You are on page 1of 187

โครงสร้าง

และ
หน้าที่ของพืชดอก

Dr.KK
16 April 2011
ขอบเขตเนือ
้ หา
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
โครงสร้างหน้าทีข
่ องราก
โครงสร้างหน้าทีข
่ องลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
โครงสร้างหน้าทีข
่ องใบ
การคายน้ำของพืช
การลำเลียงแร่ธาตุของพืช
การลำเลียงสารอาหาร
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
  พืชมีลักษณะที่แตกตา่ งจากสัตว ์
้ ร่ ะดับเซลล์ ไมว่ า่ จะเป็นผนัง
ตังแต
เซลล์ แวคิวโอล คลอโรพลาสต์ ซ่ึง
ไมพ่ บในสัตว ์

เนื้ อเยื่อของพืชชั นสู


้ ง (Plant tissue)
หรื อเนื้ อเยื่อของพืชดอก แบง่ ตาม
ความสามารถในการแบง่ เซลลไ์ ด้
เป็น 2 ประเภท คือ

1. เนื้ อเยื่ อเจริ ญ (Meristematic


tissue หรื อ Meristem) (คำวา่
Meristem มาจากภาษากรี ก
Meristos แปลวา่ แบง่ ได)้
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
1. ้ เยือ
เนือ ่ เจริญ (Meristematic tissue หรือ Meristem)

หมายถึงเนือ้ เยือ ่ ทีม่ เี ซลล์กำล ังแบ่งต ัวแบบ


ไมโทซส ิ (Mitosis) เพือ ่ สร ้างเซลล์ใหม่พบมากตาม
บริเวณปลายยอดหรือปลายราก
ลักษณะเด่นของเซลล์ทอ ี่ ยูใ่ นกลุม
่ เนือ
้ เยือ ่
เจริญคือ เซลล์ยงั มีชวี ต ิ อยู่ มีโพรโทพลาซม ึ ทีข ่ ้น
มาก ผนังเซลล์ (Cell wall) บางและมักเป็ น
สารประกอบเซลลูโลสเป็ นสว่ นใหญ่ ภายในเซลล์
เห็นนิวเคลียสได ้ชด ั เจนและมีขนาดใหญ่ เมือ ่
เปรียบเทียบกับไซโทพลาซม ึ มีแวคิวโอลขนาด
เล็กหรือเกือบไม่มแ ี วคิวโอล
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
1. ้ เยือ
เนือ ่ เจริญ (Meristematic tissue หรือ Meristem)

เซลล์มรี ป ู ร่างแตกต่างกันหลายแบบ แต่สว่ น


ใหญ่รป ู ร่างค่อนข ้างกลม หรือมีลก ั ษณะหลาย
เหลีย่ ม ทุกเซลล์แบ่งตัวได ้ แต่ละเซลล์อยูช ิ
่ ด
ติดกันมากทำให ้ชอ ่ งว่างระหว่างเซลล์ (Intercellular
space) แทบจะไม่ม ี หรือไม่มเี ลย
เซลล์ของเนือ ้ เยือ ่ เจริญยังมีการเปลีย
่ นแปลง
เพือ
่ ไปทำหน ้าทีต ่ า่ ง ๆ การเจริญเติบโตทีเ่ กิด
จากเนือ ้ เยือ ่ เจริญมี 2 แบบ คือ การเจริญ
เติบโตขนแรก ั้ (Primary growth) และการเจริญ
เติบโตขนที ั้ ส ่ อง (Secondary growth) การเจริญ
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
1. เนือ ้ เยือ ่ เจริญ (Meristematic tissue หรือ Meristem) แบ่งได ้
เป็ น 3 กลุม ่
1.1 เนือ ้ เยือ ่ เจริญสว่ นปลาย (Apical meristem)
เป็ นเนื้อเยือ่ เจริ ญที่อยูบ่ ริ เวณปลายยอดหรือปลายราก รวมทั้งทีต่ า (Bud) ของ
ลำต้นของพืชเมื่อแบ่งเซลล์แล้วทำให้ปลายยอดหรื อปลายรากยืดยาวออกไป
1.2 เนือ้ เยือ่ เจริญเหนือข้ อ (Intercalary meristem)
เป็ นเนื้อเยือ่ เจริ ญที่อยูเ่ หนือโคนปล้อง (Internode) หรื อเหนือข้อ
(Node) ทำให้ปล้องยืดยาวขึ้น พบได้ในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด เช่น หญ้า
ข้าว ข้าวโพด ไผ่ อ้อย เป็ นต้น
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
1. เนือ ้ เยือ ่ เจริญ (Meristematic tissue หรือ Meristem) แบ่ง
ได ้เป็ น 3 กลุม ่
1.3 เนือ ้ เยือ ่ เจริญด้านข้าง (Lateral meristem)
เป็ นเนื้อเยือ่ เจริ ญที่อยูท่ างด้านข้างของรากหรื อลำต้นทำการแบ่งตัวทำให้เพิ่ม
ขนาดของรากหรื อลำต้น เนือ้ เยือ่ เจริญด้ านข้ างทำให้ เกิดการเจริญขั้นทีส่ อง
พบในพืชใบเลี้ยงคู่ทวั่ ๆไป และพืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด เช่น จันทน์ผา
หมากผูห้ มากเมีย เป็ นต้น เนื้อเยือ่ เจริ ญชนิดนี้ เรียกได้ อกี อย่ างหนึ่งว่ าแคมเบี
ยม (Cambium) ถ้าเป็ นเนื้อเยือ่ เจริ ญที่อยูใ่ นกลุ่มของท่อลำเลียง เรี ยก
ว่าวาสคิวลาร์แคมเบียม (Vascular cambium) หากเนื้อเยือ่ เจริ ญนั้นอยูถ่ ดั จาก
เนื้อเยือ่ ชั้นนอก ของรากหรื อลำต้นเข้าไปข้างในเรี ยกว่า คอร์กแคมเบียม (Cor
k cambium)
Apical
meristem Epidermis
Intercalary
meristem
Cambium
Lateral Cork / Phellem
Meristem
meristem Protective
tissue

เนื้ อเยื่อ
Parenchyma

ของพืช Simple Collenchyma


permanent
ดอก tissue Ground tissue
Sclerenchyma

Permanent tissue
Endodermis
Parenchyma
Fiber
Xylem Tracheid
Complex
permanent Vessel
tissue Parenchyma element
Fiber
Sieve tube
Phloem member
Companion cell
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
้ เยือ
2. เนือ ่ ถาวร (Permanent tissue)
2.1 Simple tissue
2.1.1 Protective tissue

เอพิเดอร์มส
ิ (Epidermis) คือเนือ
้ เยือ
่ ทีอ ่ ้านนอกสุดของสว่ นต่าง ๆ
่ ยูด
ของพืช มักเรียงตัวชน ั ้ เดียว ผนังเซลล์บาง ไม่มค ี ลอโรพลาสต์ เซลล์ม ี
ลักษณะแบน มีแวคิวโอลขนาดใหญ่ เซลล์เรียงตัวอัดแน่นจนไม่มช ี อ่ งว่าง
ระหว่างเซลล์ผนังเซลล์ทอ ี่ ยูด
่ ้านนอกมักหนากว่าผนังเซลล์ทอ ี่ ยูด
่ ้านใน มี
คิวทิน (Cutin) เคลือบผนังเซลล์มก ี ารเจริญเปลีย ่ นแปลงไปเป็ นขนราก
(Root hair) เซลล์คม ุ (Guard cell) ขน (Trichome) และ ต่อม (Gland)
เนือ
้ เยือ
่ เอพิเดอร์มส
ิ ทำหน ้าทีป ่ กคลุมและป้ องกันอันตรายให ้แก่พช ื

คอร์ก (Cork) หรือเฟลเลม (Phellem)


เป็ นเนือ
้ เยือ
่ ทีเ่ กิดจากการแบ่งเซลล์แบบไมโทซส ิ ของ คอร์ก แคมเบียม
หรือเฟลโลเจน (Phellogen) โดยเมือ ่ คอร์ก เติบโตเต็มทีแ
่ ล ้วโพรโทพลา
ซมึ และเยือ ่ หุ ้มเซลล์จะสลายไป เหลือเฉพาะผนังเซลล์ทม ี่ ี ซูเบอริน
(Suberin) และคิวติน (Cutin) สะสมซงึ่ น้ำจะผ่านไม่ได ้
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก

จำจา้ ...........
้ ่
Bark = รวมตังแต
epidermis จนถึง
ก่อน vascular
cambium
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
้ เยือ
2. เนือ ่ ถาวร (Permanent tissue)
2.1 Simple tissue
2.1.2 Ground tissue

เป็ นเนือ ้ เยือ


่ ทีเ่ ป็ นองค์ประกอบในราก ลำต ้น ใบ ดอก เป็ นตัวกลาง ให ้
เนือ้ เยือ
่ อืน
่ เจริญแทรกตัวอยู่ มีหลายประเภทได ้แก่

ก. พาเรนไคมา (Parenchyma) เนือ ้ เยือ


่ ชนิดนีพ
้ บได ้ทั่ว ๆ ไปในพืช
ประกอบด ้วยเซลล์ทม ี่ รี ป
ู ร่างหลายแบบได ้แก่ ค่อนข ้างกลม รี หรือรูปทรง
กระบอก เมือ ่ เรียงตัวติดกัน จึงเกิดชอ ่ งว่างระหว่างเซลล์ (Intercellular
space)
มีแวคิวโอลขนาดใหญ่เกือบเต็มเซลล์
เซลล์พาเรนไคมาบางชนิดมีคลอโรพลาสต์อยูด ่ ้วย อาจเรียกว่าคลอเรนไค
มา (Chlorenchyma) (อย่าสบ ั สนกับ คอลเลนไคมา – Collenchyma)
ผนังเซลล์ประกอบด ้วยเซลลูโลส (Cellulose) เป็ นสว่ นใหญ่ อาจมีเฮมิ
เซลลูโลส (Hemicellulose) และเพกติน (Pectin) บ ้าง เนือ ้ เยือ
่ กลุม
่ พาเรน
ไคมานีม้ ห
ี น ้าทีเ่ ก็บสะสมเม็ดแป้ ง หยดน้ำมัน น้ำ เกลือแร่ และหลัง่ สาร
พวกแทนนิน ฮอร์โมน เอนไซม์ และน้ำหวานของดอกไม ้
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
้ เยือ
2. เนือ ่ ถาวร (Permanent tissue)
2.1 Simple tissue
2.1.2 Ground tissue

เป็ นเนือ ้ เยือ


่ ทีเ่ ป็ นองค์ประกอบในราก ลำต ้น ใบ ดอก เป็ นตัวกลาง ให ้
เนือ้ เยือ
่ อืน
่ เจริญแทรกตัวอยู่ มีหลายประเภทได ้แก่

ข. คอลเลนไคมา (Collenchyma)

เนือ
้ เยือ
่ ทีม
่ เี ซลล์คอลเลนไคมาจะมีรป ู ร่างคล ้ายคลึงกับพาเรนไคมา
ผนังเซลล์ประกอบด ้วยเซลลูโลส แต่ผนังเซลล์จะมีความหนาไม่เท่า
กัน โดยสว่ นทีห ่ นามักจะอยูต ่ ามมุมเซลล์ ซงึ่ มีเพกติน (pectin) มาก
นอกเหนือไปจากเซลลูโลส และเฮมิเซลลูโลส
พบเนือ ้ เยือ่ ชนิดนีอ
้ ยูต ้
่ ามก ้านใบ เสนกลางใบและในส ว่ น คอร์เทกซ ์
(Cortex) (คอร์เท็กซเ์ ป็ นชน ั ้ ของเนือ้ เยือ ่ ทีอ
่ ยูถ
่ ัดจากชน ั ้ เอพิเดอร์มส

เข ้าไปทัง้ ในลำต ้น และรากซงึ่ จะกล่าวถึงต่อไปในเรือ ่ งของรากและ
ลำต ้น) ของพืชล ้มลุก มีหน ้าทีทำ ่ ความแข็งแรงให ้กับพืช  
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
้ เยือ
2. เนือ ่ ถาวร (Permanent tissue)
2.1 Simple tissue
2.1.2 Ground tissue

เป็ นเนือ้ เยือ


่ ทีเ่ ป็ นองค์ประกอบในราก ลำต ้น ใบ ดอก เป็ นตัวกลาง
ให ้เนือ
้ เยือ
่ อืน
่ เจริญแทรกตัวอยู่ มีหลายประเภทได ้แก่

ค. สเกลอเรนไคมา (Sclerenchyma)
เนือ
้ เยือ่ ชนิดนีป
้ ระกอบด ้วยเซลล์ทม ี่ ผี นังหนามากมีผนังเซลล์ทงั ้
ปฐมภูม ิ (Primary cell wall) และผนังเซลล์ทต ุ ย
ิ ภูม ิ (Secondary
cell wall) เพราะมีสารลิกนิน (Lignin) เคลือบผนังเซลล์ทต ุ ย
ิ ภูม ิ
(Secondarycell wall) จึงเป็ นสว่ นทีทำ ่ ให ้พืชมีความแข็งแรง สเกล
อเรงคิมาประกอบด ้วยเซลล์ 2ชนิดคือ ไฟเบอร์ (Fiber) และ สเกล
อรีด (Sclerid) ซงึ่ แตกต่างกันทีร่ ปู ร่างของเซลล์ไฟเบอร์เป็ นเซลล์
เรียวและยาว สว่ นสเกลอรีด เซลล์มล ี กั ษณะสน ั ้ กว่าและ
มีรปู ร่างแตกต่างกัน พบได ้ตามสว่ นทีแ ่ ข็งแรงของเปลือกไม ้และ
เปลือกหุ ้มเมล็ดหรือเนือ้ ผลไม ้ทีส
่ าก ๆ  
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
้ เยือ
2. เนือ ่ ถาวร (Permanent tissue)
2.1 Simple tissue
2.1.2 Ground tissue

เป็ นเนือ
้ เยือ
่ ทีเ่ ป็ นองค์ประกอบในราก ลำต ้น ใบ ดอก เป็ น
ตัวกลาง ให ้เนือ ้ เยือ
่ อืน
่ เจริญแทรกตัวอยู่ มีหลายประเภทได ้แก่

ง. เอนโดเดอร์มส ิ (Endodermis)
เป็ นเนือ
้ เยือ
่ ทีอ
่ ยูด
่ ้านในแต่เป็ นด ้านนอกของเนือ ้ เยือ่ ลำเลียงของ
ราก เป็ นเนือ ้ เยือ
่ ทีม
่ เี ซลล์คล ้ายพาเรนไคมา แต่ทผ ี่ นังเซลล์ม ี
สารลิกนินและซูเบอร์ลน ิ (Suberin) (ซงึ่ เป็ นสารพวกขีผ ้ งึ้ ) มา
พอกหนาเซลล์เรียงตัวกันแน่นจนไม่มช ี อ่ งว่างระหว่างเซลล์
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
้ เยือ
2. เนือ ่ ถาวร (Permanent tissue)
2.2 Complex tissue
2.2.1 Xylem

ไซเลม ทำหน ้าทีลำ ่ ว่ น


่ เลียงน้ำและแร่ธาตุจากรากไปสูส
ต่าง ๆ ของพืชซงึ่ เรียกว่า คอนดักชน
ั (Conduction) ไซเลม
ประกอบด ้วยเซลล์ 4 ชนิดคือ
 เซลล์พาเรนไคมา (Parenchyma)
 ไฟเบอร์ (Fiber)
 เทรคีด (Tracheid)
 เวสเซล อีลเี มนต์ (Vessel element)

(Functions of Xylem
(1) Xylem helps in conduction of water and solutes.
(2) Xylem provides mechanical support.
(3) Xylem parenchyma acts as storage of food like starch, fatty acids and
other matters like tannin, crystals and water.)
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
ก. เซลล์พาเรนไคมา (Parenchyma) เป็ นเซลล์ชนิดเดียว
กับทีอ ั ้ คอร์เทกซแ
่ ยูใ่ นชน ์ ละพิธ (Pith คือชน ั ้ ทีอ
่ ยูใ่ จกลาง
ของรากพืชใบเลีย ้ งเดีย
่ ว) เป็ นเซลล์ทอี่ อ
่ นนุ่มผนังบาง อม
น้ำได ้ดี ทำหน ้าทีส ่ ะสมอาหารพวกแป้ ง เซลล์พาเรนไคมานี้
เรียกว่าไซเลมพาเรนไคมา (Xylem parenchyma)

ข. ไฟเบอร์ (Fiber) เป็ นเซลล์รป


ู ร่างยาวปลายเรียว มีผนัง
เซลล์หนามีความยาวเหนียวและแข็งแรง แทรกอยูใ่ นไซเลม
(Xylem fibres are sclerenchyma fibres associated with xylem.)
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
ค. เทรคีด (Tracheid) เป็ นเซลล์ยาวผนังหนามีลก ิ นิน
สะสมอยูม ่ ากทีผ ่ นังเซลล์ สว่ นใหญ่มักมีสว่ นบาง ๆ เป็ น
ระยะ เรียกว่า เซลล์มรี ู (Pit) ซงึ่ ไม่มล ี ก
ิ นินสะสม เซลล์มรี ู
เป็ นบริเวณทีน ่ ้ำผ่านจากเทรคีดของเซลล์หนึง่ ไปอีกเซลล์
หนึง่ ปลายสุดของเซลล์มักแหลม เซลล์เมือ ่ โตเต็มทีแ ่ ล ้ว
มักจะตายโพรโทพลาซม ึ สลายไปทำให ้เกิดเป็ นชอ ่ ง (Lu
men) ตรงกลาง เซลล์มรี ป ู ร่างทรงกระบอกหรือเป็ น
สเี่ หลีย
่ ม พบมากในพวกเฟิ รน ์ และจิมโนสเปิ รม์ ในพืชดอก
มีจำนวนน ้อยกว่ามาก และไม่พบในพวกมอส
เทรคีดมีหน ้าทีลำ ่ เลียงน้ำและแร่ธาตุ และยังสามารถสง่
ออกไปทางด ้านข ้างโดยผ่านเซลล์มรี ู การลำเลียง จะเกิด
ได ้ดีตอ ่ เมือ ่ เซลล์ตายแล ้ว เนือ ่ งจากเทรคีด มีความแข็ง
แรงจึงชว่ ยเพิม ่ ความแข็งแรงให ้กับสว่ นของพืชทีม ่ เี ซลล์
ชนิดนีอ ้ ยู่  
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
ง. เวสเซล อีลเี มนต์ (Vessel element) เป็ นเซลล์ทม ี่ ล
ี ก
ั ษณะ
คล ้ายเทรคีด คือ เมือ
่ เซลล์โตเต็มทีแ ่ ล ้วจะตายไป โพรโทพลา
ซมึ ตรงกลางจะสลายไปกลายเป็ นชอ ่ ง (Lumen) ใหญ่ เซลล์ม ี
ผนังหนา เพราะมีลก ิ นินสะสมเชน ่ เดียวกับเทรคีดและเซลล์มรี ู
เชน่ เดียวกับเทรคีด เซลล์มข ี นาดใหญ่แต่สน ั ้ กว่า
เทรคีด ปลายทัง้ สองของเซลล์ตด ั เฉียงและมีรพ ู รุน (Perforati
on)
เวสเซล อีลเี มนต์จะมาเรียงซอนกั ้ นโดยต่อกันเป็ นท่อเรียกว่า
เวสเซล (Vessel) ทีม ่ ผ
ี นังด ้านข ้างหนาและแข็งแรงมาก เพือ ่
ทำหน ้าทีลำ
่ เลียงน้ำและแร่ธาตุ เชน ่ เดียวกับเทรคีด 
 
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
้ เยือ
2. เนือ ่ ถาวร (Permanent tissue)
2.2 Complex tissue
2.2.2 Phloem

โฟลเอ็มทำหน ้าทีลำ ์ ารจากใบไปยังส ว่ นต่าง ๆ


่ เลียงอาหารหรืออินทรียส
ของพืช การลำเลียงน้ำทางโฟลเอ็มเรียกว่า ทรานสโลเคชน ั
(Translocation)

โฟลเอ็มประกอบด ้วยเซลล์ 4 ชนิดคือ

1) เซลล์พาเรนไคมา (Parenchyma) มีอยูใ่ นกลุม ่


่ ของโฟลเอมเชน
เดียวกับไซเลม เรียกว่า phloem parenchyma


2) ไฟเบอร์ (Fiber) เป็ นเสนใยช ว่ ยทำให ้โฟลเอ็มแข็งแรง
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
้ เยือ
2. เนือ ่ ถาวร (Permanent tissue)
2.2 Complex tissue
2.2.2 Phloem

