน ตะเฆ่ ดั้ง หรืออกไก่ได้แก่ไม้ เหล็ก และคอนกรีต ส่วนแปใช้จะมีแปเหล็ก
และแปไม้เท่านั้น รูปที่ 33 แสดงตัวอย่างโครงหลังคาลาดชัน
รูปที่ 33 ตัวอย่างโครงหลังคาลาดชัน รูปที่ 33 ตัวอย่างโครงหลังคาลาดชัน ( ต่อ)
อีกระบบหนึ่ งคือระบบโครงถัก ( หรือโครงข้อหมุน - Truss ) และแป โครงถัก
ใช้แทนระบบจันทัน ตะเฆ่ โดยเฉพาะในอาคาร หรือโรงงานที่ต้องการพื้นที่ว่างมาก
ๆ และตำาแหน่ งเสาอยู่หา ่ งกันมากจนไม่สามารถใช้ระบบแรกได้ โครงถักเดิมใช้ท้ังที่
ทำาจากไม้ และเหล็ก ปั จจุบันนิ ยมให้เหล็กเป็ นส่วนใหญ่ โครงถักนี้ อาจมีรูปทรงแตก
ต่างกัน ขึน
้ อยู่กับรูปทรงของหลังคา ความสวยงามทางสถาปั ตยกรรม ประสิทธิภาพ
ในการรับนำ้าหนัก หรือแรง ดังแสดงตัวอย่างในรูปที่ 34 และ 35

10 . 3 หลังคาที่มีโครงสร้างสลับซับซ้อน

ตัวอย่างหลังคาที่มีโครงสร้างสลับซับซ้อนได้แก่ หลังคาคลุมอัฒจันทร์สนามกีฬา
อาคารสาธารณะขนาดใหญ่ ที่ตอ ้ งคลุมพื้นที่ใช้สอยมาก ๆ เน้นความสวยงาม ต้อง
คำานวณออกแบบ และการก่อสร้างอย่างพิถพ ี ิถนั ใช้ความชำานาญเป็ นพิเศษ ราคา
แพง จึงไม่เหมาะกับอาคารขนาดเล็ก หรือที่พักอาศัย
11 . ผนัง หรือกำาแพง

ผนัง ( Walls ) หรือบ้างก็เรียกว่ากำาแพงเป็ นส่วนประกอบในแนวดิ่งคล้ายเสา


แต่จะเป็ นแผ่น หรือสัดส่วนความยาวกับความกว้าง ( มักเรียกความหนา) แตก
ต่างกันมาก ผนังเป็ นผนังด้านนอกของชั้นใต้ดิน ผนังกั้นห้องนิ รภัย ผนังของปล่อง
บันได หรือปล่องลิฟท์ อาจแบ่งประเภทของผนังตามการใช้งานได้ดังนี้ คือ ผนังรับ
นำ้าหนัก หรือแรงในแนวดิ่ง ( Bearing Wall ) ใช้รับนำ้าหนักในแนวดิ่ง
คล้ายกับเสา คำานวณออกแบบเช่นเดียวกับเสา ส่วนผนังต้านทานแรงทางด้านข้าง
( Shear Wall ) เหมือนกับผนังประเภทแรก เพียงแต่จะต้องจัดตำาแหน่ง
หรือขนาด โดยหลักวิศวกรรม คือให้สามารถต้านทานแรงทางด้านข้างของอาคาร
เช่น แรงลม แรงแผ่นดินไหว สำาหรับอาคารสูงผนังรับแรงทางด้านข้างถือเป็ นส่วน
ประกอบสำาคัญ ซึ่งโดยทั่วไป กำาแพงรอบปล่องลิฟท์ของอาคาร หรือกำาแพงทึบ
ด้านข้างของอาคารเป็ นต้น สำาหรับวัสดุกอ ่ สร้างของกำาแพงนั้น โดยทั่วไปผนังนำ้า
หนัก หรือแรงในแนวดิ่ง และผนังต้านทานแรงทางด้านข้าง มักเป็ นผนัง
คอนกรีตเสริมเหล็ก
ผนัง หรือกำาแพงที่ไม่รับนำ้าหนัก เช่นใช้ก้น ั ก่อปิ ดด้านนอกของอาคาร กั้นแบ่งห้อง
ภายในอาคาร ในทางวิศวกรรมถือว่าเป็ นส่วนประกอบรอง ที่ไม่ใคร่จะมีความ
สำาคัญนัก แต่ก็มีข้อดีอย่บู ้างคือช่วยคำ้ายันเสา หรือส่วนประกอบหลักอื่น ๆ อาจ
เรียกว่าผนังเหล่านี้ เป็ นผนังทางสถาปั ตยกรรม โดยปกติก่อโดยใช้อิฐ หรือ
คอนกรีตบล็อค
12 . กำาแพงกันดิน