โฟลเอ็มทำหน ้าทีลำ ์ ารจากใบไปยังสว่ นต่าง


่ เลียงอาหารหรืออินทรียส
ๆของพืช การลำเลียงน้ำทางโฟลเอ็มเรียกว่า ทรานสโลเคชนั
(Translocation)
โฟลเอ็มประกอบด ้วยเซลล์ 4 ชนิดคือ

3) ซฟ ี ทิวบ์เมมเบอร์ (Sieve tube member) เป็ นเซลล์ทย ี่ ังมี


ชวี ต
ิ รูปร่างยาวทรงกระบอก ด ้านสุดปลายทัง้ สองของเซลล์มล ี ก
ั ษณะ
ตัดเฉียงบริเวณนีม ้ ี
แผ่นทีม ่ รี พ
ู รุนอยูด ่ ้วยเรียกว่า ซฟ ี เพลต (Sieve plate) ในตอนทีเ่ กิด
ใหม่ซฟ ี ทิวบ์มน ี วิ เคลียส แต่เมือ ่ เจริญเต็มทีแ ่ ล ้วนิวเคลียสและออร์แก
เนลล์อน ื่ ๆ สลายไป แต่เซลล์ยังมีชวี ต ิ อยู่ (ท่อของไซเลม คือ เทรคีด
และเวสเซล ขณะทีทำ ่ หน ้าทีลำ
่ เลียง เป็ นเซลล์ ทีต ่ ายแล ้วแต่ทอ ่ ของ
โฟลเอ็มคือ ซฟ ี ทิวบ์เป็ นเซลล์ทย ี่ ังมีชวี ต
ิ อยู่ ถึงแม ้จะไม่มน
ี วิ เคลียส
แล ้วก็ตาม) ซฟ ี ทิวบ์เมมเบอร์แต่ละเซลล์จะมาเรียงต่อกันเป็ นท่อยาว
เรียกว่า ซฟ ี ทิวบ์ (Sieve tube) ซงึ่ ทำหน ้าทีเ่ ป็ นท่อลำเลียงอาหาร
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
้ เยือ
2. เนือ ่ ถาวร (Permanent tissue)
2.2 Complex tissue
2.2.2 Phloem

โฟลเอ็มทำหน ้าทีลำ ์ ารจากใบไปยังสว่ นต่าง ๆ


่ เลียงอาหารหรืออินทรียส
ของพืช การลำเลียงน้ำทางโฟลเอ็มเรียกว่า ทรานสโลเคชน ั
(Translocation)
โฟลเอ็มประกอบด ้วยเซลล์ 4 ชนิดคือ

4) คอมพาเนียนเซลล์ (Companion cell) เป็ นเซลล์ขนาดเล็กอยู่


ติดกับซฟ ี ทิวบ์เมมเบอร์ ความจริงทัง้ ซฟ ี ทิวบ์เมมเบอร์และคอมพาเนียน
เซลล์นัน้ เกิดมาจากเซลล์ เดียวกัน เมือ ่ แบ่งเซลล์ได ้เซลล์ใหม่ 2 เซลล์
เซลล์หนึง่ จะเปลีย ่ นเป็ นซฟ ี ทิวบ์เมมเบอร์ อีกเซลล์หนึง่ เป็ นคอมพาเนียน
เซลล์ ซฟ ี ทิวบ์เมมเบอร์อาจมีคอมพาเนียนเซลล์เพียง 1 หรือมากกว่า 1
ก็ได ้อยูข
่ ้าง ๆ ทำหน ้าทีช ่ ว่ ยเหลือซฟ ี ทิวบ์เมมเบอร์ ซงึ่ ไม่มน ี วิ เคลียส
แล ้ว เชน ่ ชว่ ยขนสง่ น้ำตาลเข ้ามาในซฟ ี ทิวบ์เมมเบอร์เพือ ่ สง่ ไปยังสว่ น
ต่าง ๆ ของพืช และชว่ ยสร ้างเอ็นไซม์ หรือสารอืน ่ ให ้กับซฟ ี ทิวบ์เมมเบอร์
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
้ เยือ
2. เนือ ่ ถาวร (Permanent tissue)
2.2 Complex tissue
2.2.2 Phloem

โฟลเอ็มทำหน ้าทีลำ่ เลียงอาหารหรืออินทรียส


์ ารจากใบไปยัง
สว่ นต่าง ๆของพืช การลำเลียงน้ำทางโฟลเอ็มเรียกว่า
ทรานสโลเคชน ั (Translocation)

Functions:
 sieve tubes transport organic compounds,
 companion cells helps to regulate the metabolic activities of the
sieve tube elements,
 the phloem fibres give the plant mechanical strength,
 the phloem parenchyma stores compounds such as starch.
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
สรุป การจ ัดระเบียบของต้นพืช
พืชมีทอ่ ลำเลียง ประกอบด ้วยระบบราก (Root System) และระบบ
ยอด (Shoot system) ระบบรากชว่ ยยึดต ้นพืชไว ้กับดินและซอนไซ
ทะลุลงดิน เพือ ึ น้ำและแร่ธาตุ ระบบยอดประกอบด ้วยลำต ้นและ
่ ดูดซม
ใบ ลำต ้นเป็ นโครงร่างทีใ่ ห ้ใบยึดเกาะใบเป็ นแหล่งอาหารโดยการ
สงั เคราะห์ด ้วยแสง   ในพืชมีทอ ่ ลำเลียง เนือ
้ เยือ
่ จัดระเบียบกันเป็ น
ระบบเนือ ่ (Tissue system) ซงึ่ ประกอบด ้วยระบบเนือ
้ เยือ ้ เยือ
่ 3 ชนิด
คือ

้ เยือ
1. ระบบเนือ ่ พืน ้ (Ground tissue system)
2. ระบบเนือ้ เยือ ่ ลำเลียง (Vascular tissue system
3. ระบบเนือ ้ เยือ ่ ผิว (Dermal tissue system)
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
สรุป การจ ัดระเบียบของต้นพืช
 
1. ระบบเนือ ้ เยือ ่ พืน้ (Ground tissue system) ประกอบด ้วย
เนือ ่ เชงิ เดีย
้ เยือ ่ ว (Simple tissue - เนือ
้ เยือ
่ ทีป
่ ระกอบด ้วยเซลล์ชนิด
เดียว)
3 ชนิดคือ เนือ ้ เยือ ่ พาเรนไคมาเซลล์ คอลเลนไคมา และเซลล์สเกล
อเรนไคมา สว่ นใหญ่ของต ้นพืชประกอบด ้วยเนือ ้ เยือ
่ ระบบนี้ ทำหน ้าที่
หลายอย่างรวมทัง้ สงั เคราะห์ด ้วยแสง เก็บสะสมอาหารและให ้ความ
แข็งแรงแก่ต ้นพืช

2. ระบบเนือ ้ เยือ
่ ลำเลียง (Vasscular tissue system) ประกอบ
ด ้วย เนือ ่ เชงิ ซอน
้ เยือ ้ (Complex tissue - เนือ
้ เยือ
่ ทีป่ ระกอบด ้วย
เซลล์หลายชนิด) มี 2 ชนิดคือเนือ ้ เยือ
่ ไซเลมและเนือ ้ เยือ
่ โฟลเอ็มที่
ทำหน ้าทีลำ ่ เลียงน้ำ และแร่ธาตุกบ ั ลำเลียงสารอาหารซงึ่ การลำเลียง
จะติดต่อกันทั่วต ้นพืช

3. ระบบเนือ ้ เยือ
่ ผิว (Dermal tissue system) ประกอบด ้วย
เนือ
้ เยือ ่ กคลุมต ้นพืช ซงึ่ เป็ นเนือ
่ ทีป ่ เชงิ ซอน
้ เยือ ้ 2 ชนิด คือ เอพิเดอร์
มิส และเพริเดิรม ์ (Periderm)เนือ ้ เยือ ่ เพริเดิรม์ จะไปแทนที่ เอพิเดอร์
มิส และเป็ นเปลือกไม ้ (Bark) ชน ั ้ นอกของรากและลำต ้นทีแ ่ ก่แล ้ว
Dermal tissue Ground tissue

Vascular tissue
ขอบเขตเนือ
้ หา
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
โครงสร้างหน้าทีข
่ องราก
โครงสร้างหน้าทีข
่ องลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
โครงสร้างหน้าทีข
่ องใบ
การคายน้ำของพืช
การลำเลียงแร่ธาตุของพืช
การลำเลียงสารอาหาร
โครงสร้างหน้าทีข
่ องราก
รากของพืชมีหน ้าทีสำ
่ คัญ คือ ยึดลำต ้นให ้ติดอยูก
่ บ
ั พืน
้ ดิน
ทำหน ้าทีด ่ ด ึ น้ำและแร่ธาตุ ๆ จากดิน สง่ ไปยังสว่ นต่าง
ู ซม
ๆ ของลำต ้น
รากของพืชบางชนิดทำหน ้าทีส ่ ะสมอาหาร รากเชน ่ นีจ
้ ะมี
ลักษณะเป็ นหัว เชน ่ หัวไชเท ้า แครอท มันเทศ มันแกว
ต ้อยติง่ กระชาย ถั่วพู เป็ นต ้น
รากพืชบางชนิดมีสเี ขียว จึงสง ั เคราะห์ด ้วยแสงได ้ เชน่
รากกล ้วยไม ้
รากบางชนิดทำหน ้าทีค ่ ้ำจุน (Prop root) เชน ่ ไทรย ้อย
เตย ลำเจียก โกงกาง
รากบางชนิดทำหน ้าทีเ่ กาะ (Climbing root) เชน ่ รากพลู
พลูดา่ ง พริกไทย กล ้วยไม ้ เป็ นต ้น
โครงสร้างหน้าทีข
่ องราก
1. การแบ่งบริเวณของราก
เนือ
่ งจากรากถือได ้ว่าเป็ นอวัยวะหนึง่ ของพืชจึงประกอบด ้วยเนือ
้ เยือ
่ ชนิด
ต่าง ๆ ดังภาพ  
โครงสร้างหน้าทีข
่ องราก
 1. การแบ่งบริเวณของราก
แบ่งเป็ นบริเวณต่าง ๆ ได ้ดังต่อไปนี้
1.1 หมวกราก (Root cap) ประกอบด ้วยเซลล์ พาเรน
ไคมา หลายชน ั ้ ทีป
่ กคลุมเนือ
้ เยือ ่ เจริญทีป ่ ลายรากที่
อ่อนแอไว ้ เซลล์ในบริเวณนีม ้ อี ายุสนั ้ เนือ
่ งจากเป็ นบริเวณ
ทีม่ กี ารฉีกขาดอยูเ่ สมอ เพราะสว่ นนีจ ้ ะยาวออกไปและ
ชอนไชลึกลงไปในดินเซลล์เรียงตัวกันอย่างหลวม ๆสว่ น
ใหญ่รากพืชจะมีหมวกราก ซงึ่ เป็ นโครงสร ้างทีสำ ่ คัญใน
การนำสว่ นอืน ่ ๆ ของรากลงไปในดิน เป็ นการป้ องกันสว่ น
อืน
่ ๆ ของรากไม่ให ้เป็ นอันตรายในการไชลงดิน เซลล์
บริเวณหมวกรากจะหลัง่ เมือกลืน ่ (Mucilage) ออกมา
สำหรับให ้ปลายรากแทงลงไปในดินได ้ง่ายขึน ้
1.2 บริเวณเซลล์แบ่งต ัว (Zone of cell division)
อยูถ ่ ัดจากบริเวณหมวกรากขึน ้ ไป ประกอบด ้วยเซลล์ของ
เนือ้ เยือ
่ เจริญบริเวณปลายราก (Apical meristem) เซลล์
โครงสร้างหน้าทีข
่ องราก
1.3 บริเวณเซลล์ยด ื ต ัวตามยาว (Zone of cell
elongation) ประกอบด ้วยเซลล์ทม ู ร่างยาว ซงึ่ เกิด
ี่ รี ป
มาจากเซลล์ของเนือ ้ เยือ
่ เจริญทีแ่ บ่งตัวแล ้ว อยูใ่ นบริเวณ
ทีส ่ งู กว่า การทีเ่ ซลล์ขยายตัวตามยาวทำให ้รากยาวเพิม ่
ขึน้
1.4 บริเวณเซลล์เจริญเติบโตเต็มที่ (Zone of
maturation) เซลล์ในบริเวณนีเ้ จริญเติบโตเต็มทีแ ่ ล ้วมี
การเปลีย ่ นแปลงไปเป็ นเนือ ้ เยือ
่ ถาวรชนิดต่าง ๆในบริเวณ
นีม
้ เซลล์
ี ขนราก (Root hair cell) เป็ นเซลล์เดีย ่ วทีม
่ ขี น
รากเป็ นสว่ นหนึง่ ของผนังเซลล์ยน ื่ ออกไปเพือ ่ เพิม
่ พืน
้ ทีผ ่ วิ
ในการดูดซม ึ น้ำและแร่ธาตุ เซลล์ขนรากเกิดจากการ
เปลีย ่ นแปลงของเซลล์ เอพิเดอร์มส ิ เซลล์ขนรากจะมีอยู่
เฉพาะบริเวณนีเ้ ท่านัน ้ มีอายุประมาณ 7-8 วัน แล ้วจะ
เหีย ่ วแห ้งตายไป แต่ขนรากในบริเวณเดิมจะมีเซลล์ใหม่
สร ้างเซลล์ขนรากขึน ้ มาแทนที่ เนือ ้ เยือ่ ทีอ ่ ยูบ
่ ริเวณนีเ้ ริม ่ มี
โครงสร้างหน้าทีข
่ องราก
2. โครงสร้างภายในของราก
เนือ้ เยือ
่ ของรากพืชใบเลีย ้ งคูแ่ ละใบเลีย ้ งเดีย ่ ว เมือ
่ ตัดตาม
ขวางแล ้วนำไปสอ ่ งดูด ้วยกล ้องจุลทรรศน์ พบว่ามีการเรียง
ตัวของเนือ ้ เยือ่ เป็ นชน ั ้ ๆ เรียงจากด ้านนอกเข ้าสูด ่ ้านใน
ดังนี้
2.1. เอพิเดอร์มส ิ (Epidermis) เป็ นเนือ ้ เยือ่ ทีอ่ ยูช
่ น ั้
นอกสุดมีการเรียงตัวของเซลล์เพียงชน ั ้ เดียว แต่เรียงชด ิ
กัน เซลล์มผ ี นังบางไม่มค ี ลอโรพลาสต์ มีแวคิวโอลขนาด
ใหญ่ บางเซลล์เปลีย ่ นไปเป็ นเซลล์ขนราก เอพิเดอร์มส ิ
มีหน ้าทีป ่ ้ องกันอันตรายให ้แก่เนือ ้ เยือ
่ ทีอ ่ ยูภ ่ ายในขนราก
ของเอพิเดอร์มส ิ ชว่ ยดูดน้ำและแร่ธาตุ และป้ องกันไม่ให ้
น้ำเข ้ารากมากเกินไป
2.2 คอร์เทกซ ์ (Cortex) อยูร่ ะหว่างชน ั ้ เอพิเดอร์มส ิ
และสตีล เนือ ่ สว่ นนีป
้ เยือ ้ ระกอบด ้วยเซลล์ พาเรนไคมา
เป็ นสว่ นใหญ่ เซลล์เหล่านีม ้ ผ
ี นังบางอ่อนนุ่ม อมน้ำได ้ดี
โครงสร้างหน้าทีข
่ องราก
2.3 เอนโดเดอร์มส ิ (Endodermis) เป็ นเซลล์แถว จะเห็น
ั เจนในรากของพืชใบเลีย
ได ้ชด ้ งเดีย
่ ว เซลล์ชน ั ้ นีเ้ มือ
่ มีอายุ
มากขึน ้ จะมีสารซูเบอลิน (Suberin) หรือ ลิกนิน (Lignin)
มาเคลือบทำให ้ผนังหนาขึน ้ ทำให ้เป็ นแถบหรือปลอกอยู่
เซลล์แถบหนาดังกล่าว เรียกว่าแคสพาเรียนสตริป
(Casparian strip) ซงึ่ น้ำและอาหารไม่สามารถผ่านเข ้า
ออกได ้โดยสะดวก ชว่ งนีจ ้ ะอยูใ่ นบริเวณทีม่ ข
ี นราก บาง
ทฤษฎีอธิบายว่า การลำเลียงน้ำและแร่ธาตุสามารถผ่าน
เซลล์บางเซลล์ทอ ั ้ เอนโดเดอร์มส
ี่ ยูใ่ นชน ิ ได ้ เซลล์เหล่านี้
มีผนังบางเรียกว่า พาสเซจเซลล์ (Passage cell) และพาส
เซจเซลล์นจ ี้ ะอยูต
่ รงกับแนวของท่อไซเลม
โครงสร้างหน้าทีข
่ องราก
2.4 สตีล (Stele) เป็ นชน ั ้ ทีอ
่ ยูถ
่ ัดจากชนั ้ เอนโดเดอร์มส ิ
เข ้าไปในราก สตีลจะแคบกว่า คอร์เทกซ ์ สตีล ประกอบ
ด ้วยชน ั ้ ต่าง ๆ คือ
2.4.1 เพริไซเคิล (Pericycle) ประกอบด ้วยเซลล์ พา
เรนไคมา เป็ นสว่ นใหญ่ สว่ นใหญ่เซลล์เรียงตัวแถวเดียว
อยูด ่ ้านนอกสุดของสตีล เพริไซเคิล พบเฉพาะในราก
เท่านัน ้ และเห็นชด ั เจนในรากพืชใบเลีย ้ งคู่ เพริไซเคิล เป็ น
สว่ นทีใ่ ห ้กำเนิดรากแขนง (Secondary root) ทีแ ่ ตกออก
ทางด ้านข ้าง (Lateral root)    
โครงสร้างหน้าทีข
่ องราก
2.4.2 ม ัดท่อลำเลียงหรือวาสคิวลาร์บ ันเดิล
(Vascular bundle)
ประกอบด ้วยไซเลม และโฟลเอ็ม ในรากพืชใบเลีย ้ งคูจ่ ะ
เห็นการเรียงตัวของไซเลมทีอ ่ ยูใ่ จกลางราก เรียงเป็ นแฉก
(Arch) ชด ั เจนและมีโฟลเอ็มอยูร่ ะหว่างแฉกนัน ้ แฉกที่
เห็นมีจำนวน 1-6 แฉก แต่โดยทั่วไปพบเพียง 4 แฉก
สำหรับรากพืชใบเลีย ้ งเดีย
่ วไซเลมมิได ้เข ้าไปอยูใ่ จกลาง
ราก แต่ยังเรียงตัวเป็ นแฉกและมีโฟลเอ็มแทรกอยูร่ ะหว่าง
แฉกเชน ่ เดียวกัน จำนวนแฉกของไซเลมในรากพืชใบ
เลีย
้ งเดีย
่ วมีมากกว่าในรากพืชใบเลีย ้ งคู่
รากพืชใบเลีย ้ งคูย
่ ังมี วาสคิวลาร์ แคมเบียม (Vascular
cambium) หรือแคมเบียม (Cambium) ซงึ่ เป็ นเนือ ้ เยือ

เจริญเกิดขึน ้ ระหว่าง โฟลเอ็มขัน ้ แรกและไซเลมขัน ้ แรก
ทำให ้เกิดการเจริญเติบโตขัน ้ ทีส ่ อง (Secondary
growth) โดยแบ่งตัวให ้ไซเลมขัน ้ ทีส่ อง (Secondary
2.4.3 พิธ (Pith) เป็ นสว่ นใจกลางของราก หรืออาจเรียก

ว่า ไสในของราก ประกอบด ้วยเซลล์ พาเรนไคมาในพืชใบ
เลีย
้ งเดีย ่ วจะเห็นสว่ นนีไ ั เจนสว่ นในรากพืชใบ
้ ด ้อย่างชด
เลีย้ งคู่ ใจกลางของรากจะเป็ นไซเลม
โครงสร้างหน้าทีข
่ องราก
3. หน้าทีข ่ องราก
รากมีหน ้าทีห ่ ลักทีสำ
่ คัญ คือ
   3.1 ดูด (Absorption) น้ำและแร่ธาตุทล ี่ ะลายน้ำจาก
ดินเข ้าไปในลำต ้น
   3.2 ลำเลียง (Conduction) น้ำและแร่ธาตุรวมทัง้
อาหารซงึ่ พืชสะสมไว ้ใน รากขึน ่ ว่ นต่าง ๆ ของลำต ้น
้ สูส
   3.3 ยึด (Anchorage) ลำต ้นให ้ติดกับพืน ้ ดิน
   3.4 แหล่งสร้างฮอร์โมน (Producing hormones)
รากเป็ นแหล่ง สำคัญในการผลิตฮอร์โมนพืชหลายชนิด
เชน่ ไซโทไคนิน จิบเบอเรลลิน ซงึ่ จะ ถูกลำเลียงไปใช ้
เพือ่ การเจริญพัฒนาสว่ นของลำต ้น สว่ นยอด และสว่ นอืน ่
ๆ ของพืช นอกจากนีย ้ ังมีรากของพืชอีกหลายชนิดทีทำ ่
หน ้าทีพ่ เิ ศษ
โครงสร้างหน้าทีข
่ องราก
4. ชนิดของราก
ถ ้าพิจารณาตามการเกิดของราก แบ่งรากได ้เป็ นชนิดใหญ่
ๆ ได ้ 3 ชนิด ตามจุดกำเนิดของราก ดังนี้  
4.1 รากแก้ว (Primary root หรือ Tap root) เป็ น
รากทีเ่ จริญมาจาก แรดิเคิล (Radicle) ของเอ็มบริโอ แล ้ว
่ น
พุง่ ลงสูด ิ ตอนโคนรากจะใหญ่แล ้วค่อย ๆ เรียวไปจนถึง
ปลายราก พืชหลายชนิดมีรากแก ้วเป็ นรากสำคัญตลอด
ชวี ติ
4.2 รากแขนง (Secondary root หรือ Lateral
root) เป็ นรากทีเ่ จริญมาจากเพริไซเคิล ของรากแก ้ว
การเจริญเติบโตของรากชนิดนีจ ้ ะขนานไปกับพืน้ ดินและ
สามารถแตกแขนงได ้เรือ ่ ยไป
4.3 รากพิเศษ (Adventitious root) เป็ นรากทีง่ อก
จากสว่ นต่าง ๆ ของพืชเชน ่ ลำต ้นหรือใบ
โครงสร้างหน้าทีข
่ องราก
4.3 รากพิเศษ (Adventitious root) เป็ นรากทีง่ อกจาก
สว่ นต่าง ๆ ของพืชเชน ่ ลำต ้นหรือใบ ได ้แก่
4.3.1 รากฝอย (Fibrous root) เป็ นรากทีง่ อกออก
จากโคนลำต ้น เพือ ่ แทนรากแก ้วทีฝ ่ ่ อไป พบมากในพืชใบ
เลีย้ งเดีย ่ รากข ้าว ข ้าวโพด หญ ้า หมากมะพร ้าว
่ วเชน
เป็ นต ้น
4.3.2 รากค้ำจุน (Prop root หรือ Buttress root)
เป็ นรากทีง่ อกจากโคนต ้นหรือกิง่ บนดินแล ้วหยั่งลงดิน
เพือ ่ รากข ้าวโพดทีง่ อกออกจากโคนต ้น
่ พยุงลำต ้น เชน
รากเตย ลำเจียกไทรย ้อย แสม โกงกาง
4.3.3 รากเกาะ (Climbing root) เป็ นรากทีแ ่ ตกออก
จากข ้อของลำต ้นมาเกาะตามหลัก เพือ ่ ชูลำต ้นขึน
้ สูง เชน ่
รากพลู พริกไทย กล ้วยไม ้ พลูดา่ ง เป็ นต ้น
4.3.4 รากหายใจ (Pneumatophore หรือ
Aerating root) เป็ นรากทีย ่ น
ื่ ขึน
้ มาจากดินหรือน้ำเพือ ่
    4.3.5 รากปรสต ิ (Parasitic root) เป็ นรากของพืช
พวกปรสต ิ ทีส
่ ร ้างHaustoria แทงเข ้าไปในลำต ้นของพืช
ทีเ่ ป็ นโฮสต์ เพือ ่ แย่งน้ำและ อาหารจากโฮสต์ เชน ่ ราก
กาฝาก ฝอยทอง เป็ นต ้น
4.3.6 รากสงเคราะห์ ั ดว้ ยแสง (Photosynthetic
root) เป็ นรากทีแ ่ ตกจากข ้อของลำต ้นหรือกิง่ และอยูใ่ น
อากาศจะมีสเี ขียวของคลอโรฟิ ลล์ จึงชว่ ยสงั เคราะห์ด ้วย
แสงได ้ เชน ่ รากกล ้วยไม ้ นอกจากนีร้ ากกล ้วยไม ้ยังมี
นวม(Velamen) หุ ้มตามขอบนอกของรากไว ้เพือ ่ ดูด
ความชน ื้ และเก็บน้ำ
4.3.7 รากสะสมอาหาร (Food storage root) เป็ น
รากทีส ่ ะสมอาหารพวกแป้ งโปรตีน หรือน้ำตาลไว ้ จนราก
เปลีย ่ นแปลงรูปร่างมีขนาดใหญ่ ซงึ่ มักจะเรียกกันว่า“หัว”
เชน ่ หัวแครอท หัวผักกาด หรือหัวไชเท ้า หัวผักกาดแดง
หรือแรดิช (Radish) หัวบีท (Beet root) และหัวมันแกว
เป็ นรากสะสมอาหารทีเ่ ปลีย ่ นแปลงมาจากรากแก ้ว สว่ น
รากสะสมอาหารของมันเทศ รักเร่ กระชาย เปลีย ่ นแปลง
มาจากรากแขนง
โครงสร้างหน้าทีข
่ องราก
4.3 รากพิเศษ (Adventitious root) เป็ นรากทีง่ อกจาก
สว่ นต่าง ๆ ของพืชเชน ่ ลำต ้นหรือใบ ได ้แก่
4.3.1 รากฝอย (Fibrous root) เป็ นรากทีง่ อกออก
จากโคนลำต ้น เพือ ่ แทนรากแก ้วทีฝ ่ ่ อไป พบมากในพืชใบ
เลีย้ งเดีย ่ รากข ้าว ข ้าวโพด หญ ้า หมากมะพร ้าว
่ วเชน
เป็ นต ้น
4.3.2 รากค้ำจุน (Prop root หรือ Buttress root)
เป็ นรากทีง่ อกจากโคนต ้นหรือกิง่ บนดินแล ้วหยั่งลงดิน
เพือ ่ รากข ้าวโพดทีง่ อกออกจากโคนต ้น
่ พยุงลำต ้น เชน
รากเตย ลำเจียกไทรย ้อย แสม โกงกาง
4.3.3 รากเกาะ (Climbing root) เป็ นรากทีแ ่ ตกออก
จากข ้อของลำต ้นมาเกาะตามหลัก เพือ ่ ชูลำต ้นขึน
้ สูง เชน ่
รากพลู พริกไทย กล ้วยไม ้ พลูดา่ ง เป็ นต ้น
4.3.4 รากหายใจ (Pneumatophore หรือ
Aerating root) เป็ นรากทีย ่ น
ื่ ขึน
้ มาจากดินหรือน้ำเพือ ่
โครงสร้างหน้าทีข
่ องราก
ทบทวนเล็กน้อย
+
โครงสร้าง
และ
หน้าที่ของพืชดอก (ต่อ)
Dr.KK
April 2011
Apical
meristem Epidermis
Intercalary
meristem
Cambium
Lateral Cork / Phellem
Meristem
meristem Protective
tissue

เนื้ อเยื่อ
Parenchyma

ของพืช Simple Collenchyma


permanent
ดอก tissue Ground tissue
Sclerenchyma

Permanent tissue
Endodermis
Parenchyma
Fiber
Xylem Tracheid
Complex
permanent Vessel
tissue Parenchyma element
Fiber
Sieve tube
Phloem member
Companion cell
้ เยือ
เนือ ่ ของพืชดอก
xylem เป็ นทอ่ กลวง มี

โครงสร้างหน้าทีข
่ องราก อุปสรรคคือตอ ้ งลำเลียง
น้ำตา้ นกับแรงดึงดูดของ
โลก
1. การแบ่งบริเวณของราก
เนือ
่ งจากรากถือได ้ว่าเป็ นอวัยวะหนึง่ ของพืชจึงประกอบด ้วยเนือ ้ เยือ่ ชนิด
Endodermis มี ต่าง ๆ ดังภาพ  
lignin และ suberin
เรี ยกวา่ casperian
strip ซ่ึงเป็ นอุปสรรค
ไมย่ อมให้น้ำไหลผา่ น
แตจ่ ะผา่ นได้ตรงสว่ น
ที่เรี ยกวา่ passage
cell ซ่ึงไมม ่ ี
casperianstrip กัน เซลลเ์ รี ยงเดี่ยว (เรี ยงชั น้

อยูเ่ ทา่ นัน เดียว)ทำหน้าที่ดูดน้ำ
และแร่ธาตุ
โครงสร้างหน้าทีข
่ องลำต้น
ลำต ้น (Stem) เป็ นอวัยวะหรือสว่ นของพืช ซงึ่ มักจะเจริญขึน ้
เหนือดินในทิศทางต ้านต่อแรงดึงดูดโลก (Negative
geotropism) ซงึ่ เป็ นทิศทางทีเ่ จริญตรงกันข ้ามกับราก
ยกเว ้นลำต ้นบางชนิดทีม ่ ก
ี ารเปลีย่ นแปลงไปเจริญตรงกันข ้าม
กับรากและลำต ้นบางชนิดทีม ่ ก
ี ารเปลีย
่ นแปลงไปเจริญอยูใ่ ต ้ดิน
ลำต ้นยังเป็ นทีเ่ กิดของใบอีกด ้วย ในชว ่ งทีลำ
่ ต ้นยังอ่อนอยูม ่ ักจะ
มีสเี ขียวเนือ
่ งจากสข ี อง Chlorophyll
ลักษณะของลำต ้นทีแ ่ ตกต่างจากรากคือ มีข ้อ (Node) และ
ปล ้อง (Internode)บริเวณทีเ่ ป็ นข ้อมักพบตา (Bud) ทีจ ่ ะเจริญ
ต่อไปเป็ นกิง่ หรือดอก
ลำต ้นพืชใบเลีย ้ งเดีย ่ ว เห็นข ้อปล ้องได ้อย่างชด ั เจน ตัวอย่าง
เชน่ ต ้นไผ่ มะพร ้าว หมาก หญ ้า เป็ นต ้น สว่ นในพืชใบเลีย ้ งคูจ ่ ะ
เห็นปล ้องในชว่ งทีลำ ่ ต ้นยังอ่อนอยู่ เมือ ่ ลำต ้นมีอายุมากขึน ้ มีการ
สร ้างคอร์กหุ ้มทำให ้มองไม่เห็นข ้อปล ้อง
โครงสร้างหน้าทีข
่ องลำต้น
1. โครงสร้างภายในของลำต้นพืชใบ
้ งคู่
เลีย
1.1 เอพิเดอร์มส ิ (Epidermis) อยูด่ ้านนอกสุดปกติม ี
อยูเ่ พียงแถวเดียวอาจ
เปลีย
่ นแปลงเป็ น เซลล์คม ุ (Guard cell) ขน หรือ
หนาม ด ้านนอกของ เอพิ
เดอร์มสิ มีควิ ทิน (cutin)
เคลือบอยู่
โครงสร้างหน้าทีข
่ องลำต้น
1.2 คอร์เทกซ ์ (Cortex) ชน ั ้ คอร์เทกซ ์ ของลำต ้นแคบ
กว่าของราก สว่ นใหญ่เป็ น Parenchyma ซงึ่ เป็ น
เนือ
้ เยือ่ ชนิดหนึง่ ทีป
่ ระกอบด ้วย Parenchyma cells
เซลล์บริเวณด ้านนอก 2-3 แถว ทีอ ่ ยูต ่ ด
ิ กับ ชน ั้
epidermis เป็ นเซลล์คอลเลนไคมา (collenchyma)
่ ว่ ยให ้ลำต ้นมีความแข็งแรงขึน
ทีช ้ และมีเนือ ้ เยือ ่ สเกล
อเรนไคมา (sclerenchyma) แทรกอยูท ่ ั่วๆไป
ระยะแรกทีลำ ่ ต ้นยังอ่อนอยู่ พาเรนไคมา อาจมี
คลอโรพลาสต์ ชว่ ยในการสงั เคราะห์ด ้วยแสง เรียก
เซลล์นวี้ า่ คลอเรนไคมา (Chlorenchyma)
การแตกกิง่ ของลำต้นแตกมาจากชน ั้ คอร์
เทกซ ์ ชน ั ้ คอร์เทกซน ์ ส ิ้ สุดที่ เอนโดเดอร์มส
ี้ น ิ
(endodermis) ในลำต ้นพืชสว่ นใหญ่จะเห็น เอนโดเด
อร์มส ิ ได ้ไม่ชดั เจนหรืออาจจะไม่ม ี ต่างจากรากทีเ่ ห็น
โครงสร้างหน้าทีข
่ องลำต้น
เมือ
่ ลำต ้นเจริญเติบโตมากยิง่ ขึน้ เซลล์ พาเรนไคมา
(parenchyma) หรือ คอลเลนไคมา (collenchyma) ใน
ชนั ้ คอร์เทกซ ์ จะแปรสภาพเป็ น คอร์กแคมเบียม (Cork
cambium) ซงึ่ จะแบ่งตัวตลอดเวลาให ้ คอร์ก หรือ เฟล
เลม (Phellem) ทางด ้านนอก
เซลล์เหล่านีม้ อ ั ้ มากและตายเร็วและมีสารพวก ซู
ี ายุสน
เบอริน หรือ ลิกนิน มาสะสม ทำให ้ชน ั ้ คอร์ก หนาขึน
้ และ
ดันเอพิเดอร์มส ิ ให ้หลุดร่วงไป
โครงสร้างหน้าทีข
่ องลำต้น
1.3 สตีล (Stele) ในลำต ้นชน ั ้ นีจ้ ะกว ้างมากไม่สามารถ
แบ่งแยกออกจากคอร์เทกซไ์ ด ้ชด ั เจน ซงึ่ แตกต่างจากราก
ทีแ ่ บ่งชน ั ้ เห็นได ้ชด
ั เจนกว่า ชน ั ้ นีม ้ สี ว่ นประกอบต่าง ๆ ดังนี้
ก. วาสคิวลาร์บน ั เดิล (vascular buddle) หรือมัดท่อ
ลำเลียง ประกอบด ้วยเนือ ้ เยือ ่ xylem อยูด ่ ้านในและ phloe
m อยูด ่ ้านนอก มัดท่อลำเลียงจะเรียงตัวอยูใ่ นแนวรัศมี
เดียวกันและเรียงอยูร่ อบลำต ้นอย่างมีระเบียบระหว่าง
เนือ ้ เยือ
่ ทัง้ สองชนิดมี วาสคิวลาร์แคมเบียม (vascular ca
mbium)อยูต ่ รงกลางในพืชใบเลีย ้ งคู่
ข. พิธ (Pith) เป็ นเนือ ้ เยือ
่ ชนั ้ ในสุดของลำต ้น เนือ ่ สว่ น
้ เยือ
นีค
้ อ ื พาเรนไคมาทำหน ้าทีส ่ ะสมอาหารพวกแป้ งหรือสาร
อืน่ ๆ เชน ่ ลิกนิน ผลึกแทนนิน (Tannin) เป็ นต ้น
โครงสร้างหน้าทีข
่ องลำต้น
2. ้ งเดีย
โครงสร้างภายในของลำต้นพืชใบเลีย ่ ว

ลำต ้นพืชใบเลีย ่ วสว่ นใหญ่มก


้ งเดีย ี ารเจริญเติบโตขัน ้ ต ้น (Primary
growth) เท่านัน ้
มีเนือ้ เยือ ั ้ ต่าง ๆ เชน
่ ชน ่ เดียวกับลำต ้นพืชใบเลีย ้ งคู่ คือ มีชนั ้ เอพิเดอร์
มิสคอร์เทกซ ์ และ สตีล ต่างกันทีม ่ ัดท่อลำเลียงรวมกันเป็ นกลุม ่ ๆ
ประกอบด ้วยเซลล์คอ ่ นข ้างกลมขนาดใหญ่ 2 เซลล์ ได ้แก่ไซเลม
และมีเซลล์เล็ก ๆ ด ้านบนคือ โฟลเอ็มสว่ นทางด ้านล่างของไซเลม
เป็ นชอ ่ งกลม ๆ เชน ่ กันคือชอ ่ งอากาศ
กลุม่ ท่อลำเลียงจะกระจายอยูท ุ สว่ นของลำต ้น แต่จะมีปริมาณรอบ
่ ก
นอกมากกว่าภายใน มัดท่อลำเลียงไม่มเี นือ ้ เยือ่ เจริญด ้านข ้างหรือ
แคมเบียมจึงทำให ้การเจริญด ้านข ้างมีความจำกัด
มักจะเจริญทางด ้านสูงมากกว่าเพราะมีเนือ ้ เยือ
่ เจริญข ้อและปล ้อง
ทำให ้ยืดยาวได ้ดีกว่า
โครงสร้างหน้าทีข
่ องลำต้น
2. ้ ง
โครงสร้างภายในของลำต้นพืชใบเลีย
เดีย
่ ว (ต่อ)
พืชบางชนิดเนือ ้ เยือ่ ตรงกลางจะสลายไปเป็ นชอ ่ งกลวงภายในของลำต ้น
เรียกว่า ชอ่ งพิธ (Pith cavity) เชน ่ ในลำต ้นของต ้นไผ่ หญ ้า เป็ นต ้น
มีพช ื ใบเลีย้ งเดีย่ วบางชนิด เชน ่ จ ันทน์ผา หมากผูห ้ มากเมีย จะมี
แคมเบียม เป็นเนือ ้ เยือ่ เจริญคล้ายลำต้นพืชใบเลีย ้ งคู่ ทำให้เจริญ
เติบโตทางด้านข้างได้และสามารถสร้าง คอร์กได้เมือ ่ มีอายุมากขึน

ในลำต ้นพืชใบเลีย ้ งเดีย ่ ว ทีม
่ ัดท่อลำเลียงจะมี บันเดิลชท ี (Bundle
sheath) ซงึ่ เป็ นเนือ ้ เยือ่ พวก พาเรนไคมา ทีม ่ แ
ี ป้ งสะสม หรืออาจเป็ น
เนือ
้ เยือ
่ สเกลอเรนไคมา มาหุ ้มล ้อมรอบเอาไว ้
โครงสร้างหน้าทีข
่ องลำต้น
เปรียบเทียบล ักษณะทีแ ้ งคูแ
่ ตกต่างระหว่างลำต้นพืชใบเลีย ้ ง
่ ละพืชใบเลีย
เดีย
่ ว
โครงสร้างหน้าทีข
่ องลำต้น
 หน้าทีข
่ องลำต้น ทีสำ
่ ค ัญคือ
1. เป็นแกนสำหร ับพยุง (Support) กิง่ ก ้าน ใบ และดอก
ให ้ได ้รับแสงแดดมากทีส่ ด
ุ เนือ
่ งจากแสงแดดจำเป็ นสำหรับ
กระบวนการสร ้างอาหารของพืช จึงต ้องมีกระบวนการทีจ ่ ะคลี่
ใบให ้ได ้รับแสงแดดได ้อย่างทั่วถึง

2. เป็นต ัวกลางในการลำเลียง (Transport) น้ำ แร่ธาตุ


และอาหารสง่ ผ่านไปสูส ่ ว่ นต่าง ๆ ของพืช คือ เมือ
่ ลำต ้นได ้
รับน้ำและแร่ธาตุทส ี่ ง่ มาจาก
รากแล ้วลำต ้นจะลำเลียงสง่ ไปยังใบและสว่ นอืน ่ ๆ เมือ
่ ใบ
สงั เคราะห์อาหารโดยกระบวนการสงั เคราะห์ด ้วยแสงแล ้วจะ
สง่ ผ่านไปยังสว่ นต่าง ๆ ของพืช เชน ่ เดียวกัน

3. นอกจากนี้ ลำต ้นยังทำหน้าทีต ่ า่ งๆ เพิม


่ อีกหลายอย่าง
ได ้แก่ สะสมอาหาร แพร่พันธุ์ สงั เคราะห์ด ้วยแสง และยังอาจ
โครงสร้างหน้าทีข
่ องลำต้น
 ชนิดของลำต้น
มีการแบ่งชนิดของลำต ้นออกเป็ นสองพวกใหญ่ ๆ คือ ลำต ้น
เหนือดิน (Terrestrial stem) และลำต ้นใต ้ดิน (Underground
stem)
1. ลำต้นเหนือดิน (Terrestrial stem) ลำต ้นเหนือดิน เป็ น
ลำต ้นทีป ่ รากฏอยูเ่ หนือพืน ้ ดินทั่ว ๆ ไปของต ้นไม ้ต่าง ๆ ทัง้
ต ้นไม ้ใหญ่ ไม ้พุม ่ ไม ้ล ้มลุก ทัง้ ทีเ่ ป็ นไม ้เนือ้ แข็งและไม ้เนือ