กำาแพงกันดิน ( Retaining Wall ) เป็ นส่วนประกอบที่ใช้ต้านทาน


แรงดันทางด้านข้างของ ตัวอย่างเช่นเขื่อนป้ องกันตลิ่งพังริมแม่น้ ำาลำาคลอง
กำาแพงโดยรอบชั้นใต้ดน ิ ของอาคาร ซึ่งกำาแพงโดยรอบของชั้นใต้ดินของอาคารนี้
นอกจากจะต้านทานแรงดันทางด้านข้องของดิน แล้วยังต้านทานแรงดันทางด้าน
ข้างของนำ้า ป้ องกันไม่ให้น้ ำาใต้ดน
ิ ซึมเข้าสู่ช้น
ั ใต้ดินของอาคารได้ ( บางกรณีกใ็ ช้
ต้านทานแรงดันของนำ้า หรือเก็บกัก ป้ องกันนำ้ามิให้ร่ัวซึมด้วย เช่นถังเก็บนำ้า
คอนกรีตเสริมเหล็กที่อยู่ช้น ั ใต้ดนิ หรือบนดาดฟ้ า) และตานทานแรงทางด้าน
ข้างอ้นเนื่ องจากนำ้าหนักกดทับจากผิวบน เช่นนำ้าหนักยวดยานพาหนะจากการ
จราจร กำาแพงกันดินจำาแนกตามลักษณะของโครงสร้างได้ดง ั นี้
12 . 1 กำาแพงกันดินคอนกรีตเสริมเหล็ก

กำาแพงกันดินคอนกรีตเสริมเหล็ก เหมาะกับความลึกไม่เกิน 10 เมตร ( หาก


ลึกกว่านี้ จะไม่ประหยัด ควรเลือกระบบอื่น ๆ) ส่วนใหญ่ก่อสร้างโดยขุดดิน
ออกมาเพื่อหล่อกำาแพง แล้วถมดินกลับภายหลัง กำาแพงประเภทนี้ จะทึบนำ้า
ป้ องกันการรั่วซึมได้ดี รูปที่ 36 ตัวอย่างกำาแพงกันดินคอนกรีตเสริมเหล็ก
12 . 2 เข็มพืด
เข็มพืด ( Sheet Pile ) มีลักษณะเหมือนกำาแพงที่ตอกต่อเนื่ องกัน เพื่อ
ต้านทานแรงดันดินและนำ้ามักใช้กับโครงสร้างที่อยู่ติดนำ้า หรือตอกป้ องกันตลิ่งพัง ( ที่ไม่
สามารถหล่อคอนกรีตในที่ได้) หรือใช้ช่ว ั คราวเพื่อป้ องกันการพังทลายของดินสำาหรับ
การทำางาน หรืออาคารที่ตอ ้ งขุดดินลึก ๆ เช่น เพื่อทำาฐานราก หรือชั้นใต้ดิน เข็มพืดมีท้ง

ที่ทำาจากไม้ คอนกรีตหล่อสำาเร็จ และเหล็ก แต่อย่างไรก็ตามเมื่อพูดถึงเข็มพืดในแวดวง
ก่อสร้างมักนึ กถึงเข็มพืดเหล็กเป็ นส่วนใหญ่ ดังรายละเอียดต่อไปนี้