อ่อน ลำต ้นเหนือดินบางชนิด ยังเปลีย ่ นแปลงรูปร่างและ
หน ้าทีไ่ ด ้ต่างกัน
2. ลำต้นใต้ดน ิ (Underground stem) สว่ นใหญ่มักเข ้าใจ
ผิดว่าเป็ นราก เนือ ่ งจากมีรากแตกออกมาจากลำต ้นเหล่านัน ้
ลักษณะเหมือนกับรากแขนงแตกออกมาจากรากแก ้ว
ลักษณะของลำต ้นใต ้ดินทีแ ่ ตกต่างจากรากคือมีข ้อ และ
ปล ้องเห็นได ้ชด ั เจนบางครัง้ มีตาอยูด ่ ้วย ต ้นไม ้ทีม
่ ลำ
ี ต ้น
ใต ้ดินมักมีอายุยน ื ในแต่ละปี จะสง่ หน่อ ทีเ่ ป็ นสว่ นของลำต ้น
โครงสร้างหน้าทีข
่ องลำต้น
 ลำต้นเหนือดิน (Terrestrial stem) ลำต ้นเหนือดิน เป็ น
ลำต ้นทีป ่ รากฏอยูเ่ หนือพืน ้ ดินทั่ว ๆ ไปของต ้นไม ้ต่าง ๆ ทัง้
ต ้นไม ้ใหญ่ ไม ้พุม ่ ไม ้ล ้มลุก ทัง้ ทีเ่ ป็ นไม ้เนือ
้ แข็งและไม ้เนือ้
อ่อน ลำต ้นเหนือดินบางชนิด ยังเปลีย ่ นแปลงรูปร่างและหน ้าที่
ได ้ต่างกันดังนี้
1. ลำต้นเลือ ้ ยขนานไปก ับผิวดิน หรือผิวน้ำ (Prostrate
หรือ Creeping stem) สว่ นใหญ่ของพืชพวกนีม ้ ลำ
ี ต ้นอ่อน
ตัง้ ตรงไม่ได ้ จงึ ต ้องเลือ้ ยขนานไปกับผิวดิน เชน ่ ผักบุ ้ง หญ ้า
แตงโม บัวบก ผักกระเฉด ผักตบชวา สตรอเบอรี่ เป็ นต ้น
บริเวณข ้อมีรากแตกเป็ นแขนงออกมาแล ้วปั กลงดินเพือ ่ ยึด
ลำต ้นให ้ติดแน่น กับทีม ่ กี ารแตกแขนงลำต ้นออกจากตาบริเวณ
ทีเ่ ป็ นข ้อ ทำให ้มีลำต ้นแตกแขนงออกไป ซงึ่ เป็ นการแพร่พันธุ์
วิธห ี นึง่ แขนงทีแ ่ ตกออกมาเลือ ้ ยขนานไปกับผิวดินหรือน้ำนี้
เรียกว่า สโตลอน (Stolon) หรือรันเนอร์ (Runner) ทีต ่ รงกับ
ภาษาไทยว่า ไหล  
โครงสร้างหน้าทีข
่ องลำต้น
2. ลำต้นเลือ ้ ยขึน
้ สูง (Climbing stem หรือ Climber)
พืชพวกนีม ้ ลำ ี ต ้นอ่อนเชน ่ เดียวกับพวกแรก แต่ไต่ขน ึ้ สูงโดย
ขึน
้ ไปตามหลักหรือต ้นไม ้ทีอ ่ ยูต
่ ด
ิ กัน วิธก ี ารไต่ขน
ึ้ สูงนัน้ มีอยู่
หลายวิธค ี อื
ก. ใชลำ ้ ต้นพ ันหล ักเป็นเกลียวขึน ้ ไป (Twinin
g stem หรือ Twiner) การพันอาจเวียนซายหรื ้ อเวียนขวา
เชน ่ ต ้นถั่ว ฝอยทอง เถาวัลย์ชนิดต่าง ๆ
ผักบุ ้งฝรั่ง  บอระเพ็ด
ข. ลำต้นเปลีย ่ นเป็นมือเกาะ (Stem tendril หรือ
Tendril climber) มือเกาะจะบิดเป็ นเกลียวคล ้ายสปริง
เพือ ่ ให ้มีการยืดหยุน ่ เมือ
่ ลมพัดผ่านมือเกาะจะยืดหดได ้
ตัวอย่างเชน ่ ต ้นบวบ น้ำเต ้า ฟั กทอง องุน ่ แตงกวา ตำลึง พวง
ชมพู กะทกรก ลัดดา ลิน ้ มังกร เสาวรส โคกกระออม เป็ นต ้น (
บางครัง้ Tendril อาจเกิดจากใบทีเ่ ปลีย ่ นแปลง จะทราบจาก
โครงสร้างหน้าทีข
่ องลำต้น
ค. ใชร้ ากพ ัน (Root climber) เป็ นลำต ้นทีไ่ ต่ขน ึ้ สูง
โดยงอกรากออกมาบริเวณข ้อยึดกับหลักหรือต ้นไม ้ต ้นอืน ่
ตัวอย่างเชน ่ ต ้นพลู พลูดา่ ง พริกไทย
รากพืชเหล่านีห ้ ากยึดติดกับต ้นไม ้จะไม่แทงรากเข ้าไปในลำต ้น
ของพืชทีเ่ กาะ ไม่เหมือนพวกกาฝากหรือฝอยทองซงึ่ เป็ นพืช
ปรสต ิ ทีแ่ ทงรากเข ้าไปในมัดท่อลำเลียงของพืชทีเ่ กาะ
ง. ลำต้นเปลีย ่ นเป็นหนาม (Stem spine หรือ Stem
thorn) หรือขอเกีย ่ ว (Hook) บางทีเรียกลำต ้นชนิดนีว้ า่ สแค
รมเบลอร์ (Scrambler) เพือ ้
่ ใชในการไต่ ขนึ้ ทีส
่ งู และยังทำ
หน ้าทีป่ ้ องกันอันตรายอีกด ้วย เชน ่ หนามของต ้นเฟื่ องฟ้ าหรือ
ตรุษจีนมะนาว มะกรูด และสมชนิ ้ ดต่าง ๆ หนามเหล่านีจ ้ ะแตก
ออกมาจากตาทีอ ่ ยูบ่ ริเวณซอกใบ หนามบางชนิดเปลีย ่ นแปลง
มาจากใบ หนามบางชนิดไม่ใชท ่ งั ้ ลำต ้น ใบและกิง่ ที่
เปลีย่ นแปลงไป แต่เกิดจากผิวนอกของลำต ้นงอกออกมาเป็ น
หนาม เชน ่ หนามกุหลาบสว่ นต ้นกระดังงา และการเวก มีขอ
โครงสร้างหน้าทีข
่ องลำต้น
3. ลำต้นทีเ่ ปลีย ่ นแปลงไปมีล ักษณะคล้ายใ
บ (Cladophyll หรือ
Phylloclade หรือ Cladode)
ลำต ้นทีเ่ ปลีย ่ นไปอาจแผ่แบนคล ้ายใบ หรือเป็ นเสนเล็ ้ ก
ยาวและยังมีสเี ขียว ทำให ้เข ้าใจผิดว่าเป็ นใบ เชน ่ สนทะเล
หรือ สนประดิพัทธ์ ทีม ่ สี เี ขียว ต่อกันเป็ นท่อน ๆ นัน ้ เป็ นสว่ น
ของลำต ้นทีเ่ ปลีย ่ นแปลงไป สว่ นใบทีแ ่ ท ้จริงเป็ นแผ่นเล็ก ๆ
ติดอยูร่ อบ ๆ ข ้อ เรียกว่า ใบเกล็ด (Scale leaf) เชน ่ เดียวกับ
ต ้นโปร่งฟ้ า (Asparcus) ทีเ่ ห็นเป็ นเสนฝอยแผ่ ้ กระจายอยู่
เป็ นแผงและมีสเี ขียวนัน ้ เป็ นลำต ้น สว่ นใบเป็ นใบเกล็ดเล็ก ๆ
ติดอยูต ่ รงข ้อ
นอกจากนัน ้ ยังมีลำต ้นอวบน้ำ (Succulent) เป็ นลำต ้น
ของพืชทีอ ่ ยูใ่ นทีแ ่ ห ้งแล ้งกันดารน้ำ จึงมีการสะสมน้ำไว ้ใน
ลำต ้น เชน ่ ต ้นกระบองเพชร สลัดได และพญาไร ้ใบ ลำต ้น
โครงสร้างหน้าทีข
่ องลำต้น
 ลำต้นใต้ดน
ิ (Underground stem) จำแนกจากรูป
ร่างลักษณะดังนี้
1. แง่งหรือเหง้า (Rhizome) ลำต ้นใต ้ดินจะอยูข ่ นานกับ
ผิวดินเห็นข ้อปล ้องได ้ชด ั เจน ตามข ้อมีใบสน ี ้ำตาลทีไ่ ม่ม ี
คลอโรฟิ ลล์ มีลก ั ษณะเป็ นเกล็ด เรียกว่าใบเกล็ด หุ ้มตา
เอาไว ้ มรี ากงอกออกจากเหง ้า หรือแง่งนัน ้ ๆ ตาอาจแตก
แขนงเป็ นใบอยูเ่ หนือดิน หรือเป็ นลำต ้นอยูใ่ ต ้ดินก็ได ้
เชน ่ หญ ้าแห ้วหมู ขิง ข่า ขมิน ้ มันฝรั่ง ว่านสะระแหน่
หญ ้าแพรก พุทธรักษา กล ้วย เป็ นต ้น
สำหรับต ้นกล ้วยทีเ่ ราเห็นสว่ นทีอ ่ ยูเ่ หนือดินขึน ้ มานัน้ เป็ น
ก ้านใบทีแ ่ ผ่ออกเป็ นกาบ (Sheath) ซอนรวมกั ้ นเหมือน
เป็ นมัดนั่นเอง โดยลำต ้นจริงเป็ นเหง ้าอยูใ่ ต ้ดิน เชน ่ เดียว
กับพุทธรักษา ขิง ข่า ทีม ่ ลี ก
ั ษณะเป็ นแง่ง บางคนแบ่ง
แยกว่าลำต ้นกล ้วยงอกสว่ นทีเ่ ป็ นกาบใบขึน ้ มาในแนวตัง้
โครงสร้างหน้าทีข
่ องลำต้น
โครงสร้างหน้าทีข
่ องลำต้น
1. แง่งหรือเหง้า (Rhizome)
2. ทูเบอร์ (Tuber) เป็ นลำต ้นใต ้ดินทีง่ อกออกมาจากปลาย
ไรโซมมีปล ้องเพียง 3-4 ปล ้อง ตามข ้อไม่มใี บเกล็ดและ
รากสะสมอาหารเอาไว ้มากในลำต ้นสว่ นใต ้ดิน จึงดูอ ้วน
ใหญ่กว่าหัวชนิดไรโซม แต่บริเวณทีเ่ ป็ นตาจะบุม ๋ ลงไป
ตัวอย่างเชน ่ มันฝรั่ง เหนือดินมีลำต ้น และใต ้ดินมีไรโซม ซงึ่
บริเวณปลายพองออกเป็ นทูเบอร์ ดังในรูปทีช ่ วี้ า่ เป็ น “Eye”
นัน
้ คือตานั่นเองถ ้ามีความชน ื้ พอเพียง ต ้นใหม่จะงอกออก
มาจากบริเวณตา ซงึ่ ผิดกับหัวมันเทศซงึ่ เป็ นรากไม่สามารถ
งอกต ้นใหม่จากบริเวณหัวทีม ่ รี อยบุม
๋ ได ้ เพราะไม่ใชต ่ า
ตัวอย่างอืน
่ ๆ ของหัวชนิดทูเบอร์ ได ้แก่ หญ ้าแห ้วหมู
หัวมัน มือเสอ ื มันกลอย
โครงสร้างหน้าทีข
่ องลำต้น
โครงสร้างหน้าทีข
่ องลำต้น
1. แง่งหรือเหง้า (Rhizome)
2. ทูเบอร์ (Tuber)
3. ห ัวกลีบ หรือบ ัลบ์ (Bulb) เป็ นลำต ้นใต ้ดินทีต ่ งั ้ ตรง อาจมี
สว่ นพ ้นดินขึน้ มาบ ้างก็ได ้ ลำต ้นมีขนาดเล็กทีม ่ ปี ล ้องทีส ั้
่ น
มากบริเวณปล ้องมีใบเกล็ดทีซ ้
่ อนกั นหลายชนั ้ จนเห็นเป็ น
หัว เชน่ หัวหอม หัวกระเทียม อาหารสะสมอยูใ่ นใบเกล็ดใน
ลำต ้นไม่มอ ี าหารสะสม บริเวณสว่ นล่างของลำต ้นมีรากเสน้
เล็ก ๆ แตกออกมาหลายเสน้ เมือ ่ นำหัวหอมมาผ่าตามยาว
จะพบใบเกล็ดเป็ นชน ั ้ ๆ ชน
ั ้ นอกสุดเป็ นแผ่นบาง ๆเนือ ่ งจาก
ไม่มอี าหารสะสม ชน ั ้ ถัดเข ้าไปมีอาหารสะสม จึงมีความ
หนากว่าแผ่นนอกชน ั ้ ในสุดของลำต ้นเป็ นสว่ นยอด ถ ้าเอา
หัวชนิดนีไ้ ปปลูกสว่ นยอดจะงอกออกมาเป็ นใบสเี ขียว
โครงสร้างหน้าทีข
่ องลำต้น
โครงสร้างหน้าทีข
่ องลำต้น
1. แง่งหรือเหง้า (Rhizome)
2. ทูเบอร์ (Tuber)
3. ห ัวกลีบ หรือบ ัลบ์ (Bulb)
4. คอร์ม (Corm) ลักษณะของลำต ้นใต ้ดินทีต ่ งั ้ ตรงเชน่ เดียว
กับหัวกลีบ ลักษณะทีแ ่ ตกต่างกันคือเก็บอาหารไว ้ในลำต ้น
แทนทีจ ่ ะเก็บไว ้ในใบเกล็ด
ลำต ้นจึงมีลกั ษณะอวบใหญ่ ทางด ้านล่างของลำต ้นมีราก
้ ก ๆ หลาย ๆ เสนที
เสนเล็ ้ ข ่ ้อมีใบเกล็ดบาง ๆ หุ ้ม ตาแตก
ออกมาจากข ้อเป็ นใบชูขน ึ้ สูงหรืออาจเป็ นลำต ้นใต ้ดินต่อ
ไป ตัวอย่างเชน ่ เผือก ซอ่ นกลิน ่ ฝรั่ง และแห ้ว เป็ นต ้น    
โครงสร้างหน้าทีข
่ องลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
พืชใบเลี้ยง Primary
เดี่ยว growth of
root

พืชใบเลี้ยง
คู ่
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
Secondary การเจริ ญเติบโตขั้นที่ สองของรากพื ชใบ
growth of เลี้ ยงเดี่ ยว
root ้
ชั นของ สตีลจะไมม ่ ี เพอริ ไซเคิล และวาสคิว
พืชใบเลี้ยง
ลาร์ แคมเบียม แตต ่ รงกลางจะมี พิธ เป็ น
เดี่ยว พื้นที่กวา้ งชั ดเจนจึงทำใหไ้ มม ่ ีการเจริ ญ
เติบโตขันที ้ ่สองของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
แตร่ ากพืชบางชนิ ด เชน ่ มะพร้าว ปาลม ์ มีราก
ขนาดใหญ่ ทังนี ้ ้ เนื่ องจากเกิดมีเนื้ อเยื่อพิเศษ
ที่เรี ยกวา่
Cambium-like tissue เกิดขึ้นใน คอร์เทกซ์
หรื อเนื้ อเยื่อพื้นจะแบง่ ตัวใหเ้ ซลลใ์ หม่ แลว้
เปลี่ยนแปลงไปเป็ นกลุม ่ เซลลข์ องไซเลมและ
โฟลเอ็มเพิม ่ ขึ้นเรื่ อย ๆ เป็ นเหตุใหร้ ากมี
ขนาดใหญข่ ้ึน
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
Secondary
growth of
root พืชใบเลี้ยง
คู ่
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
ในลำตน ้ ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว สว่ น วาสคิวลาร์บันเดิล จะเห็นเซลล ์
คอ่ นขา้ งกลมขนาดใหญ่ ปกติจะมี 2 เซลล์ นั่นคือ เวสเซลของไซเลม
Primary สำหรับโฟลเอ็ม
growth of เซลลม ์ ีลักษณะเป็ นรู ปหลายเหลี่ยม ขนาดเล็กกวา่ ไซเลม รวมอยูท ่ าง
stem ดา้ นบนของกลุม ่ ไซเลม ทางดา้ นลา่ งของกลุม่ วาสคิวลาร์บันเดิลมีสว่ น
เป็ นชอ่ งวา่ งของชอ่ งอากาศ  

พืชใบเลี้ยง
เดี่ยว
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น

Primary
growth of
stem

พืชใบเลี้ยง
คู ่
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริ ญเติบโตขั้นที่ สองของลำต้นพื ชใบเลี้ ยงเดี่ ยว
Secondary โครงสร้างของลำตน ้ พืชใบเลี้ยงเดี่ยวพวก ออ ้ ย ไผ่ มะพร้าว
growth of ขา้ วโพดแตกตา่ ง จากพืชใบเลี้ยงคู ่
1. ระบบท่อลำเลี ยง เรี ยงกันกระจัดกระจาย ไมเ่ ป็ นวงรอบ
stem
ลำตน ้ จึงไมเ่ ห็นขอบเขตระหวา่ ง พิธและคอร์เทกซ์
2. เซลลข ์ องโพรแคมเบี ยมเจริ ญไปเป็ นไซเลมและ
พืชใบเลี้ยง โฟลเอ็ ม ไมม ่ ีวาสคิวลาร์แคมเบียม จึงไมม ่ ีการเพิม่ ขนาด
เดี่ยว เสน ้ ผา่ ศูนยก์ ลางในระหวา่ งการเจริ ญเติบโตเพราะไมม ่ ีการ
เจริ ญเติบโตขันที ้ ่สอง ทำใหลำ ้ ตน้ ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวเจริ ญ
ทางดา้ นสูงมากกวา่ ทางดา้ นกวา้ ง เนื่ องจากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
ไมม ่ ี วาสคิวลาร์แคมเบียม จึงไมม ่ ีการสร้างไซเลมขันที ้ ่สอง
และโฟลเอ็มขันที ้ ่สองอีก ทอ่ ลำเลียงชนิ ดนี้ จึงเรี ยกวา่ มัดทอ่
น้ำทอ่ อาหาร “ปิ ด” (Closed bundle) ซ่ึงหมายถึงไมม ่ ีการ
เจริ ญเติบโตอีกตอ่ ไป จึงไมม ่ ีการเจริ ญเติบโตขันที้ ่สอง
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริ ญเติบโตขันที ้ ่สองนี้ จะทำให้พืชมีขนาดใหญข่ ้ึน
Secondary ตามเสน ้ รอบวงขณะเดียวกัน ทางยอดของพืชก็ยังคงเจริ ญ
growth of เติบโตตอ่ ไป การเจริ ญเติบโตทางดา้ นขา้ งนี้ ทำใหพ ้ ืชเติบโต
stem ตอ่ เนื่ องกับการเจริ ญเติบโตสว่ นยอด และทำใหพ ้ ืชมีอายุ
ยืนยาวมากขึ้นแมเ้ ซลลพ ์ ืชจะมีอายุไมเ่ กิน 3 ปี
พืชใบเลี้ยง การเจริ ญเติบโตขันที ้ ่สอง เป็นการสร้างเนื้ อเยื่อลำเลียง
คู ่ ้ ่สองโดยมีกระบวนการเปลี่ยนแปลงคือ การสร้างวาสคิว
ขันที
ลาร์แคมเบียม (Vascular cambium) ซ่ึงเกิดจากเซลลข์ อง
พิธเรย ์ (Pith ray เจริ ญมาจาก ground meristem)
เนื้ อเยื่อเจริ ญช่ือวา่ Interfascicular cambium ไป
เช่ือมติดกับ fascicular cambium ที่อยูร่ ะหวา่ งไซเลมขัน้
ตน้ และโฟลเอ็มขันต ้ น ้ กลายเป็นวงแหวน จึงเรี ยกช่ือใหมว่ า่
วาสคิวลาร์แคมเบียม (Vascular cambium)
ลำตน ้ ของพืชใบเลี้ยงคู ่ วาสคิวลาร์แคมเบียมยังคง
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น

Secondary
growth of
stem
พืชใบเลี้ยง
คู ่
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น

Secondary
growth of
stem
พืชใบเลี้ยง
คู ่
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
ในพืชพวกไมเ้ นื้ อแข็ง แคมเบียมจะแบง่ ไดเ้ ซลล์ 2 ชนิ ดคือ
Secondary ถา้ แบง่ เซลลอ์ อกดา้ นนอกจะกลายเป็ นโฟลเอ็มขันที ้ ่สอง
growth of (Secondary pholem) และแบง่ เขา้ ขา้ งในจะกลายเป็ นไซเลม
stem ้ ่สอง (Secondary xylem) ไมว่ า่ จะเป็ นอินเตอร์ฟาสซิคิว
ขันที
ลาร์แคมเบียม หรื อวาสคิวลาร์แคมเบียม แบง่ เซลลไ์ ด้เหมือนกัน
พืชใบเลี้ยง ดังนัน้ จะเห็นวา่ ไซเลมขันที ้ ่สอง และโฟลเอ็มขันที ้ ่สอง เมื่อตัด
คู ่ ตามขวางแลว้ จะเรี ยงตัวยาวตอ่ เนื่ องเป็ นวง
แตใ่ นลำตน ้ ของพันธุไ์ มเ้ ลื้อยบางชนิ ด อินเตอร์ฟาสซิคิวลาร์
แคมเบียม แบง่ เซลลใ์ หเ้ ซลลพ ์ าเรนไคมา ทำใหท ้ อ่ ลำเลียงของ
มันไมต ่ อ่ เนื่ องเป็ นวงกลมเหมือนพวกไมเ้ นื้ อแข็ง
การสร้างไซเลมและโฟลเอ็มจาก แคมเบียม จะเรี ยกวา่ เกิด
ไซเลมขันที ้ ่สอง หรื อโฟลเอ็มขันที ้ ่สองเสมอ ไมว่ า่ ตน ้ ไมน ้ อายุ
้ ัน
ก่ีปีก็ตาม ผลจากการแบง่ เซลลข์ อง แคมเบียม จึงทำใหลำ ้ ตน ้ มี
ขนาดเสน ้ ผา่ ศูนยก์ ลางเพิม ้ ่สองมีขนาด
่ ขึ้น ปกติ โฟลเอ็มขันที
เล็กกวา่ และผนังบางกวา่ ไซเลมขันที ้ ่สองมาก ไซเลมขันที ้ ่สองจึง
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น

Secondary
growth of
stem
พืชใบเลี้ยง
คู ่
ถา้ ตอนกิ่งตอ
้ งเอา
ออกถึง sap
wood
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
ในพืชใบเลี้ยงคู ่ แคมเบียมซ่ึงเป็ นเนื้ อเยื่อเจริ ญอยูร่ ะหวา่ ง
Secondary โฟลเอ็มและไซเลมจะแบง่ เซลลใ์ หท ้ ั ง้ โฟลเอ็ม ออกไปทางดา้ น
growth of นอกและไซเลม เขา้ ดา้ นในเมื่อพืชมีอายุมากขึ้น แคมเบียม จะ
stem แบง่ เซลลไ์ ดโ้ ฟลเอ็มและไซเลมจำนวนมาก โฟลเอ็มเกิดใหมจ่ ะ
ดันโฟลเอ็มเดิมออกไปทางด้านคอร์เทกซจ์ นในที่สุดรวมกัน
พืชใบเลี้ยง กลายเป็ นชั นเปลื้ อกไม้ (Bark)
คู ่ สว่ น ไซเลมใหมจ่ ะดัน ไซเลมเดิมเขา้ ไปในชั นของ ้ พิธ และ
เขา้ สูศ ่ ูนยก์ ลางของลำตน ้ เรื่ อยไป ไซเลมที่เกิดในชว่ งที่มีน้ำอุดม
สมบูรณ์ เซลลจ์ ะมีขนาดใหญ่ เรี ยกวา่ สปริ งวูด (Spring wood)
แตถ ่ า้ ไซเลมเกิดในชว่ งที่มีน้ำน้อย คือใ นหน้าแลง้ เซลลจ์ ะมี
ขนาดเล็ก เรี ยกวา่ ซั มเมอร์วูด (Summer wood) การที่ไซเลม
มีขนาดไมเ่ ทา่ กันนี้ ทำใหเ้ ป็ นเนื้ อไม้ (Wood) คือ ชั นต ้ ั งแต
้ ่ แคม
เบียม เขา้ ไปมีขนาดไมเ่ ทา่ กัน
วงแคบมีแถบสีเขม ้ เป็ นชว่ งน้ำน้อย วงกวา้ ง คือ สีจาง เป็ น
ชว่ งน้ำอุดมสมบูรณ์ สลับกันเมื่อตัดลำตน ้ ตามขวางวงเหลา่ นี้
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น

Secondary
growth of
stem
พืชใบเลี้ยง
คู ่
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น

Secondary
growth of
stem
พืชใบเลี้ยง
คู ่
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
แบบฝึ กหัด
http://www.lks.ac.th/kanlayanee_fen
ce/bio510_52/t1.htm
โครงสร้างหน้าทีข
่ องใบ
ใบ (Leaf) เป็ นอวัยวะหรือสว่ นของพืชทีเ่ จริญเติบโตยืน ่ ออกมา
จากด ้านข ้างของลำต ้นบริเวณข ้อ และมักมีตาอยูบ ่ ริเวณซอกใบ
(Leaf axil) ทีอ ่ ยูร่ ะหว่างใบกับลำต ้น(หรือกิง่ )
ใบทำหน ้าทีส ่ งั เคราะห์อาหาร ปกติใบมีสเี ขียวของคลอโรฟิ ลด์
ซงึ่ ทำหน ้าทีส
่ งั เคราะห์ด ้วยแสง (Photosynthesis)นอกจากนัน ้
อาจมีรงควัตถุอน ื่ ปนอยูด ่ ้วย เชน่ แคโรทีนอยด์
(Carotenoid)แอนโทไซยานิน (Anthocyanin) แต่มป ี ริมาณ
น ้อยกว่าคลอโรฟิ ลล์ จึงไม่เห็นสข ี องสารประกอบเหล่านัน ้
ใบมีขนาดและรูปร่างแตกต่างกันไปตามชนิดของพืช แต่สว ่ น
ใหญ่แล ้วใบมีลก ั ษณะแผ่ แบน บางชนิดใบอาจลดขนาดมีรป ู
ร่างคล ้ายเข็ม บางชนิดอาจเป็ นแผ่นหรือเกล็ดเล็ก ๆ ไม่มส ี เี ขียว
เรียกว่า ใบเกล็ด (Scale leaf) เชน ่ ใบทีอ
่ ยูน
่ อกสุดของหัวหอม
หรือบางชนิดอาจเปลีย ่ นเป็ นรูปทรงกระบอกกลวง เชน ่ ใบหอม
บางชนิดอาจเปลีย ่ นเป็ นทีจ่ ับแมลง เชน่ หม ้อข ้าวหม ้อ แกงลิง
โครงสร้างหน้าทีข
่ องใบ
โครงสร้างของใบ
1. โครงสร้างภายนอกของใบทีม ่ สี ว่ นประกอบ
สมบูรณ์ (Complete leaf) จะมีสว่ นประกอบ 3
สว่ นดังนี้
 ตัวใบหรือแผ่นใบ (Lamina หรือ Blade)
 ก ้านใบ (Petiole หรือ Stalk)
 หูใบ (Stipule)
2. โครงสร้างภายในของใบ
 เอพิเดอร์มส ิ (Epidermis)
 มีโซฟิ ลล์ (Mesophyll)
 มัดท่อลำเลียง (Vascular bundle)
โครงสร้างหน้าทีข
่ องใบ
โครงสร้างภายในของใบ
1. เอพิเดอร์มส ิ (Epidermis)
เป็ นเยือ
่ หุ ้มใบทีม ่ อ
ี ยูท่ งั ้ ด ้านบนและด ้านล่างของใบ
ประกอบด ้วยเซลล์แถวเดียว และรูปร่างสเี่ หลีย ่ มผืนผ ้า
เหมือนในลำต ้นเป็ นเซลล์ทไี่ ม่มค ี ลอโรพลาสต์ จึงทำให ้
เอพิเดอร์มส ิ ทัง้ ด ้านบนและด ้านล่างไม่มส ี เี ขียวมี คิวทิน
(Cutin) เคลือบทีด ่ ้านนอกของผนังเซลล์จงึ ป้ องกันการ
ระเหยของน้ำออกจากใบ เอพิเดอร์มส ิ ด ้านบน (Upper e
pidermis) มักมี คิวทิน ฉาบหนากว่า เอพิเดอร์มส ิ ด ้าน
ล่าง (Lower epidermis) คิวทิน (Cutin) ทีฉ ่ าบอยูเ่ ป็ น
เยือ่ บาง ๆ ใส ๆ เรียกว่า คิวทิเคิล (Cuticle) มีลก ั ษณะ
คล ้ายขีผ ้ งึ้ เอพิเดอร์มส ิ บางเซลล์มก ี ารเปลีย ่ นแปลงไป
เป็ นเซลล์คม ุ (Guard cell) ทำให ้เกิดชอ ่ งว่าง เรียกว่า
ปากใบหรือ รูใบ (Stomata)
โครงสร้างหน้าทีข
่ องใบ
โครงสร้างภายในของใบ
1. เอพิเดอร์มส ิ (Epidermis)
เซลล์คม ุ เป็ นเซลล์ทม ี่ เี ม็ดคลอโรพลาสต์อยูภ ่ ายใน
ใบพืชทั่ว ๆ ไปมักมีปากใบอยูท ่ างด ้านล่าง (Ventral
side) ของใบมากกว่าด ้านบน หากมีปากใบมากจะ
เกิดการคายน้ำมาก พืชทีม ่ ใี บอยูป
่ ริม ่ บัวสาย
่ น้ำ เชน
ปากใบจะอยูท ่ างด ้านบน (Dorsal side) ของใบ
เท่านัน ้ และพืชทีจ ่ มอยูใ่ นน้ำ เชน ่ สาหร่ายหาง
กระรอก (ไม่ได ้จัดเป็ นสาหร่าย แต่เป็ นพืชชนิดหนึง่
ทีอ
่ ยูใ่ นน้ำ) ใบของสาหร่ายหางกระรอกจะไม่มป ี าก
ใบ และไม่มส ี าร คิวทินฉาบใบด ้วย
จำนวนปากใบของพืชแตกต่างไปตามชนิดของพืช
โครงสร้างหน้าทีข
่ องใบ
โครงสร้างภายในของใบ
1. เอพิเดอร์มส ิ (Epidermis)
2. มีโซฟิ ลล์ (Mesophyll) อาจเรียกว่าเป็ นสว่ นของเนือ ้
ใบ หมายถึงสว่ นของเนือ ้ เยือ ่ ทีอ่ ยูร่ ะหว่าง เอพิเดอร์มส ิ
ด ้านบน และเอพิเดอร์มส ิ ด ้านล่างเนือ ่ สว่ นใหญ่เป็ น
้ เยือ
พวก พาเรนไคมา ทีม ่ ค
ี ลอโรพลาสต์อยูด ่ ้วยจึงเรียกชอ ื่
ใหม่วา่ คลอเรนไคมา (Chlorenchyma = Chloroplast
+ Parenchyma) แบ่งเป็ น 2ชน ั ้ คือ
ก. แพลิเซดมีโซฟิ ลล์ (Palisade mesophyll)
เนือ้ ใบประกอบด ้วยเซลล์ยาว และแคบเรียงตัง้ ฉากกับเอ
พิเดอร์มส ิ ด ้านบน (ลักษณะคล ้ายเสารัว้ ) เซลล์เรียงกัน
เป็ นแถวอัดแน่น อาจจัดตัวเรียงเป็ นแถวเดียวหรือหลาย
แถวขึน ้ อยูก่ บั ชนิดของพืช ภายในเซลล์เหล่านีม ้ ี คลอโร
พลาสต์อยูก ่ น ั อย่างหนาแน่นเต็มไปหมด เรียกเซลล์
เหล่านีว้ า่ แพลิเซดเซลล์ (Palisade cell)
โครงสร้างหน้าทีข
่ องใบ
โครงสร้างภายในของใบ
1. เอพิเดอร์มส ิ (Epidermis)
2. มีโซฟิ ลล์ (Mesophyll)
ข. สปันจีมโี ซฟิ ลล์ (Spongy mesophyll) เป็ น
ชนั ้ ทีอ
่ ยูถ
่ ัดจากแพลิเซดมีโซฟิ ลล์ เข ้าไปอีก จนถึง เอ
พิเดอร์มส ิ ด ้านล่าง เป็ นเซลล์ทอ
ี่ ยูก
่ น
ั อย่างหลวมๆ ไม่
เป็ นระเบียบ เซลล์มรี ป ู ร่างค่อนข ้างกลม จึงเรียกเซลล์
เหล่านีว้ า่ สปั นจีเซลล์ (Spongycell) มีชอ ่ งว่างระหว่าง
เซลล์มาก ผิวเซลล์จงึ มีโอกาสสม ั ผัสกับอากาศได ้มาก
ทำให ้แก๊สต่าง ๆ แพร่เข ้าออกได ้สะดวก ในแต่ละเซลล์ม ี
ปริมาณ คลอโรพลาสต์ น ้อยกว่าเซลล์ในชน ั ้ แพลิเซดมี
โซฟิ ลล์ จึงทำให ้ด ้านล่างของใบมีสเี ขียวน ้อยกว่าด ้าน
บนของใบ
โครงสร้างหน้าทีข
่ องใบ
โครงสร้างภายในของใบ
1. เอพิเดอร์มส ิ (Epidermis)
2. มีโซฟิ ลล์ (Mesophyll)
3. ม ัดท่อลำเลียง (Vascular bundle) คือสว่ น

ของเสนใบขนาดต่ าง ๆ กันทีอ ่ ยูภ
่ ายในเนือ
้ ใบ
นั่นเอง มัดท่อลำเลียงประกอบด ้วย ไซเลม และ
โฟลเอ็มมาเรียงติดต่อกันเป็ นเสนใบ ้ มัดท่อ
ลำเลียงมีกลุม ่ เซลล์ทเี่ รียกว่า บันเดิลชท ี (Bundle
sheath) ล ้อมรอบ จึงทำให ้มัดท่อลำเลียงมีความ
แข็งแรงเพิม ่ ขึน้ บันเดิลชท ี ประกอบด ้วยเซลล์พา
เรนไคมา หรือ สเกลอเรนไคมา เรียงตัวกันอยู่ 1
หรือ 2 ชน ั ้ สว่ นใหญ่ของมัดท่อลำเลียงอยูใ่ นชน ั้ ส
ปั นจีมโี ซฟิ ลล์ จึงเห็นเสนใบนู ้ นออกทางด ้านท ้อง
ใบ
หน้าทีข
่ องใบ
1. สร ้างอาหารด ้วยกระบวนการสงั เคราะห์ด ้วยแสง
(Photosynthesis)
2. หายใจ (Respiration)
3. คายน้ำ (Transpiration)
4. นอกจากนัน ้ ใบยังมีหน ้าทีอ
่ น
ื่ ๆ ได ้แก่
 ยึดหรือค้ำจุนลำต ้น โดยเปลีย ่ นไปเป็ นมือเกาะ (คล ้ายกับลำต ้นทีไ่ ด ้
กล่าวมาแล ้ว)
 สะสมอาหารและน้ำ เชน ่ กาบกล ้วย ใบว่านหางจระเข ้ กลีบหัวหอม
เป็ นต ้น
 ่ ใบต ้นตายใบเป็ น หรือเศรษฐีพันล ้าน ทองสามย่านทีม
แพร่พันธุ์ เชน ่ ี
การสร ้างตา
บริเวณใบ ซงึ่ ตามปกติแล ้วใบไม่มต ี า
 ป้ องกันลำต ้น ด ้วยการเปลีย
่ นใบเป็ นหนาม เชน ่ หนามเหงือกปลาหมอ
หนามกระบองเพชร
 ชว่ ยผสมเกสรโดยเปลีย ่ นเป็ นกลีบดอกและใบประดับสต ี า่ ง ๆ เพือ
่ ล่อ
แมลง
 ป้ องกันยอดอ่อนหรือใบอ่อน เชน ่ เปลีย่ นเป็ นเกล็ดหุ ้มตา
โครงสร้างหน้าทีข
่ องใบ
ใบพืชแบ่งออกเป็ นชนิดต่าง ๆ โดยแบ่งเป็ นกลุม
่ ใหญ่ ๆ ได ้ 3 ชนิดคือ
1. ใบเลีย ้ ง (Cotyledon) เป็ นใบแรกของพืชทีอ ่ ยูใ่ นเมล็ด ทำหน ้าที่
สะสมอาหารเพือ ่ เลีย้ งต ้นอ่อนขณะงอก ถ ้าเป็ นพืชใบเลีย ้ งคู่ (dicot
yledon) จะมีใบเลีย ้ ง 2 ใบ แต่ถ ้าเป็ นพืชใบเลีย ้ งเดีย่ ว (monocotyl
edon) จะมีใบเลีย ้ งใบเดียว เชน ่ อ ้อย ข ้าว ข ้าวโพด กล ้วย เป็ นต ้น
2. ใบแท้ (Foliage leaf)
3. ใบทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป (Modified leaf)
โครงสร้างหน้าทีข
่ องใบ
ใบพืชแบ่งออกเป็ นชนิดต่าง ๆ โดยแบ่งเป็ นกลุม
่ ใหญ่ ๆ ได ้ 3 ชนิด
คือ
1. ใบเลีย้ ง (Cotyledon)
2. ใบแท้ (Foliage leaf) ทำหน ้าทีส ่ งั เคราะห์ด ้วยแสง นอกจากนี้
ยังทำหน ้าทีห่ ายใจและคายน้ำด ้วย ใบแท ้ของพืชแบ่งออกเป็ น 2
กลุม
่ ใหญ่ ๆ คือ
◦ ใบเดีย ่ ว (Simple leaf) หมายถึงใบทีม ่ ตี วั ใบเพียงแผ่นเดียวหรือใบเดียว
ติดอยูก ่ บ
ั ก ้านใบ (Petiole) ทีแ ่ ตกออกมาจากลำต ้นหรือกิง่ เชน ่ ใบอ ้อย
กล ้วย ชมพู่ มะม่วง ถึงแม ้ใบนัน ้ จะหยักเว ้า แต่ไม่แหว่งจนหลุดออกจาก
กัน ถือว่าเป็ นใบเดีย ิ้ เชน
่ วทัง้ สน ่ มะละกอ มะม่วง ชมพู่ อ ้อย ละหุง่ มัน
สำปะหลัง ลูกใต ้ใบ ฟั กทอง ตำลึง ตาล สาเกเหงือกปลาหมอ ต ้นไทร
เป็ นต ้น
◦ ใบประกอบ (Compound leaf) เป็ นใบทีแ ่ ยกออกเป็ นใบเล็ก ๆ ตัง้ แต่ 2
ใบขึน ้ ไปติดอยูก ่ บ ั ก ้านใบก ้านเดียว เชน ่ ใบกุหลาบ จามจุรี มะขาม กระถิน
มะพร ้าว หางนกยูงไทยเป็ นต ้น ใบเล็ก ๆ ของใบประกอบนีเ้ รียกว่า ใบย่อย
(Leaflet หรือ Pinna) ก ้านใบของ ใบย่อยเรียกว่า ก ้านใบย่อย (Petiolule
) สว่ นก ้านทีอ ่ ยูร่ ะหว่างก ้านใบย่อยเรียกว่า ราคิส (Rachis)
3. ใบทีเ่ ปลีย
่ นแปลงไป (Modified leaf)
โครงสร้างหน้าทีข
่ องใบ