12 . 2 . 1 เข็มพืดไม้ใช้แผ่นไม้ตอกชิดติดต่อกันไป หรือใช้ไม้ท่ีมีรอ
่ ง และลิ้นตอก
ขัดกันต่อเนื่ องเป็ นแนว เข็มพืดไม้นิยมใช้กับงานที่มีการขุดดินไม่ลึก และงาน
โครงสร้างที่มีแรงดันดินกระทำาไม่มากนัก ปั จจุบันไม่คอ ่ ยนิ ยมใช้เพราะไม้ราคา
แพงขึ้น และผุกร่อนเสื่อมสลายได้

12 . 2 . 2 เข็มพืดคอนกรีตสำาเร็จรูป เป็ นเข็มตอก มีท้ง ั รูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่มี


ลิ้น และร่อง ที่ขัดกันเพื่อปิ ดช่องว่าง หรือรูปตัดเป็ นรูปตัวไอกว้าง ซึ่งต้องอัดนำ้า
ปูนเข้าไปในช่องว่างระหว่างเข็มตอกแต่ละต้นภายหลังตอก ( รูปที่ 37 )
12 . 2 . 3 เข็มพืดเหล็ก เป็ นเหล็กรูปตัว Z ท่อกลม หรืออื่น ๆ แต่ละชิน
้ มีร่อง
หรือที่ยึดเกี่ยวกันไปเกิดเป็ นเข็มพืด เข็มพืดเหล็กแข็งแรง นำ้าหนักเบา ตอก หรือ
กดให้จมง่าย กรณีใช้เป็ นเข็มพืดชั่วคราวก็ดึง หรือรื้อถอนสะดวก เข็มพืดเหล็กจึง
มีข้อดีท่ีสามารถนำากลับมาใช้ได้อีก เข็มพืดเหล็กมีรูปหน้าตัดหลายขนาดให้เลือก
ตามความแข็งแรงที่ต้องการ เข็มพืดเหล็กอาจมีคาน ( Soldier Beam )
และเสาคำ้ายัน ( Wale ) อยู่เป็ นช่วง ๆ รวมทั้งอาจมีสมอเหล็ก ( Tie Rod
and Anchorage ) ยึดโยงที่ส่วนบนของเข็มพืดกับโครงสร้างแข็งแรง
เช่น แท่งคอนกรีตขนาดใหญ่ ( Dean man End ) หรือเสาเข็มที่ตอกทำา
มุมเอียง ( Batter Pile ) เพื่อให้เข็มพืดเหล็กเสถียร สามารถรับแรง
ได้มากขึ้น ( รูปที่ 38 )
12 . 2 . 4 เสาเข็ม และแผ่นตอก
ประกอบด้วยเสาเข็มตอก ซึ่งอาจจะเป็ นคอนกรีตเสริมเหล็ก หรือไม้ ( ปั จจุบัน
นิ ยมใช้เข็มคอนกรีตรูปตัวไอ) ตอกห่างกันเป็ นระยะเท่า ๆ กัน และใช้แผ่น
ตอกเช่นพื้นคอนกรีตอัดแรงสำาเร็จรูปชนิ ดแผ่นเรียบ สอด หรือขัดลงระหว่าง
ช่องว่าง ( ตามร่อง) ของเสาเข็ม แล้วกด หรือตอกให้จมลึกลงไปในดินให้ได้
ระดับที่ต้องการ ดังนั้นจำานวนแผ่นตอกในแต่ละช่องระหว่างเสาเข็มจึงขึ้นกับ
ความลึกของกำาแพง ( รูปที่ 39 )
รูปที่ 39 เสาเข็มและแผ่นตอก

12 . 2 . 5 กำาแพงไดอะแฟรม ( Diaphragm Wall )


เป็ นระบบที่ใช้คอนกรีตหล่อในที่ คล้ายคลึงการทำาเสาเข็มเจาะระบบเปี ยก โดย
ใช้กระเช้าตักดินขุดหลุมเอาดินขึ้นมาก่อนตามขนาด และแนวที่จะทำากำาแพง ใช้
สารละลาย Bentonite ป้ องกันการพังทลายของดิน แล้วหย่อนเหล็ก
เสริมที่ผก
ู เป็ นโครงไว้แล้วลงไป ก่อนเทคอนกรีตเมื่อทิ้งไว้จนคอนกรีตแข็งตัวมี
กำาลังตามกำาหนดแล้ว จึงขุดดินข้างในกำาแพงออก เพื่อทำาชั้นใต้ดนิ หรือก่อสร้าง
ส่วนอื่น
12 . 2 . 6 กำาแพง Secant Pile
ใช้กน ิ เพื่อต้านทานแรงดันทางด้านข้างของดิน และนำ้า
ั ดินในงานก่อสร้างชั้นใต้ดน
การก่อสร้างต้องขุดดิน และใส่สารละลายเบนโทไนต์ลงในหลุมเจาะ เช่นเดียวกับกำา
แพงไดอะแฟรม แต่แทนที่โครงสร้างจะเป็ นส่วนของกำาแพงคอนกรีตเสริมเหล็กต่อ
เนื่ องกันไป กำาแพงแบบ Secant Pile จะประกอบด้วยเสาเข็มเจาะวางติด
ชิดกันไปตามแนวของกำาแพง โดยหล่อเสาเข็มคอนกรีตชนิ ดไม่เสริมเหล็กให้หา ่ งกัน
เป็ นระยะๆ ก่อน หลังจากนั้นจึงหล่อเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแทรกในช่องว่าง
ระหว่างเสาเข็มคอนกรีตชนิ ดไม่เสริมเหล็กต่อไป