Dicotyledon Leaf
โครงสร้างหน้าทีข
่ องใบ
โครงสร้างหน้าทีข
่ องใบ
3. ใบทีเ่ ปลีย
่ นแปลงไป (Modified leaf) เป็ นใบทีม
่ ี
การเปลีย ่ นแปลงไปจากใบแท ้ทีม ี เี ขียวและแผ่แบน ไป
่ ส
เป็ นรูปอืน่ ทีเ่ หมาะสมกับหน ้าทีไ่ ด ้แก่
ก) ใบสะสมอาหาร (Storage leaf) เป็ นใบที่
เปลีย ่ นแปลงไปเป็ นทีเ่ ก็บสะสมอาหาร จึงมีลก ั ษณะอวบ
หนา ได ้แก่ใบเลีย ้ ง (Cotyledon) และใบพืชอีกหลาย
ชนิด เชน ่ ใบว่านหางจระเข ้ หวั หอม หัวกระเทียม กาบ
กล ้วย สว่ นกะหล่ำปลี เก็บอาหารสะสมไว ้ทีเ่ สนใบ ้ และ
ก ้านใบ อนึง่ ใบเลีย ้ งเป็ นใบแรกทีอ ่ ยูใ่ นเมล็ดพืช บางชนิด
มีใบเลีย ้ งขนาดใหญ่เนือ ่ งจากการสะสมอาหารไว ้ โดยดูด
อาหารมาจาก เอนโดสเปิ รม ์ (Endosperm) เพือ ่ นำไปใช ้
ในการงอกของต ้นอ่อน ใบเลีย ้ งจึงมีลก ั ษณะอวบใหญ่ ใบ
เลีย้ งยังมีหน ้าทีป่ กคลุมเพือ ่ ป้ องกันยอดอ่อนไม่ให ้เป็ น
อันตราย ในพืชบางชนิดเมือ ่ ยอดอ่อนแทงทะลุดน ิ ขึน
้ มา
และเมือ ่ พ ้นดินแล ้วยังชว่ ยสร ้างอาหารอีกด ้วย
โครงสร้างหน้าทีข
่ องใบ
ข) ใบดอก (Floral leaf) เป็ นใบทีเ่ ปลีย ่ นแปลง
ไปมีสส ี วยงามคล ้ายกลีบดอกทำหน ้าทีช ่ ว่ ยล่อ
แมลงเชน ่ หน ้าวัว (เป็ นสว่ นทีเ่ ป็ นแผ่นสแ ี ดง
เรียกว่า Spathe)อุตพิด คริสต์มาส เฟื่ องฟ้ า
ค) ใบประด ับ (Bract) เป็ นใบทีเ่ ปลีย ่ นแปลงไป
ทำหน ้าทีช ่ ว่ ยรองรับดอกหรือชอ ่ ดอกอยูบ ่ ริเวณ
ซอกใบและมักมีสเี ขียวแต่อาจมีสอ ี นื่ ก็ได ้ ใบ
ประดับมิได ้เป็ นสว่ นใดสว่ นหนึง่ ของดอก
ตัวอย่างเชน ่ กาบปลีของกล ้วย กาบเขียง (ใบที่
หุ ้มจั่นมะพร ้าวและหมาก) ของมะพร ้าวและ
หมาก ซงึ่ มีสเี ขียว บางท่านจัดรวมใบดอกและ
ใบประดับไว ้เป็ นชนิดเดียวกัน แต่ถ ้ามีสส ี วยงาม
เรียกว่า ใบดอก
โครงสร้างหน้าทีข
่ องใบ
ง) ใบเกล็ด (Scale leaf) เป็ นใบทีเ่ ปลีย ่ นมาจากใบแท ้ เพือ
่ ทำ
หน ้าทีป ่ ้ องกันอันตรายให ้แก่ตาและยอดอ่อน ใบเกล็ดไม่มส ี ี
เขียวเพราะไม่มค ี ลอโรฟิ ลล์ เชน ่ ใบเกล็ดของสนทะเล ทีเ่ ป็ น
แผ่นเล็ก ๆ ติดอยูร่ อบ ๆ ข ้อ ใบเกล็ดของโปร่งฟ้ า เป็ นแผ่นเล็ก
ๆ ติดอยูต ่ รงข ้อเชน ่ เดียวกัน ใบเกล็ด ของขิง ข่า เผือก แห ้วจีน
เป็ นต ้น นอกจากนีใ้ บเกล็ดบางชนิดยังสะสมอาหารไว ้ด ้วย ใบ
เกล็ดจึงมีขนาดใหญ่ เชน ่ หัวหอม หัวกระเทียม
จ) เกล็ดตา (Bud scale) เป็ นใบทีเ่ ปลีย ่ นแปลงไปทำหน ้าทีห ่ ุ ้ม
ตาหรือคลุมตาไว ้ เมือ ่ ตาเจริญเติบโตออกมา จึงดันให ้เกล็ดหุ ้ม
ตาหลุดไปพบใน
ต ้นยาง จำปี สาเก เป็ นต ้น
ฉ) มือเกาะ (Leaf tendrill) เป็ นใบทีเ่ ปลีย ่ นแปลงไปเป็ นมือ
เกาะเพือ ่ ยึดและพยุงลำต ้นให ้ขึน ้ สูง มือเกาะอาจเปลีย่ นมาจาก
ใบบางสว่ น หรือใบทัง้ ใบก็ได ้ตัวอย่างมือเกาะของถั่วลันเตา
ถั่วหอม บานบุรส ี มี ว่ ง มะระ ดองดึง หวายลิงกะทกรก เป็ นต ้น
โครงสร้างหน้าทีข
่ องใบ
ช) หนาม (Leaf spine) เป็ นใบทีเ่ ปลีย ่ นแปลงเป็ นหนาม เพือ ่
ป้ องกันอันตรายจากสต ั ว์ทมี่ ากัดกิน พร ้อมกับป้ องกันการคาย
น้ำ เนือ ่ งจากปากใบลดน ้อยลงกว่าปกติ หนามทีเ่ กิดอาจมีการ
เปลีย่ นแปลงทัง้ ใบกลายเป็ นหนาม หรือบางสว่ นของใบกลาย
เป็ นหนามก็ได ้ ตวั อย่างเชน ่ หนามของต ้นเหงือกปลาหมอ
เปลีย ่ นแปลงมาจากขอบใบและหูใบ หนามของต ้นกระบอง
เพชรเปลีย ่ นแปลงมาจากใบ หนามมะขามเทศเปลีย ่ นแปลงมา
จากหูใบ หนามของศรนารายณ์ (หรือต ้นร ้อยปี ) เปลีย ่ นแปลง
มาจากขอบใบ เป็ นต ้น
ซ) ฟิ ลโลด (Phyllode หรือ Phyllodium) บางสว่ นของใบ
เปลีย ่ นแปลงไปเป็ นแผ่นแบนคล ้ายใบแต่แข็งแรงกว่าปกติ
ทำใหไม่ ้ มต ี วั ใบทีแ่ ท ้จริง จึงลดการคายน้ำได ้ด ้วย เชน ่ ใบ
กระถินณรงค์ ซงึ่ เปลีย ่ นแปลงมาจากก ้านใบ
ฌ) ทุน่ ลอย (Floating leaf) พืชน้ำบางชนิดมีการเปลีย ่ นแปลง
ก ้านใบให ้พองโตคล ้ายทุน ่ ภายในมีเนือ ้ เยือ
่ ทีจ
่ ัดตัวอย่าง
หลวม ๆ ทำให ้มีชอ ่ งอากาศกว ้างใหญ่ สามารถพยุงลำต ้นให ้
ลอยน้ำมาได ้ เชน ่ ผักตบชวา
Acacia koa with phyllode
between the branch and the
compound leaves
กระถิ

ณรง
ค์

Leaf spine
โครงสร้างหน้าทีข
่ องใบ
ญ) ใบแพร่พ ันธุ ์ (Vegetative reproductive organ) เป็ นใบที่
เปลีย่ นแปลงไปเพือ ่ ชว่ ยแพร่พันธุโ์ ดยบริเวณของใบทีม
่ ล
ี ก
ั ษณะเว ้าเข ้าเล็ก
่ ใบ
น ้อยมีตา (Aventitious bud) ทีง่ อกต ้นเล็ก ๆ ออกมาได ้ ตวั อย่างเชน
ของต ้นตายใบเป็ น (หรือคว่ำตายหงายเป็ น) ต ้นเศรษฐีพันล ้าน ต ้นโคมญีป ่ น
ุ่
เป็ นต ้น
ฎ) ใบจ ับแมลง (Insectivorous leaf หรือ Carnivorous leaf) เป็ นใบที่
เปลีย่ นแปลงไปเป็ นกับดักแมลง หรือสต ั ว์ขนาดเล็ก ภายในกับดักมีตอ ่ ม
สร ้างเอนไซม์ประเภทโพรทีเอส (Protease) ทีย ่ อ
่ ยโปรตีนสต ั ว์ทต
ี่ ด
ิ อยูใ่ น
กับดักได ้ พชื ชนิดนีม ้ ใี บปกติทส ี่ ามารถสงั เคราะห์ด ้วยแสงได ้เหมือนพืชทั่วๆ
ไป แต่พช ื เหล่านีม้ ักอยูใ่ นทีม ่ ค
ี วามชน ื้ มากกว่าปกติ อาจขาดธาตุอาหารบาง
ชนิดจึงต ้องมีสว่ นทีเ่ ปลีย ่ นแปลงไปเป็ นกับดัก เชน ่ ต ้นหม ้อข ้าวหม ้อแกงลิง
(หรือน้ำเต ้าฤๅษี ) ต ้นกาบหอยแครง ต ้นหยาดน้ำค ้างต ้นสาหร่ายข ้าวเหนียว
หรือสาหร่ายนา (ไม่ใชส ่ าหร่ายแต่เป็ นพืชน้ำขนาดเล็ก) เป็ นต ้น  
คว ่ำตายหงาย
เป็น
BBC

monocot

dicot
การคายน้ำของพืช = Transpiration
น้ำในพืชจะระเหยออกทางปากใบ โดยวิธก
ี ารคายน้ำถึง 80-90 %
โดยเฉพาะพบมากทีส ่ ด
ุ ทีผ
่ วิ ใบด ้านล่าง พืชจะคายน้ำออกทางปากใบ
มากทีส ่ ด
ุ เนือ
่ งจากมีทางออกสะดวกพืชต่างชนิดกันมีความสามารถใน
การคายน้ำได ้ไม่เท่ากันถึงแม ้จะอยูใ่ นสภาพแวดล ้อมเดียวกัน
่ งจากมีความแตกต่างของโครงสร ้างและสว่ นประกอบของพืช เชน
เนือ ่
ลักษณะและขนาดของใบ สารเคลือบผิวใบ
การคายน้ำของพืช = Transpiration
แต่,,,,
หลังจากฝนตกหนักใหม่ ๆ ความชน ื้ ของอากาศอยูใ่ นสภาพเกือบอิม ่
,,, ตัวอุณหภูมล ิ ดลง หากไม่มแี สงสว่างด ้วยแล ้ว พืชไม่สามารถคายน้ำ
ได ้อย่างปกติ แต่ภายในพืชมีแรงดันรากทีส ่ ามารถดันน้ำจากรากไป
ยังสว่ นอืน่ ๆ ของพืชได ้เสมอ แต่ใบไม่สามารถปล่อยน้ำออกทาง
ปากใบได ้ด ้วยการคายน้ำ น้ำจึงถูกปล่อยออกทางรูเล็ก ๆ ทีผ ่ วิ ใบที่
เรียกว่า ไฮดาโทด (Hydathode) ซงึ่ อยูบ ่ ริเวณปลายสุดของเสนใบ ้
การเสย ี น้ำในรูปของหยดน้ำเชน ่ นี้ เรียกว่า กัตเตชน
ั (Guttation)

่ นีเ้ กิดไม่บอ
การเกิดเหตุการณ์เชน ่ ยนัก เนือ
่ งจากทีผ
่ วิ ใบมีสารคิวทิน
เคลือบ ทำให ้การระเหยของน้ำออกทางผิวใบเกิดได ้น ้อยแต่ก็ยังมี
การเสยี น้ำออกทาง เลนทิเซล (Lenticel) ซงึ่ เป็ นรอยแตกทีผ
่ วิ
ลำต ้นซงึ่ พบในพืชบางชนิดเท่านัน
้ การสูญเสย ี น้ำทางเลนทิเซลมี
เพียง 10 % เท่านัน้ สว่ นใหญ่
Hydathodes
and water
droplet
การคายน้ำของพืช = Transpiration
พืชจะคายน้ำออกทางปากใบมากทีส
่ ด

การปิ ดเปิ ดของปากใบ
เมื่อมีแสงสวา่ ง
โพแทสเซียมไอออนในเซลล์
คุมเพิม ่ ขึ้น จึงมีความเขม ้ ขน้ ของ
สารละลายมากขึ้น น้ำจากเซลล์
พืชใบ ที่อยูต
่ ิด ๆ กันจึงออสโมซิส
เลี้ยงคู ่ เขา้ สูเ่ ซลลค ์ ุม ทำให้เซลลค
มากขึ้น พร้อมๆ กับมีแรงดันเตง่
์ ุมเตง่

ไปดันผนังเซลลด ์ ้านบางให้โป่ง
ออกไปพร้อม ๆ กับดึงผนังเซลล์
ดา้ นหนาใหโ้ คง้ ตาม เกิดชอ่ ง
พืชใบเลี้ยง วา่ งทำใหป ้ ากใบเปิ ดยิง่ เซลลค ์ ุม
มีแรงดันเตง่ มาก ปากใบยิง่ เปิ ด
เดี่ยว กวา้ ง
การคายน้ำของพืช = Transpiration
การปิ ดเปิ ดของปากใบ
ขึน
้ อยูก
่ บ
ั แสงสว่างและปั จจัยอืน
่ ๆ อีกหลายประการ คือ

1. แสงสว่าง เนือ ่ งจากเซลล์คม ุ มี คลอโรพลาสต์ ทำให ้เกิดการสงั เคราะห์


ด ้วยแสง ปริมาณน้ำตาลในเซลล์คม ุ เพิม
่ ความเข ้มข ้นของไซโทพลาซม ึ เพิม

น้ำจากเซลล์ข ้างเคียงจึงเกิดการออสโมซส ิ เข ้ามา ทำให ้เซลล์คม ุ เต่ง ปากใบ
จึงเปิ ด สำหรับเวลากลางคืนหรือเวลาไม่มแ ี สงไม่มก ี ารสงั เคราะห์ด ้วยแสง
น้ำตาลในเซลล์คม ุ ถูกสง่ ออกไปนอกเซลล์คม ุ แล ้ว หรือถ ้ามีอยูใ่ นเซลล์คม ุ บาง
สว่ นจะเปลีย่ นเป็ นแป้ งซงึ่ ไม่ละลายน้ำความเข ้มข ้นของเซลล์คม ุ ลดลง น้ำจึง
ออสโมซส ิ ออกสูเ่ ซลล์ข ้างเคียง แรงดันเต่งของเซลล์คม ุ ลดลง ปากใบจึงปิ ด

2. ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ พบว่าปากใบจะปิ ดเมือ ่ ปริมาณคาร์บอนได


ออกไซด์เพิม ่ ขึน ่ ในอากาศปกติมป
้ เชน ี ริมาณคาร์บอนไดออกไซด์300 สว่ น
ในล ้านสว่ น ปากใบจะเปิ ด แต่ถ ้าปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์เพิม ่ เป็ น1000
สว่ นในล ้านสว่ น ปากใบจะปิ ด อาจอธิบายการปิ ดปากใบตอนกลางคืนได ้ว่า
เนือ่ งจากปริมาณการสะสมคาร์บอนไดออกไซด์ ทีเ่ กิดจากการหายใจของ
เซลล์ในใบมาก
การคายน้ำของพืช = Transpiration
3. อุณหภูมท ิ เี่ หมาะสม อุณหภูมไิ ม่ต่ำและไม่สงู จนเกินไป(25- 30
องศาเซลเซย ี ส) ทำให ้ปากใบเปิ ด ถ ้าอุณหภูมสิ งู กว่านีป
้ ากใบจะปิ ด
แคบลง และ
ถ ้าอุณหภูมต
ิ ่ำมาก ๆ ปากใบก็จะปิ ดด ้วย

4. ปริมาณน้ำภายในใบ หากใบคายน้ำออกมาก เชน ่ ในเวลาบ่าย


ทำให ้เซลล์ในใบขาดน้ำ แรงดันเต่งในเซลล์ของใบลดลงทำให ้ปากใบ
ปิ ด

5. ฮอร์โมนบางชนิด ฮอร์โมนบางชนิดของพืชชว่ ยให ้ปากใบปิ ดได ้


่ กรดแอบไซซก
เชน ิ (Abscisic acid) ซงึ่ พบว่ามีมากในใบแก่ หรือใน
ใบทีข
่ าดแคลนน้ำจึงทำให ้การคายน้ำลดลงพืชทะเลทรายประเภท
กระบองเพชร ปากใบจะอยูบ ่ ริเวณลำต ้น พืชบกหลายชนิดมีเลนทิเซล
(Lenticel) ซงึ่ มีลก
ั ษณะคล ้ายรอยแตกของลำต ้นมีกระจายอยูท ่ ั่วไป
อากาศจะผ่านเข ้าออกทางเลนทิเซลได ้เชน ่ เดียวกับไอน้ำ
การคายน้ำของพืช = Transpiration
อ ัตราการคายน้ำของพืชจะเกิดมากหรือน้อยนน ั้ นอกจากจะ
ขึน ้ อยูก่ ับการปิ ดเปิ ดของปากใบแล้ว ย ังขึน ้ อยูก
่ ับสภาวะ
แวดล้อมอืน ่ ๆ อีกหลายประการ เชน ่
1. ร ังสค ี วามร้อนของดวงอาทิตย์ เมือ ่ ใบได ้รับความร ้อนจากดวง
อาทิตย์เพิม ่ ขึน ้ อัตราการคายน้ำจะเพิม ่ ขึน ้ ทุก 10 องศาเซลเซย ี ส ที่
อุณหภูมเิ พิม ่ ขึน ้ อัตราการคายน้ำจะเพิม ่ ขึน ้ สองเท่า เพราะเมือ ่
อุณหภูมใิ บสูงขึน ้ ไอน้ำในใบและไอน้ำในบรรยากาศมีความแตก
ต่างกันมากขึน ้ การคายน้ำก็จะเพิม ่ มากตามไปด ้วย ในพืชทั่วๆไป
เมือ ่ อุณหภูมเิ กิน 30 องศาเซลเซย ี สปากใบจะปิ ด
2. ความชน ื้ ในอากาศ ถ ้าหากในบรรยากาศมีความชน ื้ น ้อย เชน่
หน ้าแล ้งหรือตอนกลางวัน ทำให ้การคายน้ำเกิดได ้มากและรวดเร็ว
3. ลม ลมทีพ ่ ัดผ่านใบไม ้จะทำให ้ความกดอากาศทีบ ่ ริเวณผิวใบ
ลดลง ไอน้ำบริเวณปากใบจะแพร่ออกสูอ ่ ากาศได ้มากขึน ้ และขณะ
ทีล่ มเคลือ ่ นผ่านผิวใบจะนำความชน ื้ ไปกับอากาศด ้วย ไอน้ำจาก
ปากใบก็จะแพร่ได ้มากขึน ่ กัน แต่ถ ้าลมพัดแรงเกินไปปากใบจะ
้ เชน
ปิ ด
การคายน้ำของพืช = Transpiration
อ ัตราการคายน้ำของพืชจะเกิดมากหรือน้อยนน ั้ นอกจากจะ
ขึน้ อยูก
่ ับการปิ ดเปิ ดของปากใบแล้ว ย ังขึน ้ อยูก
่ ับสภาวะ
แวดล้อมอืน ่ ๆ อีกหลายประการ เชน ่
1. ร ังสคี วามร้อนของดวงอาทิตย์
2. ความชน ื้ ในอากาศ
3. ลม
4. ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ โดยทั่วไปปากใบเปิ ดเมือ ่
ปริมาณคาร์บอน ไดออกไซด์ภายในชอ ่ งว่างของใบลดลงกว่าจุด
วิกฤต แต่เมือ ่ ใบขาดความชน ื้ ปากใบจะปิ ดไม่วา่ ปริมาณ
คาร์บอนไดออกไซด์จะเป็ นเชน ่ ใด หมายความว่าพืชทนต่อการขาด
คาร์บอนไดออกไซด์ได ้นานกว่าการขาดน้ำ
นอกจากนีพ ้ ช ื บางชนิดยังมีการปรับโครงสร ้างให ้มีประส ท ิ ธิภาพใน
การดูดน้ำโดยมีรากแผ่ขยายเป็ นบริเวณกว ้าง หรือมีรากยาวหยั่งลึก
ลงไปในดิน เชน ่ หญ ้าแฝก พืชบางชนิดลำต ้นและใบอวบน ้
ำ (Succunlent) เพือ ่ สะสมนํ้ า เชน่ ต ้นกุหลาบหิน การปิ ดเปิ ดของ
ปากใบจะแตกต่างจากพืชชนิดอืน ่ คือปากใบจะเปิ ดเวลากลางคืน
และปิ ดในตอนกลางวันเพือ ่ ลดการคายน้ำ
การลำเลียงน้ำของพืช
พืชมีความสามารถสง่ น้ำจากรากขึน ้ ไปจนถึง
ใบทีอ่ ยูบ
่ นยอดนัน้ ได ้การลำเลียงน้ำของพืช
มีปัจจัยสำคัญทีเ่ กีย
่ วข ้องอยู่ 3 ประการ คือ
การดูดน้ำ การลำเลียงน้ำ และการคายน้ำ
การลำเลียงแร่ธาตุของพืช
เนือ
่ งจากน้ำเป็ นตัวทำละลายทีด
่ ี การทีแ
่ ร่ธาตุ
ต่าง ๆ จะผ่านเข ้าไปในเซลล์ได ้ จะต ้องผ่าน
จากผนังเซลล์เข ้าสูเ่ ยือ ่ หุ ้มเซลล์ ซงึ่ มีสมบัต ิ
เป็ นเยือ
่ เลือกผ่าน (Selective permeable
membrane)
การลำเลียงแร่ธาตุตา ่ งๆ ทีล ่ ะลายเป็ นไอออน
แล ้วเข ้าสูเ่ ยือ
่ หุ ้มเซลล์ ไม่สามารถผ่านได ้โดย
อิสระ การลำเลียงแร่ธาตุจงึ มีความซบ ั ซอน