13 . สะพาน
โดยทั่วไปสะพานประกอบด้วยโครงสร้างหลัก 2 ส่วน คือโครงสร้างส่วนบน
( Super structure ) และโครงสร้างส่วนล่าง โครงสร้างส่วนบน
ประกอบด้วยระบบพื้น คาน สะพาน ( Slab or girder system )
ทางเท้า คานขอบ และราวสะพาน ส่วนโครงสร้างส่วนล่าง ประกอบด้วย คานขวาง
( Cross beam ) เสาตอม่อ ( Pier ) และฐานราก ฐานรากของสะพาน
อาจเป็ นฐานรากแผ่ ที่วางบนดินหรือหิน ( Spread footing ) หรือเป็ น
ฐานรากวางบนเสาเข็ม ( Pile footing ) เดิมสะพาน มักออกแบบให้
วางบนตอม่อที่มีลักษณะเป็ นแผงคล้ายกำาแพง ( Bearing wall ) ต่อมา
นิ ยมใช้ตอม่อที่เรียงเป็ นตับ หรือแถว โดยมีแกงแนง ( Bracer ) ยึดเป็ นระยะ
ๆ ( กรณีท่ีตอม่อสูงมาก) อย่างไรก็ตามทั้ง 2 กรณี จะนิ ยมก่อสร้างบนฐานราก
ร่วม หรือ
โดยทั่วไปสะพานประกอบด้วยโครงสร้างหลัก 2 ส่วน คือโครงสร้างส่วนบน
( Super structure ) และโครงสร้างส่วนล่าง โครงสร้างส่วนบน
ประกอบด้วยระบบพื้น คาน สะพาน ( Slab or girder system )
ทางเท้า คานขอบ และราวสะพาน ส่วนโครงสร้างส่วนล่าง ประกอบด้วย คานขวาง
( Cross beam ) เสาตอม่อ ( Pier ) และฐานราก ฐานรากของสะพาน
อาจเป็ นฐานรากแผ่ ที่วางบนดินหรือหิน ( Spread footing ) หรือเป็ น
ฐานรากวางบนเสาเข็ม ( Pile footing ) เดิมสะพาน มักออกแบบให้
วางบนตอม่อที่มีลก ั ษณะเป็ นแผงคล้ายกำาแพง ( Bearing wall ) ต่อมา
นิ ยมใช้ตอม่อที่เรียงเป็ นตับ หรือแถว โดยมีแกงแนง ( Bracer ) ยึดเป็ นระยะ
ๆ ( กรณีท่ีตอม่อสูงมาก) อย่างไรก็ตามทั้ง 2 กรณี จะนิ ยมก่อสร้างบนฐานราก
ร่วม หรือฐานรากแพ ( Combined or mat footing ) ในยุค
ปั จจุบันตอม่อสะพานมีลักษณะเป็ นโครงข้อแข็งที่ประกอบด้วย 2 เสา หรือแม้
กระทั่งตอม่อเดี่ยว สะพานตอม่อเดี่ยวคำานวณออกแบบง่าย และปราศจากปั ญหา
การทรุดตัวต่างระดับ ดังเช่นในกรณีของตอม่อคู่
คานขวางของสะพานอาจเป็ นคานคอนกรีตเสริมเหล็ก หรือคานคอนกรีตอัดแรง
ก็ได้ ขึ้นอยู่กับหลายปั จจัย เช่น งบประมาณ นำ้าหนักหรือแรง วิธีกอ
่ สร้าง และอื่น ๆ
บนคานขวางจะมีแท่น ( Plinth ) วางแผ่นยาง ( Elastomeric
bearing or elastomer ) รองรับโครงสร้างส่วนบน
ปกติจะจำาแนกประเภทของสะพานตามลักษณะของโครงสร้างส่วนบน สะพานที่ใช้
ระบบแผ่นพื้นทางเดี่ยว ( Slab type ) คำานวณออกแบบง่าย ก่อสร้าง
สะดวก เพราะท้องแบบเรียบ แต่มีข้อจำากัดที่ใช้ได้กับช่วงความยาวที่จำากัด เช่นไม่
เกิน 10 เมตร หากช่วงยาวกว่านี้ จะไม่ประหยัดเนื่ องจากนำ้าหนักส่วนใหญ่ จะเป็ น
นำ้าหนักคงที่ของพื้นสะพานที่เพิ่มขึ้นนั้นเอง ดังนั้นหากสะพานยาวมากก็จะต้องจัด
ให้มีหลาย ๆ ช่วง โดยความยาวแต่ละช่องอาจแตกต่างกัน ( Unbalanced
span ) ทั้งนี้เนื่ องจากจะต้องคำานึงถึงช่องเปิ ดของทางนำ้า การสัญจรทางนำ้า หรือ
อุปสรรคในการก่อสร้าง อาทิเช่น สะพานยาว 20 เมตรหากเลือกใช้ความยาวช่อง
ละ เมตร ( = เมตร) จะปรากฏเสาตอม่อที่กลางนำ้า หากจัดให้เป็ น ช่วงเช่น
= เมตร ก็จะหลีกเลี่ยงเสาตอม่อ กลางนำ้าได้ แม้จะมีเสาตอม่อเพิ่มขึ้นกว่ากรณี
แรก แต่ก่อสร้างสะดวกกว่า รวมแล้วอาจประหยัดกว่า หรือราคาพอ ๆ กัน
สะพานระบบแผ่นพื้นทางเดี่ยว หากมีทางเท้า ( สองข้างหรือข้างเดียว) ปกติ
ทางเท้าจะยกสูงกว่าระดับพื้นสะพาน และจะมีคานขอบ ( Edge beam ) เพื่อ
รับทางเท้าหรือต้านการบิด ดังนั้นในการคำานวณออกแบบอาจผนวกเอาขอบนี้ เป็ น
ส่วนหนึ่ งของแผ่นพื้น ทำาให้แผ่นพื้นมีความแข็งแกร่งมากขึ้นเรียกแผ่นพื้นทางเดียว