มากกว่าการลำเลียงน้ำทีเ่ กิดโดยวิธอ ี อสโมซส ิ
การลำเลียงแร่ธาตุของพืช เกิดโดยวิธก ี ารหลัก
ดังนี้
1. แพสสฟ ิ ทรานสปอร์ต (Passive
การลำเลียงแร่ธาตุของพืช
1. แพสสฟ ิ ทรานสปอร์ต (Passive transport) เป็ นการลำเลียง
สารหรือแร่ธาตุจากบริเวณทีม ่ แ
ี ร่ธาตุเข ้มข ้นมากกว่าไปยัง บริเวณทีม ่ แี ร่
ธาตุเข ้มข ้นน ้อยกว่าโดยไม่ต ้องใชพลั ้ งงาน โดยอาศย ั หลักของการแพร่
(Diffusion) นั่นคือไอออนหรือสารละลายจะเคลือ ่ นทีจ่ ากบริเวณทีม
่ ี
ความต่างศก ั ย์เคมีสงู กว่าไปยังบริเวณทีม ่ ค
ี วามต่างศกั ย์ทางเคมีต่ำกว่า
จนกว่าความต่างศก ั ย์ทางเคมีของสองบริเวณนีเ้ ท่ากัน
การลำเลียงแร่ธาตุของพืช
2. แอกทีฟทรานสปอร์ต (Active transport) เป็ นการ
ลำเลียงสารหรือแร่ธาตุจากบริเวณทีม ่ แ
ี ร่ธาตุเข ้มข ้นน ้อยกว่า หรือ
เจือจางกว่าไปยังบริเวณทีม ่ ส
ี ารหรือแร่ธาตุนัน ้ เข ้มข ้นมากกว่า ซ งึ่
เป็ นการลำเลียงทีต ่ อ
่ ต ้านกับความเข ้มข ้นของสาร ดังนัน ้ วิธน
ี จ
ี้ งึ
ต ้องอาศย ั พลังงานจาก ATP ชว่ ย ซงึ่ เป็ นวิธท ี รี่ ากและลำต ้นจะมี
โอกาสสะสมแร่ธาตุตา่ งๆ ไว ้ได ้ ทำให ้พืชดูดแร่ธาตุจากภายนอก
เข ้ามาได ้ทัง้ ๆ ทีค
่ วามเข ้มข ้นของแร่ธาตุชนิดนัน ้ ภายในเซลล์ม ี
มากกว่าภายนอกเซลล์แล ้วก็ตาม ทำให ้พืชสามารถลำเลียงแร่
ธาตุทต ี่ ้องการได ้ เมือ ่ แร่ธาตุผา่ นเข ้าสูร่ ากแล ้ว จะถูกลำเลียงต่อ
ไปยังสว่ นต่างๆ ของพืชทางไซเลมพร ้อมๆ กับการลำเลียงน้ำ
การลำเลียงแร่ธาตุของพืช
การได ้รับแก๊สออกซเิ จนของราก มีความ
ั พันธ์กบ
สม ั การดูดแร่ธาตุของรากคือ
ออกซเิ จนทีร่ ากได ้รับจากดิน ถูกนำไปใชใน ้
กระบวนการ Metabolism ของเซลล์ราก
ในกรณีทอ ี่ อกซเิ จนในดินน ้อย อัตรา
Metabolism ของเซลล์รากจะน ้อยลงด ้วยถ ้า
พลังงานจาก ATP ทีม ่ คี วามจำเป็ นต่อ
กระบวนการ แอกทีฟทรานสปอร์ต เกิดขึน ้
น ้อย การลำเลียงสารโดยกระบวนการนีจ ้ ะไม่
้ จึงตอ้ งหมั่นพรวน
สามารถดำเนินต่ดดิอั นงนไปได
ัน ้ ปริมาณการดูดแร่ธาตุ
................อิอิ........
เข ้าสูเ่ ซลล์รากจะลดลง
การลำเลียงแร่ธาตุของพืช
 แร่ธาตุตา
่ งๆ ทีพ
่ ช
ื ดูดเข ้าไปล ้วนมีผลต่อการเจริญเติบโต
ของพืชทัง้ สน ิ้ จึงถือว่าเป็ นปั จจัยทีจำ
่ เป็ นต่อการเจริญ
เติบโตของพืช ดังนัน ้ ถ ้าพืชขาดแร่ธาตุชนิดใดชนิดหนึง่
หรือได ้รับไม่พอเพียงอาจทำให ้การเจริญเติบโตหยุด
ชะงัก หรือพืชนัน ้ อาจถึงตายได ้ พบว่าพืชบางชนิดปลูก
ได ้ดีในทีบ
่ างแห่ง แต่ไม่เจริญเมือ ่ นำไปปลูกในแหล่งอืน ่
ึ ษาเกีย
 การศก ่ วกับความต ้องการแร่ธาตุของพืชได ้มีการ
ศกึ ษากันมานานแล ้ว เชน ่ เมือ
่ ปี พ.ศ. 2242 จอห์น วูด
เวิรด
์ (John Woodward) ทดลองใชน้ำฝนรดต ้ ้นหลิว

เปรียบเทียบกับใชน้ำแม่ น้ำ พบว่าต ้นหลิวเจริญได ้ดีใน
้ ถ ้าใช ้
ดินทีร่ ดด ้วยน้ำจากแม่น้ำและจะเจริญได ้ดียงิ่ ขึน
น้ำจากสารละลายของดิน ซงึ่ น่าจะเป็ นเพราะใน
การลำเลียงแร่ธาตุของพืช
 ใน พ.ศ. 2403 จูเลียส ซาคซ ์ (Julius Sachs) และใน
พ.ศ.2408 ดับบลิว นอปพ์ (W. Knopf) ทดลองปลูกพืช

ในสารละลายต่าง ๆ โดยใชสารละลายแร่ ธาตุตา่ ง ๆ แช ่
รากพืชทีท ่ ดลองปลูกไว ้เพือ
่ ศกึ ษา ว่ามีแร่ธาตุอะไรบ ้าง
ทีทำ
่ ให ้พืชเจริญเติบโตได ้ การปลูกพืชในสารละลายนี้
เรียกว่าไฮโดรพอนิกส ์ (Hydroponics) จากวิธก ี ารนี้
ซาคซ ์ และนอปพ์ พบว่าพืชจะ เจริญเติบโตได ้ดีใน
สารละลายเกลือ 4 ชนิดคือ แคลเซย ี มไนเตรต
โพแทสเซย ี มไดไฮโดรเจนฟอสเฟต แมกนีเซย ี มซล ั เฟต
และเหล็กฟอสเฟต โดยใชเกลื ้ อปริมาณเล็กน ้อยละลาย
ในน้ำ ต่อมาประมาณปี พ.ศ.2443 จึงทราบกันว่า พืช
้ ธาตุอย่างน ้อย 7 ชนิด สำหรับการเจริญ
จำเป็ นต ้องใชแร่
N

K
การขายปุ๋ย
ทั่วไปมักใช้
สูตร
15:15:15
การปลูกผัก
มักใชส้ ูตร
20:10:10
การลำเลียงแร่ธาตุของพืช
องค์ประกอบของพืชประมาณร ้อยละ 95
ของ น้ำหนักแห ้งของพืชประกอบด ้วย
C,H,O ธาตุทงั ้ สามนีไ ้ ด ้รับจากน้ำและ
อากาศ แร่ธาตุจากดินทีพ ่ ชื ต ้องการมี 2
กลุม
่ ใหญ่ ๆ คือ
1. แร่ธาตุทพี่ ช ื ต ้องการในปริมาณมาก 6
ธาตุ คือ N,P,K,Ca,Mg และ S
2. แร่ธาตุทพ ี่ ชื ต ้องการในปริมาณน ้อย คือ
Cl,Fe,Mn,B,Zn,Cu และ โมลิบดินัม
การลำเลียงแร่ธาตุของพืช

 พืชแต่ละชนิดจะมี
ความต้องการแร่ธาตุ
แตกต่างก ันไปทงั้
ชนิดและปริมาณ
 ตัวอย่างในต ้นข ้าวโพด
การลำเลียงแร่ธาตุของพืช
 เมือ
่ พืชนำแร่ธาตุตา่ ง ๆ เข ้าไปในลำต ้นแล ้ว พืชจะนำไป

ใชในการจริ ญเติบโตและด ้านอืน
่ ๆ ดังนี้
1. เป็นสว ่ นประกอบของโครงสร้าง ได้แก่
การสร ้างสารเซลลูโลสโดยใชธาตุ ้ คาร์บอน
สว่ นทีใ่ ชสร
้ ้างโปรตีนคือธาตุไนโตรเจน
2. ในกระบวนการเมแทบอลิซม ึ เชน

การสร ้างพลังงานจาก ATP โดยธาตุฟอสฟอรัส
การสร ้างสว่ นประกอบของคลอโรฟิ ลล์โดยธาตุ
แมกนีเซย ี ม และ ไนโตรเจน
3. กระตุน ้ การทำงานของเอนไซม์ได้แก่ ธาตุทอง
แดง สงั กะส ี แมกนีเซย
ี ม
4. ทำให้เซลล์เต่ง เชน ่ ในเซลล์คม
ุ ของใบ ต ้องการ
ธาตุโพแทสเซย ี ม
การลำเลียงแร่ธาตุของพืช
 การขาดสารอาหารหรือแร่ธาตุ มีวธ
ิ แ ่
ี ก ้ไขได ้เชน
◦ การใสป ่ ๋ ยเคมี
ุ ทม ี่ สี ต
ู รตรงกับทีพ ่ ช ื ชนิดนัน ้ ๆ ต ้องการ มี
ธาตุอาหารมาก แต่มข ี ้อเสยี คือราคาแพง และไม่
สามารถปรับปรุงโครงสร ้างของดินได ้
◦ การใสป ่ ๋ ยอิุ นทรีย ์ สามารถปรับปรุงโครงสร ้างของดิน
ได ้ แต่มข ี ้อเสยี คือธาตุอาหารน ้อย
◦ ไรโซเบียม และอะโซโตแบคเตอร์ ซงึ่ เป็ นจุลน ิ ทรียท ์ ี่
ตรึงไนโตรเจนจากอากาศได ้ มักพบในรากพืชตระกูล
ถั่ว ทำให ้พืชได ้รับสารอาหารในพืน ้ ทีท
่ ม
ี่ แี ร่ธาตุน ้อย
เรียกว่าดินจืด จึงทำให ้นิยมปลูกพืชตระกูลถั่วสลับกับ
พืชไร่หรือข ้าว
◦ ไมโคไรซา เป็ นราทีอ ่ าศย ั อยูก
่ บั พืชแบบพึง่ พาอาศย ั
กัน จะทำหน ้าทีป ่ ล่อยเอนไซม์ยอ ่ ยสลายธาตุ
ฟอสฟอรัส เพือ ่ พืชจะได ้นำไปใชได ้ ้
การลำเลียงสารอาหาร
ั เคราะห์ด ้วยแสงเกิดขึน
การสง ้ ทีบ
่ ริเวณทีม
่ ค
ี ลอโร
ฟิ ลล์ สว่ นใหญ่จงึ เกิดทีใ่ บเมือ
่ สงั เคราะห์ด ้วยแสง
ได ้แล ้ว จะได ้คาร์โบไฮเดรต พวกน้ำตาล และแป้ ง
ซงึ่ สามารถทดสอบสารอาหารเหล่านัน ้ ได ้ อาหาร
เหล่านี้ พืชสามารถสง่ ไปเก็บตามสว่ นต่าง ๆ ของ
พืชได ้ พช ื บางชนิดเก็บอาหารไว ้ตามลำต ้น เชน ่
หัวมันฝรั่ง เผือก แห ้วจีน เป็ นต ้น
พืชสามารถลำเลียงอาหารจากด้านบนลงล่าง
และล่างขึน ้ บนได้ นักวิทยาศาสตร์ทไี่ ด ้ทดลอง
เรือ่ งการลำเลียงอาหารของพืช คือ มัลพิจ ิ ในปี
พ.ศ 2229 (ค.ศ. 1686) โดยการควัน ่ ลำต ้นพืชใบ
เลีย ้ งคูอ
่ อกตัง้ แต่เปลือกไม ้ออกจนถึงชน ั ้ แคมเบี
การลำเลียงสารอาหาร สำหรั บการ
ควั่นต้นไม้
เช่นเดี ยว กับ
ในภาพ แต่
ไปควั่นตรง
โคนแล้วทิ้ ง
ไว้นาน ๆ จะ
ทำให้ต้นไม้
ตายได้ เพราะ
ไม่สามารถสง่
อาหารไป
เลี้ ยงราก ราก
จะขาดอาหาร
ทำให้รากตาย
ไม่สามารถ
ลำเลี ยงน้ำ
ซิมเมอร์แมน ซ่ึงเป็ นนัก
การลำเลียงสารอาหาร
ชีววิทยาแหง่ มหาวิทยา
ลัยฮาร์วาด ไดท ้ ดลอง
พบวา่ เพลี้ยออ่ นจะใช้
งวงแทงลงไปถึงทอ่ โฟล
เอ็ม แลว้ ดูดของเหลว
ออกมา จนกระทั่ง
ของเหลวหรื อน้ำหวาน
ออกมาทางก้น ซิมเมอร์
แมน จึงตัดหัวเพลี้ย
ออ่ นออก โดยใหง้ วงที่
แทงอยูใ่ นเนื้ อไมย้ ั งคงติ
ดกับโฟลเอ็มอยู ่ พบวา่
ของเหลวจาก โฟลเอ็ม
ยังคงไหลออกมาทาง
งวงที่แทงอยูใ่ น โฟล
เอ็ม และเมื่อวิเคราะห์
การลำเลียงสารอาหาร
• ในกรณี ท่ีใชซ้ ูโครสที่มี 14C เป็ นองคป
์ ระกอบแลว้ ใหเ้ พลี้ยออ่ น
แทงงวงเขา้ ทอ่ โฟลเอ็มในตำแหน่งตา่ ง ๆ กัน ทำให้สามารถหาอัตรา
การเคลื่อนที่ของน้ำตาลในโฟลเอ็มได้พบวา่ การเคลื่อนที่ของน้ำตาล
ใน โฟลเอ็ม มีความเร็วประมาณ 100 เซนติเมตรตอ่ ชั ่วโมงเพราะเหตุ
ที่น้ำตาลในโฟลเอ็มเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ว จึงมีผูส
้ งสัยวา่ การ
เคลื่อนที่ของน้ำตาลในโฟลเอ็มนัน ้ คงไมใ่ ชก
่ ารแพร่แบบธรรมดา และ
ไมใ่ ชก่ ารไหลเวียนของไซโทพลาซึม

• กลไกของการลำเลียงอาหารทาง โฟลเอ็มนัน ้ อาจอธิบายไดต ้ าม


สมมติฐานการไหลของมวลสาร (Mass flow hypothesis) เป็ น
สมมติฐานที่เสนอในปี พ.ศ. 2473 โดยมึนซ์ (Munch) นักสรี รวิทยา
พืช ชาวเยอรมัน ที่อธิบายการลำเลียงอาหารใน โฟลเอ็ม วา่ เกิดจาก
ความแตกตา่ งของแรงดัน โดยเซลลข์ องใบ (source) ซ่ึงทำการ
สังเคราะหด
์ ว้ ยแสงไดน้ ้ำตาลทำใหม ้ ีความเขม
้ ขน ้ ของน้ำตาลสูง
น้ำตาลจึงถูกลำเลียงไปเซลลข์ า้ ง เคียง ทำใหม ้ ีความเขม้ ขน
้ ของน้ำตาล
การลำเลียงสารอาหาร
• น้ำตาลยังคงเคลื่อนที่ตอ่ ไปได้ ตราบใดที่ความเขม
้ ขน
้ ของน้ำตาลยัง
แตกตา่ งกันอยูส่ มมติฐานการไหลของมวลสาร (Mass-flow
hypothesis หรื อ
 Bulk flow hypothesis) หรื อการไหลเนื่ องจากแรงดัน เป็ น
สมมติฐานที่ใชอ้ ธิบายการลำเลียงสารอาหารผา่ น โฟลเอ็ม โดยมีการ
ทดลองที่สนับสนุ น

• น้ำตาลกลูโคสจะแพร่ไปยังเซลลร์ อบเสน ้ ใบ หรื อ บันเดิลชีทเซลล์


(Bundle sheath cell) ที่ลอ ้ มรอบทอ่ ลำเลียง กลูโคสจะเปลี่ยนเป็ น
น้ำตาลซูโครสกอ่ นเขา้ ทอ่ ลำเลียงอาหารหรื อโฟลเอ็มโดยเขา้ สู ่ ซีฟทิว
ป์ ของโฟลเอ็ม การเคลื่อนยา้ ยน้ำตาลซูโครสเขา้ สูซ่ ีฟทิวป์ อาศั ย
กระบวนการ แอกทีฟทรานสปอร์ต ที่ตอ ้ งใชพ้ ลังงานจาก ATP

• เซลลค ์ าเรนไคมา ที่อยูใ่ กลก


์ อมพาเนี ยน และเซลลพ ้ ั บซีฟทิวป์ จะให้
การลำเลียงสารอาหาร
• เมื่อซีฟทิวป์ สะสมซูโครสมาก ๆ เขา้ จะมีความเขม ้ ขน้ ของสารละลาย
สูงขึ้น น้ำจึง ออสโมซิสจากเซลลข์ า้ งเคียงเขา้ ซีฟทิวป์ ทำให้ ซีฟทิวป์
มีแรงดันเตง่ (Turgor pressure) สูงขึ้น แรงดันนี้ จึงไปดันให้สารใน
ซีฟทิวป์ไหลไปตามทอ่ ซ่ึงตอ่ เนื่ องจากใบไปยังลำตน ้ และรากซ่ึงเป็ น
แหลง่ รับ (sink)
• เมื่อมาถึงแหลง่ รับ ซูโครสจะถูกเคลื่อนยา้ ยออกจาก ซีฟทิวบโ์ ดย
กระบวนการ แอกทีฟทรานสปอร์ต (Active Transport System)
ทำให้ความเขม ้ ของซูโครสในซีฟทิวบล์ ดลง น้ำใน ซีฟทิวบจ์ ึงออส
้ ขน
โมซิสออกสูเ่ ซลลข์ า้ งเคียง ทำใหแ ้ รงดันในซีฟทิวบ ์ ลดลงและน้ำจะ
เขา้ สู ่ ไซเลมอีก ซ่ึงจะถูกลำเลียงไปยังแหลง่ ผลิตอีก นั่นคือการลำเลียง
อาหารในโฟลเอ็ม เกิดจากความแตกตา่ งของแรงดันน้ำ หรื อแรงดัน
เตง่ หรื อแรงดัน ออสโมติก ระหวา่ งตน ้ ทางหรื อแหลง่ ผลิต กับปลาย
ทางหรื อแหลง่ รับ พืชมีทอ่ สำหรับลำเลียงน้ำและแร่ธาตุ กับอาหารที่พืช
สร้างขึ้น แยกกันโดยน้ำและแร่ธาตุสง่ ไปตามไซเลม อาหารสง่ ไปตาม
โฟลเอ็ม สว่ นทางดา้ นขา้ งนัน ้ ทังสอง
้ มีเรย ์ (Ray) สง่ ออกไปเลี้ยง
Phloem
การลำเลียงสารอาหาร
กลไกของการลำเลียงไปทาง Phloem ต ้องมีลก
ั ษณะพิเศษ คือ
1. เซลล์ต ้องมีชวี ต ิ เพราะถ ้าเซลล์ของ Phloem ตายไปการลำเลียงก็หยุด
ชะงัก ลงทันที
2. การลำเลียงเป็ นไปได ้ทัง้ สองทาง มีทงั ้ ขึน ้ และลง อาจจะขึน ้ คนละเวลาก็ได ้
3. สามารถลำเลียงได ้เป็ นปริมาณมากๆ
4. อัตราความเร็วของการลำเลียงสูง การลำเลียงประเภทนีเ้ กิดขึน ้ ด ้วยความเร็ว
สูง
5. การลำเลียงเกิดขึน ้ เป็ นครัง้ คราว บางเวลาเกิดขึน
้ เร็ว บางเวลาก็เกิดขึน
้ ได ้
ชา้ ขึน
้ อยูก ั ชว่ งเวลาของวัน (กลางวันหรือกลางคืน)
่ บ

คุณสมบัตท
ิ งั ้5 ข ้อ ดังกล่าวมีทฤษฎีอธิบายไว ้มาก แต่ทว่าไม่มท ี ฤษฎีใดเป็ นที่
ยอมรับกันแน่นอน
การลำเลียงโดยทาง Phloem นีขึ ้ น ้ อยูก
่ บ
ั อุณหภูม ิ และปริมาณของ
ออกซเิ จนด ้วยกล่าวคือ ถ ้าอุณหภูมต ิ ่ำ ออกซเิ จนน ้อย การลำเลียงจะเกิดขึน ้ ชา้
หรืออาจไม่เกิดเลย แต่ถ ้าอุณหภูมส ิ งู และมีออกซเิ จนเพียงพอ การลำเลียงดัง
กล่าวก็จะเกิดขึน
้ เร็ว
การลำเลียงสารอาหาร
กลไกของการลำเลียงอาหารทางโฟลเอ็มนั น
้ มีอยู่ 2 สมมติฐาน
1. สมมติฐานการไหลของมวลสาร (Mass-flow hypothesis หรือ
 Bulk flow hypothesis) อธิบายการลำเลียงอาหารในโฟลเอ็มว่า
เกิดจากความแตกต่างของแรงดันออสโมติกของ ความเข ้มข ้นน้ำตาล
ระหว่างใบกับราก โดยเซลล์ของใบซงึ่ ทำการสงั เคราะห์ด ้วยแสงได ้
น้ำตาล ทำให ้มีความเข ้มข ้นของ น้ำตาลสูง น้ำตาลจึงถูกลำเลียงไป
เซลล์ข ้างเดียง ทำให ้มีความเข ้มข ้นของน้ำตาลสูงตามไปด ้วยอย่าง
รวดเร็ว และจะมีการ ลำเลียงน้ำตาลไปยังเซลล์ตอ ่ ไป จนถึงโฟลเอ็ม
แล ้วเกิดแรงดันให ้โมเลกุล น้ำตาลเคลือ ่ นไปตามโฟลเอ็ม ไปยัง
เนือ
้ เยือ
่ ทีม
่ ค
ี วามเข ้มข ้นของน้ำตาล น ้อยกว่า เชน ่ เซลล์ทรี่ าก น้ำตาล
ยังคงเคลือ ่ นทีต่ อ
่ ไปได ้ ตราบใดทีค
่ วาม เข ้มข ้นของน้ำตาลยังแตกต่าง
กันอยู่

2. สมมติฐานการไหลเวียนของไซโทรพลาสซม ึ (Cytoplasmic
streaming) (หรือ Protoplasm streaming)
การลำเลียงสารอาหาร
2. สมมติฐานการไหลเวียนของไซโทรพลาสซม ึ
(Cytoplasmic streaming) (หรือ Protoplasm streaming)
จากสมมติฐานของมึนซไ์ ม่สามารถอธิบายข ้อเท็จจริงบาง
อย่าง ได ้ เชน่ การเคลือ ่ นทีข่ องซูโครสทีเ่ กิดได ้เร็วมากเกิน
กว่าจะเกิด โดยวิธแ ี พร่ นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษจึงได ้ตัง้
สมมติฐานนี้ โดย อธิบายว่า การเคลือ ่ นทีข
่ องไซโทพลาส
ซมึ ภายในซฟ ี ทิวบ์เมมเบอร์ ทำให ้อาหารเคลือ ่ นทีไ่ ปรอบๆ
เซลล์จากสว่ นหนึง่ ไปยังอีกสว่ น หนึง่ แล ้วผ่านต่อไปยังซฟ ี
ทิวบ์เมมเบอร์ทอ ี่ ยูใ่ กล ้เคียงทางซฟ ี เพลต ทิศทางการ
เคลือ่ นทีใ่ นซฟ ี ทิวบ์เมมเบอร์มท ี งั ้ ขึน
้ และลง
การลำเลียงสารอาหาร
ึ (Cytoplasmic streaming)
2. สมมติฐานการไหลเวียนของไซโทรพลาสซม
หรือ Protoplasm streaming
จากสมมติฐานของมึนซไ์ ม่สามารถอธิบายข ้อเท็จจริงบางอย่างได ้ เชน ่ การ
เคลือ ่ นทีข ่ องซูโครสทีเ่ กิดได ้เร็วมากเกินกว่าจะเกิดโดยวิธแ ี พร่ นัก
วิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษจึงได ้ตัง้ สมมติฐานนีโ้ ดยอธิบายว่า การเคลือ ่ นที่
ของไซโทพลาสซม ึ ภายในซฟ ี ทิวบ์เมมเบอร์ ทำให ้อาหารเคลือ ่ นทีไ่ ปรอบๆ
เซลล์จากสว่ นหนึง่ ไปยังอีกสว่ นหนึง่ แล ้วผ่านต่อไปยังซฟ ี ทิวบ์เมมเบอร์ท ี่
อยูใ่ กล ้เคียงทางซฟ ี เพลต ทิศทางการเคลือ ่ นทีใ่ นซฟี ทิวบ์เมมเบอร์มท ี งั ้ ขึน ้
และลง
การเคลือ ่ นแบบนีเ้ รียกว่าไซโคลซส ิ (Cyclosis) การเคลือ ่ นทีน ่ อ ้
ี้ าจชามาก
คือไม่กม ี่ ล ิ เิ มตรต่อชวั่ โมง หรืออาจเร็วได ้ถึงหลายร ้อยมิลลิเมตรต่อชวั่ โมง
อาหารภายในโพรโทพลาซม ึ ของ ซฟ ี ทิวบ์ เคลือ่ นตัวออกจากเซลล์หนึง่ ไป
ยังอีกเซลล์หนึง่ โดยผ่านพลาสโมเดสมาตา (Plasmodesmata) ซงึ่ เชอ ื่ ม
โยงกันกับ ซฟ ี เพลต (Sieve plate) ซงึ่ เป็ นบริเวณทีต ่ ด
ิ ต่อกันระหว่าง ซฟ ี ทิว
บ์ แต่ละเซลล์การเคลือ ่ นทีโ่ ดยการไหลเวียนของอาหารใน โพรโทพลาซม ึ
ของ ซฟ ี ทิวบ์จงึ เกิดขึน ้ ในเซลล์ทม ี่ ชี วี ต
ิ เท่านัน
้ การลำเลียงเชอ ื่ มต่อกันได ้
เนือ
่ งจากเซลล์ของ ซฟ ี ทิวบ์เชอ ื่ มต่อกันตลอดความยาวของลำต ้น และยัง
พบอีกว่าถ ้าหากลดการเคลือ ่ นทีข ่ องโพรโทพลาซม ึ ของซฟ ี ทิวบ์ลง อัตรา
การลำเลียงอาหารจะลดลงด ้วย
การลำเลียงสารอาหาร
สรุปการลำเลียงสารอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารของพืชในโฟลเอ็มมีความเร็วเฉลีย ่ ประมาณ
50-150เซนติเมตรต่อชวั่ โมง การลำเลียงอาหารเกิดโดยขบวนการ
ต่าง ๆ คือ

1. การแพร่ (Difusion) เป็ นการลำเลียงอาหารจากเซลล์หนึง่ ไป


ยังอีกเซลล์หนึง่ โดยเคลือ ่ นทีไ่ ปตามความ เข ้มข ้นของสารจาก
บริเวณทีม ่ อ
ี าหารเข ้มข ้นมากกว่า ไปยังบริเวณทีม ่ อี าหารเข ้มข ้นน ้อย
กว่า ซงึ่ เกิดขึน
้ อย่างชา้ ๆ

2. การไหลเวียนของไซโตศพลาสซ ึ ึ (Cytoplasm

streaming หรือ โพรโทพลาซม ึ (Protoplasm streaming)
การเคลือ ่ นทีข
่ องสารละลายภายใน ซฟ ี ทิวบ์ ของโฟลเอ็ม เกิดจาก
การไหลเวียนของโพรโทพลาซม ึ หรือทีเ่ รียกว่าไซโคลซส ิ (Cyclosis)
เกิดขึน
้ ในเซลล์ทม ี วี ต
ี่ ช ิ เท่านัน
้ และการลำเลียงเชอ ื่ มต่อกันได ้
การลำเลียงสารอาหาร
สรุปการลำเลียงสารอาหารในพืช

3. การไหลของอาหารเนือ
่ งจากแรงด ัน (Pressure flow) มีกลไก
สำคัญคือ

- เซลล์ในชน ั ้ เมโซฟิ ลล์ (Mesophyll) ของใบสงั เคราะห์ด ้วยแสงได ้น้ำตาล


กลูโคสมากขึน ้ น้ำตาลกลูโคสเคลือ ่ นทีจ่ ากเซลล์ เมโซฟิ ลล์ เข ้าสูเ่ ซลล์หอ ่
หุ ้มกลุม่ ท่อลำเลียง (Bundle sheath cell)
- การสะสมน้ำตาลกลูโครสในเซลล์หอ ่ หุ ้มกลุม
่ ท่อลำเลียง เปลีย ่ นเป็ น
น้ำตาลซูโครส ทำให ้มีการสะสมน้ำตาลซูโครสมากขึน ้ จากการขนสง่ ซูโครส
แบบแอกทิฟทรานสปอร์ต จากเซลล์หอ ่ ท่อลำเลียงเข ้าสูโ่ พรโทพลา
่ หุ ้มกลุม
ซม ึ ของซฟ ี ทิวบ์ซงึ่ ต ้องมีการใชพลั ้ งงานจาก ATP จำนวนมาก
- การสะสมน้ำตาลซูโครสใน ซฟ ี ทิวบ์ทำให ้น้ำจากเซลล์ข ้างเคียง เชน ่ เซลล์
เมโซฟิ ลล์ และเซลล์หอ ่ ท่อลำเลียงแพร่เข ้าสู่ ซฟ
่ หุ ้มกลุม ี ทิวบ์ ทำให ้ซฟ ี ทิว
บ์มแ ี รงดันเพิม ่ ขึน้ จะดันสารละลายให ้เคลือ ่ นผ่าน ซฟ ี ทิวบ์ทเี่ รียงติดกันจาก
แผ่นใบเข ้าสูก ่ ้านใบ กิง่ และลำต ้นของพืชตามลำดับ
- อาหารจะเคลือ ่ นตัวจากใบไปยังสว่ นต่าง ๆ เพือ ้ อสะสม เชน
่ ใชหรื ่ ทีร่ าก ดัง
นัน
้ ใบจึงมีความเข ้มข ้นของสารอาหารสูงกว่าบริเวณราก และทีเ่ ซลล์รากจะมี
การเปลีย ่ นน้ำตาลเป็ นแป้ งซงึ่ ไม่ละลายน้ำ    
สรุปการลำเลียงของพืช
มี quiz ดว้ ย
สิ่งที่ กระบวนการที่ เก่ี ยวข้อง จา้
ลำเลี ยง
น้ำ Osmosis
Cohesion and adhesion
Transpiration
( + Photosynthesis)
แร่ธาตุ Diffusion
(ไปกับน้ำ)
Active transport
(เกิดที่ราก)
อาหาร Massive-flow / Bulk-flow Hypothesis
Turgor pressure (between source and sink)
Active transport (Sucrose)
Cytoplasmic / Protoplasmic streaming Hypothesis
Cyclosis
Sieve plate
ระบบการถ่ายทอด
อิเล็กตรอน

และการสงเคราะห์ ATP
ในปฏิกริ ย
ิ าแสง พล ังงาน
ทำให้เกิดการถ่ายทอด
อิเล็กตรอนจากระบบแสง II ไป
ความสำค ัญของ
ปฏิกริ ย
ิ าแสงก่อให้เกิด

1. การเปลีย
่ นพล ังงานแสง
เป็นพล ังงานเคมี
โฟโตฟอสโฟริเลช
โฟโตฟอสโฟริ ั
ลชน
(Photophosphorylation)
(Photophosphorylation)

เป็ นกระบวนการสร ้าง ATP จากการ


ถ่ายทอดอิเล็กตรอนจากระบบแสง II
ไปยังระบบแสงแสง
I

ADP + Pi ATP + H O
ที่ มา : http://ideonexus.com/wp-content/uploads/2009/01/electronchain.png
กระบวนการ Dark
reactions
- เกิดในสโตรมา ปฏิกริ ย
ิ าแรก
คือ
RuBP
CO2 + RuBP 2PGA
Carboxylase
เอนไซม์ Rubisco
O t ion
+C C
+ oxy 2PGA
2
la
O a r b
2
Rubisco C
RuBP
+
Ox O2
yge Phosphoglycolate
O 2 nat
+ ion + PGA
การตรึง CO2

1. CO2 Fixation
Rubisco
CO2 + RuBP 2(3-PGA)
2. Reduction
3. Regeneration of CO2 receptor (
RuBP)
Photorespiration
 ความเข้มแสงสูง, อากาศ

ร้อน
 ปากใบปิ ด
เอนไซม์ Rubisco
O t ion
+C C
+ oxy 2PGA
2
la
O a r b
2
Rubisco C
RuBP
+
Ox O2
yge Phosphoglycolate
O 2 nat
+ ion + PGA
http://www.emc.maricopa.edu/faculty/farabee/BIOBK/BioBookPS.html
การตรึง CO2 ในพืช C4

http://www.emc.maricopa.edu/faculty/farabee/BIOBK/BioBookPS.html
C3-Plant C4-Plant

http://www.emc.maricopa.edu/faculty/farabee/BIOBK/BioBookPS.html
การนำผลผลิตจาก PS
้ ระโยชน์
ไปใชป
1. น้ำตาลไทรโอสถูกเปลีย
่ น
เป็นแป้งไปเก็บไว้ในคลอโร
พลาสต์ในเวลากลางว ัน
2. เคลือ
่ นย้ายไปทีบ
่ ริเวณไซ
ปัจจ ัยทีม
่ ผ
ี ลต่อการ

สงเคราะห์ ดว้ ยแสง
ปัจจัยภายในพื ช
1. โครงสร้างของใบ
2. การสะสมน้ำตาลในเซลล์
มี โซฟิลล์
ปัจจ ัยภายนอก
1. อุณหภูม ิ
2. แสง
3.
คาร์บอนไดออกไซด์
http://hyperphysics.phy-astr.gsu.edu/hbase/Biology/imgbio/kranzm.gif
http://hyperphysics.phy-astr.gsu.edu/hbase/Biology/imgbio/kranzm.gif
ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบล ักษณะต่างๆ
ของพืช C3, C4 และ CAM
ลักษณะ C3 C4 CAM
1. ผลผลิ ตตัว
แรกของการ 3-PGA OAA OAA
ตรึง CO2
2. เอนไซมต ์ ัว
PEP PEP
แรกที่ ตรึง Rubisco
carboxylase carboxylase
CO2
ไม่มี มี คลอโร
คลอโร พลาสต์
3. โครงสร้าง
ประมาณ 25% ไม่เกิดการ
ของคาร์บอนที่ สู ญเสีย ไม่เกิด
4. โฟโตเรสไป
ถู กตรึง คาร์บอนโดย โฟโตเรสไป
เรชัน
จะสู ญเสียออก โฟโตเรสไป เรชัน
ไป เรชัน
ไม่ยับยั้ง
5. ผลของก๊าซ ยับยั้งการตรึง ไม่ยับยั้ง การตรึง
ออกซิเจน CO2 การตรึง CO2
CO2
6. CO2
Compensation 0 -110 ppm 1-10 ppm 1-10 ppm
point
7. ผลผลิ ต ปานกลาง สู ง ต่ำ
8.
Top Plant Histology Summary
An angiosperm plant body is composed of two basic types of tissues namely meristematic and permanent tissues.
Meristematic tissue is formed by undifferentiated, embryonic cells called meristematic cells.
Meristematic cells are compactly arranged. They have thin cell wall abundant cytoplasm and prominent nucleus.
Meristem can be distinguished into primary meristem and secondary meristem, based on origin.
Based on position, meristem can be distinguished into apical, intercalary and lateral.
Based on differentiation, meristem can be distinguished into protoderm, procambium and ground meristem.
Permanent or mature tissues are formed by differentiated cells, which are specialized towards various functions.
Permanent tissues can be broadly differentiated into simple or homogenous tissues and complex or heterogenous
tissues.
Simple permanent tissues are composed of identical cells. These tissues can be distinguished into 3 types parench
yma, collenchyma and sclerenchyma.
Parenchyma is a simple, living, storage tissue occurring in every part of the plant body. It also takes part in photos
ynthesis, respiration, transpiration and secretion.
Collenchyma is a simple, living, mechanical tissue that occurs only in the shoot system.
Collenchyma cells have uneven thickenings which provide mechanical support and protection.
Sclerenchyma is a simple, dead, mechanical tissue. The cells are dead at maturity due to deposition of lignin.
Sclerenchyma cells are of two types fibres which are elongated tapering cells and sclereids which are short and irr
egular cells.
Sclerenchyma performs only mechanical functions such as protection and support.
Complex permanent tissues are composed of different types of cells. They are distinguished into two types xylem
and phloem.
Top Plant Histology Summary
Xylem is the water conducting tissue of the plant body. It has four cellular elements tracheids, tracheae, fibres and paren
chyma of which only xylem parenchyma is living.
Xylem tracheae (or vessels) are the most active water conducting elements. Based on the pattern of lignification, they ca
n be distinguished into annular, spiral, scalariform, reticulate and pitted types.
Phloem is the food conducting tissue in the plant body. It has four cellular elements sieve tubes, companion cells, phloe
m parenchyma and phloem fibres of which only phloem fibres are dead cells.
Sieve tubes are the most active food conducting elements. They are composed of rows of sieve tube cells separated by p
erforated sieve plates.
Anatomy is the study of internal structure, which reveals the arrangement of different tissues in the different regions of t
he plant body.
Anatomy of a dicot stem (e.g., sunflower) shows four regions epidermis, cortex, endodermis and stele.
Epidermis has a cuticle, trichomes and stomata.
Cortex is differentiated into hypodermis (collenchyma) and general cortex (parenchyma).
Endodermis has a single layer of parenchyma cells deposited with starch grains (starch sheath).
Stele is composed of pericycle (sclerenchyma), medullary rays (parenchyma) pith (parenchyma) and vascular bundles (x
ylem and phloem).
Vascular bundles are arranged in the form of a broken ring. Bundles are conjoint, collateral and open with endarch xyle
m.
Anatomy of a monocot stem (e.g., Maize) reveals three regions epidermis, hypodermis and ground tissue.
Epidermis has cuticle and stomata, but lacks trichomes. Hypodermis is composed of sclerenchyma. Ground tissue has un
differentiated parenchyma.
Numerous vascular bundles are found scattered in the ground tissue. Vascular bundles are conjoint collateral and closed,
with endarch xylem.
Anatomy of the root is more or less similar in dicots and monocots. Four regions can be recognised epidermis, cortex, en
dodermis and stele.
Top Plant Histology Summary
Eidermis shows numerous unicellular root hairs. Cortex is homogenous
Endodermis has passage cells and cells with casparian thickenings
Vascular bundles are radial and exarch. A pith is absent in the dicot root, but present in the mono
cot root.
Leaves are of two types dorsi ventral (e.g.: dicots) and isobilateral (e.g., monocot)
Dorsi ventral leaves show hypostomatic condition. Mesophyll is differentiate into upper palisade p
arenchyma and lower spongy parenchyma. Veins are scattered in the mesophyll
Isobilateral leaves show amphistomatic condition. Mesophyll is undifferentiated. Veins are found
arranged parallel to each other.
Secondary growth is a characteristic feature of dicot stem and root
In the stem, the process of secondary growth can be distinguished into intrastelar and extrastelar
.
Intrastelar secondary growth incurs due to the activity to vascular cambium. It involves of formati
on of secondary phloem and secondary xylem.
Secondary xylem formed twice in a year, representing spring wood and autumn wood, together c
onstitute the annual ring. Every year one such ring is added.
Extra stelar secondary growth occurs due to the activity of cork cambium
Cork cambium give rise to cork on its outer surface and secondary cortex on the inner surface. All
these together constitute periderm
Secondary growth brings about enormous increase in the girth of the plant body.

You might also like