ชนิ ดขอบแข็ง ( Rigid edge ) อย่างไรก็ตามแผ่นพื้นระบบนี้ แม้จะทำาให้
การคำานวณออกแบบประหยัดกว่าระบบแผ่นพื้นทางเดียวปกติ แต่มีขอ ้ ยุ่งยากหาก
จะต้องขยายช่องทางวิ่งของสะพาน จึงควรระมัดระวัง
ช่วงสะพานที่ยาวขึ้นหากยังใช้ระบบคอนกรีตเสริมเหล็ก อาจเพิ่มความแข็งแกร่ง
ของแผ่นพื้นโดยทำาคล้ายเป็ นระบบพื้นกระทงทางเดียว ( One - way
girder ) เช่นใช้ระบบพื้นคานรูปตัวทีชน หรือเชื่อมต่อกันจะเป็ นเสมือนแผ่น
พื้น แต่กอ่ สร้างยุ่งยากขึน
้ เพราะต้องใช้ไม้แบบในการหล่อปี กคานอีกระบบหนึ่ งใช้
แผ่นพื้นกลวง หรือคานรูปกล่องกลวง ( Box - girder ) รูปกล่องกลวงทำาให้
นำ้าหนักคงที่ของสะพานเบาลง เมื่อนำามาเรียงชิดติดกันส่วนท้องพื้น และหลังคาน
รูปกล่องกลวงเรียบเป็ นเสมือนแบบที่จะหล่อ แผ่นพื้นสะพานผนวกเข้ากับคาน
สะพานเหล่านี้ แผ่นพื้น หรือคานรูปกล่องกลวงปกติใช้ระบบคอนกรีตอัดแรง และ
มักผลิตสำาเร็จรูปจากโรงงาน ดังนั้นหากการขนย้ายสะดวกก็จะทำาให้การก่อสร้าง
สะดวกรวดเร็ว คานรูปกล่องกลวงที่มีความลึกปกติ เช่น - เมตรโดยประมาณ จะ
ใช้ได้กบ
ั ช่วงความยาวที่จำากัด เช่นไม่เกิน - เมตร หากจะใช้รูปตัดขนาดใหญ่ขึ้น
เช่นมีความลึกมากขึ้นก็จะมีปัญหาหรือข้อยุ่งยากในการ
คำานวณออกแบบ การควบคุมคุณภาพ การขนย้าย หรือขนส่ง อีกทั้งนำ้าหนัก
เพิ่มมากขึ้น คานรูปกล่องขนาดใหญ่จึงเหมาะสำาหรับใช้เฉพาะกับงานขนาด
ใหญ่ เช่นทางแยกต่างระดับ หรือทางยกระดับ
คานสะพานคอนกรีตอัดแรงรูปตัวที หรือตัวไอ สามารถคำานวณออกแบบและ
ผลิตให้ใช้กับช่วงสะพานยาว ๆ ได้ เดิมสะพานคอนกรีตอัดแรงเหล่านี้ มีท้ังระบบ
Pre - tensioned และ Post - tensioned ปั จจุบันหากผลิต
จากโรงงานมักเป็ นแบบ Post - tensioned ( แต่ละช่วงอาจยาวถึง
40 เมตรขึ้น หรือกว่านั้น) และแม้กระทั่งหากมีอุปสรรคในการขนย้าย หรือ
ขนส่งก็อาจหล่อเป็ นท่อน แล้วไปประกอบยึดต่อกันภายหลังได้ สะพานเหล็ก ทั้ง
ระบบคานสะพาน ( Steel girder ) หรือระบบโครงถัก ( Steel
truss ) ปั จจุบันไม่นิยมก่อสร้างประกอบทาง อาจเนื่องด้วยมีราคาแพง
บำารุงรักษาลำาบาก หรือต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง ดังนั้นสำาหรับงานทางในปั จจุบัน
สะพานเหล็กจึงใช้เป็ นเพียงสะพานทางเบี่ยง หรือสะพานชั่วคราวเท่านั้น
สะพานระบบที่มีความย่ง ุ ยากซับซ้อนขึ้น เช่นสะพานขึง หรือสะพานแขวน ก็ไม่
เหมาะสำาหรับงานทาง โดยเฉพาะในประเทศไทย ซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่เป็ นที่ราบ
แม้มีพ้ ืนที่สูงชัน เนิ นเขา หรือหุบเขา หรือสะพานระหว่างแผ่นดินใหญ่กบั เกาะ
ต่าง ๆ ก็ยังอยู่ในวิสัยที่จะก่อสร้างสะพานระบบเสาตอม่อได้
แกร่ง ( Light - Weight but High Compressive St
ตมวลเบา Q - CON มีความหนาแน่ นแห้งเพียง 500 กก./ ลบ. ม. จึงมีน้ ำาหนักเบา
3 เท่า และเบากว่าคอนกรีต 4 - 5 เท่า ในการคำานวณโครงสร้างอาคาร สามารถลด
งอาคาร จากกรณีอิฐมอญ 180 กก./ ตร. ม. เหลือเพียงครึง ่ หนึ่ งหรือ 90 กก./ ตร. ม.
นลงทุนจากการลดขนาดโครงสร้างอาคารตั้งแต่ คาน เสา ฐานราก และเสาเข็ม
มารถรับแรงอัดได้สูงถึง 30 - 80 ksc . กล่าวคือ Q - CON Block ขนาด 20x60
นักได้สูงถึง 20 ตันขึ้นไป จึงสามารถนำาไปใช้งานได้ ทั้งกรณีผนังไม่รับนำ้าหนัก
นัก ( Load Bearing Wall ) อีกทั้งมีขนาดใหญ่ท่ีเหมาะสมสะดวกในการขนส่ง
ารก่อสร้าง โดยเฉพาะกรณีอาคารสูง และลดการแตกหักเสียหาย
มิติเที่ยงตรง แน่ นอน ( Accurate )

คอนกรีตมวลเบา Q - CON ผลิตจากโรงงานที่มีมาตรฐานสูง ทำาให้ผลิตภัณฑ์ท่ไี ด้มีคุณภาพ


สมำ่าเสมอเท่ากันทุกก้อน ขนาดมิตท
ิ ุกด้าน เที่ยงตรง แน่ นอน ผิดพลาดไม่เกิน

ม. ม. มิติหน้าสัมผัสราบเรียบเสมอกัน ทำาให้ก่อง่ายโดยใช้ปูนก่อบางเพียง 2 - 3 ม. ม. และ


บบางไม่เกิน 1 ซม. ลดปริมาณปูนก่อ/ ฉาบได้มาก
ใช้งานง่าย รวดเร็ว ( Easy to
Work )

              พี้นที่ผนัง 1 ตร. ม. ใช้ Q - CON Block เพียง


8 . 33 ก้อน ในขณะที่ต้องใช้อิฐมอญถึง 130 - 145 ก้อน
เนื่ องจากก้อนของ Q - CON Block มีน้ ำาหนักเหมาะมือ
เคลื่อนย้ายสะดวก ช่างฝี มือทั่วไปสามารถฝึ กฝนใช้งานได้
ภายในเวลาอันสั้น ในเวลา 1 วัน สามารถก่อได้พ้ ืนที่ถึง
15 - 25 ตร. ม. อีกทั้งไม่ต้องหยุดเทคานทับหลัง คสล.
บริเวณที่มีชอ ่ งเปิ ด โดยใช้คานทับหลังสำาเร็จรูป ( Q - CON
ก่อสร้างได้รวดเร็วอย่างเป็ นระบบ (Rapid Assembly)
          คอนกรีตมวลเบา Q - CON สามารถติดตั้งวงกบได้อย่างรวดเร็วแบบกึ่งสำาเร็จรูป
ติดตั้งได้ท้ังก่อน และหลังการก่อผนัง โดยใช้งานร่วมกับคานทับหลังสำาเร็จรูป ไม่ต้องใช้ค้ า
ำ ยัน
หรือการหล่อคานเสา คสล. ใช้เวลาน้อยกว่าระบบทั่วไป 2 - 5 เท่า ช่วยเร่งรัดงาน
ก่อสร้างให้เสร็จทันกำาหนดโดยการวางแผนงานอย่างเป็ นขั้นตอน สามารถใช้ระบบบริหาร
งานก่อสร้าง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
นความร้อนที่ดีเยี่ยม ( The Best Thermal Insulation Pr

          ฟองอากาศขนาดเล็กที่กระจายอย่ท
ู ่ัวไปอย่างสมำ่าเสมอในเนื้ อคอนกรีตมวลเบา
ก่อให้เกิดความเป็ นฉนวนกันความร้อนที่ดีเยี่ยม อันจะทำาให้ความร้อนจากภายนอกผ่านเข้าสู่
ภายในอาคารได้นอ ้ ยกว่าผนังอิฐมอญ หรือคอนกรีต 4-8 เท่า และไม่เก็บสะสมความร้อนไว้
ในตัวเองผิวผนังภายในไม่ร้อน ทำาให้ภายในเย็นสบายกว่า กรณีตด
ิ เครื่องปรับอากาศจะลดการ
ทำางานของ  คอมเพรชเซอร์ จึงสามารถลดขนาดเครื่องปรับอากาศลงได้ และจากการทดสอบ
โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี สามารถประหยัดเงินค่าไฟฟ้ าลงได้ถึง 25%
กันเสียง และดูดซับเสียงได้ดี ( Good Acoustical Insulation

           ผนังคอนกรีตมวลเบา Q -  
หรือเสีช่ยวงสนทนากั
CON ยลดทอนความดั นในห้องงไม่ของให้ผ่านไปยังอีกห้องได้ อีก
เสี ยงที่ผ่านเนื
ประการหนึ ่ ง ้ ผนั
อวัสงดุ จากการ
ทดสอบผนั
คอนกรีตมวลเบางที่ความหนา ซม.
Q - CON10สามารถดู ดซับเสียงได้ดี จึง
ฉาบปู
เหมาะกั นบ ด้าน 8่ไม่มม
2อาคารที ให้.มีเจะมี ค่าองสะท้อน เช่น ห้องประชุม
สียงก้
อั ตราการป้ องกัเป็
โรงภาพยนตร์ นเสีนต้ยน
ง STC
( Sound Transmission
Class - Rating ) = 43 เดซิ
เบล หมายความว่าผนังคอนกรีต
มวลเบา Q - CON ช่วยป้ องกันเสียง
เครื่องยนต์
ละกันไฟได้นานกว่า 4 ชม. ( Ideal Protection Against

       คอนกรีตมวลเบา Q - CON มีคุณสมบัติไม่ติดไฟ ทนทานต่อเพลิงไหม้ และ


สามารถกันไฟไหม้ท่ีอุณหภูมิสูงได้อย่างดีเลิศ จากการทดสอบของคณะ
วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ( BS476 ) พบว่าผนัง Q - CON ที่
ความหนาเพียง 7 . 5 ซม. ฉาบ 2 หน้า สามารถกันไฟที่ 1 , 100 องศา
เซลเซียส ได้นานกว่า 4 ชม. ( FRL 240 / 240 ) โดยผนังมีความแข็งแรง
ไม่พังทลาย ในขณะที่ผนังด้านตรงข้ามมีอุณหภูมเิ พียง 60 องศาเซลเซียส เท่านั้น
จึงช่วยป้ องกันไฟไม่ให้ลุกลามไปยังห้องใกล้เคียงได้ลดความเสียหายต่อชีวิต และ
ทรัพย์สนิ ( ส่วนอิฐมอญสามารถกันไฟได้เพียง 1 - 2 ชม. เท่านั้น)
ไม่เป็ นพิษ ( Non - Toxic )

               คอนกรีตมวลเบา Q - CON มีสภาพเป็ นด่างอ่อนๆ ( pH 9.0-


10 . 5 )เช่นเดียวกับผลิตภัณฑ์คอนกรีตชนิ ดอื่น ไม่เป็ นพิษเป็ นภัยต่อผู้ใช้ ไม่มีส่วน
ผสมของสารพิษใดๆ ไม่มีกลิ่น  มด หรือแมลงไม่กัดแทะ
ทนทานต่อทุกสภาวะ ( Long Life )

          คอนกรีตมวลเบา Q - CON สามารถใช้งานได้ทุกเขตภูมิอากาศทั่วโลก โดย


ไม่เสื่อมสภาพ เมื่อถูกสัมผัสโดยนำ้า ลม แสงแดด หรือหมอก มีจุดหลอมละลายสูง เช่น
ั ไป คือประมาณ 1 , 600 องศาเซลเซียส
เดียวกับ วัสดุท่ีทำาจากปูนซีเมนต์ท่ว
ทนทานต่อสภาวะทางเคมี เช่น กรดคาร์บอนไดออกไซค์ ซัลเฟต หรือคลอไรด์ มีอายุ
การใช้งานยาวนาน เช่นเดียวกับ คอนกรีตทั่วไป

You might also like